Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐาน

มาตรฐาน

Published by นิพนธ์ ฉัตรคํา, 2020-09-09 00:30:53

Description: มาตรฐาน

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน และการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ดร.วิษณุ ทรพั ย์สมบตั ิ ผู้อานวยการสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

จดุ เนน้ ด้านการประเมนิ และการพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา  การประเมนิ ครู  การประเมินผลสมั ฤทธิผ์ ู้เรยี นและสถานศกึ ษา  การกาหนดแนวทางการคดั เลือกบุคคลเข้าศกึ ษาต่อใน ระดบั อดุ มศึกษา  การทดสอบผา่ น/การซ้าชน้ั ป.6 ม.3 ม.6  การพัฒนาแบบทดสอบการศึกษามาตรฐานระดับชาติ  การสร้างเครอ่ื งมือ ระบบ วธิ ีประเมนิ  การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา



กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561

กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ (๑) (๒) (๓)

กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ขอ้ 3 กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพฯ พ.ศ.2561 กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาสถาน ึศกษา ใหค้ าปรกึ ษา ชว่ ยเหลือ แนะนา จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของ รวบรวม และสงั เคราะห์ SAR สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ห ่นวยงาน ้ตนสังกัด ตดิ ตามผลการดาเนินงาน ปรับปรงุ และพัฒนา ดาเนนิ งานตามแผนฯ ประเมนิ ผลและตรวจสอบ ให้ความรว่ มมือกับ สมศ. ตดิ ตามผลการดาเนนิ การ จดั ทา/จดั ส่งรายงานการประเมินฯ

กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน และระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ (ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑) กฎกระทรวงการประกนั ประกาศมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 2561

นโยบายการปฏริ ปู ระบบการประเมินและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๑. ปรับจานวนมาตรฐานและตวั บ่งชท้ี ่สี ะทอ้ นคุณภาพ ๒. ลดภาระการประเมนิ ทยี่ งุ่ ยากกับสถานศกึ ษา ๓. ลดการจัดทาเอกสารเพื่อการประเมิน ๔. ปรบั ปรงุ กระบวนการประเมินท่ีสรา้ งภาระแก่สถานศึกษา ๕. ปรบั มาตรฐานผู้ประเมินให้ได้มาตรฐาน

ช่วงที่ ๑ ระยะแรกของการปฏิรปู ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ (กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓) มาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙ (๔ มฐ.) • ยกร่าง มฐ. การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (สอดคล้องกับ มฐ. การศึกษาของชาติ นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษาฯ และกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2553) ปรบั จานวน ๔ คร้ัง ๒๕๕๘ • รบั ฟงั ความคดิ เห็นจากคณะปฏริ ูประบบการประเมนิ และประกันคุณภาพการศกึ ษา • ประชมุ วพิ ากษจ์ ัดทาตวั อยา่ งแนวปฏิบัติ ๒๕๕๙ • จดั ทา Quality Code/ มาตรฐาน และคาอธิบาย • ปรับ Quality Code และเสนอสภาขับเคลอ่ื นการปฏิรูปฯ ๒๕๕๙ • เสนอคณะทปี่ รึกษา รมช. ๒ ครง้ั • เสนอคณะอนุ กพฐ. และเสนอ กพฐ. ๒๕๕๙ • กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช้ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙

ชว่ งที่ ๒ การดาเนนิ งานตามประกาศกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑) มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ (๓ มฐ.) ต.ค. ๖๐ • แต่งต้ังคณะทางานดาเนินงานตามกฎกระทรวงฯ จานวน ๒ ชุด ๑๒ ม.ค. • รับนโยบายจาก รมว. ๖๑ ๒-๓ ก.พ. • ยกร่างกรอบมาตรฐาน และแนวปฏบิ ตั ิ ใช้มาตรฐานฉบบั เดมิ จานวน ๔ มาตรฐานเปน็ หลกั และ ๑๑ – • พิจารณาความสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง จานวน ๓ ครงั้ ๑๔ ก.พ. ๖๑ • ปรบั กรอบมาตรฐาน และคาอธิบายมาตรฐานเพ่ิมเติมจากขอ้ เสนอแนะการประชุม จานวน ๓ ฉบบั ม.ี ค.๖๑ • ประชมุ รว่ มกบั คณะอนุกรรมการดา้ นมาตรฐานการศึกษาและการจดั การเรยี นรู้ สกศ. และคณะทางานมาตรฐาน จานวน ๓ คร้ัง • ปรบั รา่ งมาตรฐานการศึกษา เพอ่ื เสนอคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน จานวน ๓ ฉบับ (มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และ ของศูนย์การศกึ ษาพิเศษ) เม.ย.- ก.ค. ๖๑ • ประกาศมาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ วันที่ ๖ สงิ หาคม ๒๕๖๑

มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2561 ระดบั การศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั ปฐมวัย พ้นื ฐาน ระดบั การศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน (ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ)

การเปรยี บเทยี บมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐาน พ.ศ.2559 มาตรฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑.จานวนมาตรฐาน • ปฐมวยั (พ.ศ. ๒๕๕๔) • ปฐมวยั ๑๑ มฐ. ๕๑ ตบช. ๓ มฐ. ๑๔ ประเดน็ พจิ ารณา • ขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ. ๒๕๕๙) • ขั้นพ้ืนฐาน ๔ มฐ. ๒๐ ประเด็นพจิ ารณา ๓ มฐ. ๒๑ ประเด็นพิจารณา • ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ (พ.ศ. ๒๕๖๐) • ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ๔ มฐ. ๒๐ ประเด็นพิจารณา ๓ มฐ. ๑๕ ประเดน็ พิจารณา

การเปรยี บเทยี บมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐาน พ.ศ. 2549 มาตรฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒. ด้านคณุ ภาพผูเ้ รยี น ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รยี น และคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น และ ประสงค์ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน เพิม่ * ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ปรับ * มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชีพ (เดมิ ความพรอ้ มในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรอื การทางาน) ๓. ด้านการบริหารจัดการ มเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์ การวางแผน (พัฒนา มีเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ ระบบการบรหิ ารจัดการ การพฒั นา วิชาการ ครู บุคลากร บริหารจดั การข้อมูล วชิ าการ พฒั นาครแู ละบคุ ลากร การจดั สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อม) การมีสว่ นร่วม และการกากบั เพ่ิม * จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตดิ ตาม

การเปรยี บเทยี บมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐาน พ.ศ.2549 มาตรฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓. ดา้ นการจัดการเรียนการสอน - สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนทุกคนมสี ว่ นรว่ ม - ปรบั * จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิด - จดั การเรยี นการสอนทย่ี ึดโยงกบั บรบิ ท - ปรบั * ใชส้ ื่อเทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรู้ - ปรบั * บรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก ของชุมชน - ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็น - ปรบั * แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และให้ขอ้ มลู ระบบ สะทอ้ นกลับ - ตรวจสอบและประเมินอยา่ งเปน็ ระบบ

มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั พ.ศ. 2561 หลกั สูตร จัดครูเพียงพอ รา่ งกาย อารมณ์ สง่ เสรมิ ประสบการณค์ รู การบริหารและ คณุ ภาพเดก็ สงั คม จดั สภาพแวดลอ้ ม ส่อื ฯ การจดั การ สตปิ ัญญา สอื่ เทคโนโลยฯี สารสนเทศ จัดประสบการณ์ ระบบบริหาร สร้างโอกาส จัดบรรยากาศ การจัด ประสบการณ์ ประเมินตามสภาพจรงิ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก 1.1 มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 1.3 มพี ฒั นาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกที่ดขี องสังคม 1.4 มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มที กั ษะการคดิ พ้นื ฐาน และ แสวงหาความรูไ้ ด้

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒.๑ มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถนิ่ ๒.๒ จัดครใู ห้เพยี งพอกับชัน้ เรียน ๒.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชีย่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่อื เพ่อื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ ๒.๕ ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นร้เู พอื่ สนบั สนุนการจดั ประสบการณส์ าหรบั ครู ๒.๖ มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ก่ยี วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ๓.๑ จัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมให้เด็กมีพัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอยา่ งมคี วามสขุ ๓.๓ จัดบรรยากาศทเ่ี ออื้ ต่อการเรยี นรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั วัย ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง และนาผลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2561 เป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ การบรหิ ารและ คุณภาพผเู้ รยี น ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการ ระบบการบริหาร การจัดการ การจดั การเรยี น พัฒนาวิชาการ คณุ ลกั ษณะ พัฒนาครูและบุคลากร การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด การสอน ทพี่ ึงประสงค์ จดั สภาพแวดล้อม และปฏิบตั จิ รงิ ระบบเทคโนโลยี ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ การบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น ๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคานวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแกป้ ญั หา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ๕) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ๖) มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชพี

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2561 ๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน ๑) การมคี ุณลักษณะและค่านยิ มที่ดตี ามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ๒) ความภูมิใจในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรบั ทจี่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มีเปา้ หมายวิสัยทศั นแ์ ละพันธกิจทีส่ ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการเรยี นรู้

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้ ๓.๒ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ เ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี น ๓.๕ มีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ พ.ศ. 2561 เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ การบรหิ ารและ คุณภาพผ้เู รยี น การพฒั นาศักยภาพ ระบบการบริหาร การจดั การ ของผเู้ รียน พฒั นาวิชาการ คุณลกั ษณะ พฒั นาครูและบุคลากร ทีพ่ งึ ประสงค์ จดั สภาพแวดล้อม ระบบเทคโนโลยี หลกั สตู รทต่ี อบสนองความแตกต่าง การจัดการเรียนการสอน การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง สารสนเทศ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ การบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี น การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และ ให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลับ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ศนู ย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561 มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ ผลการพฒั นาผูเ้ รียน ๑.๒ คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผู้เรยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผูเ้ รยี น เป็นสาคัญ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ พ.ศ. 2561 มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ ผลการพัฒนาผเู้ รียน 1) มพี ัฒนาการตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล ทแ่ี สดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบไุ ว้ในแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการให้บรกิ ารชว่ ยเหลอื เฉพาะ ครอบครวั 1) มีความพร้อมสามารถเขา้ สู่บรกิ ารชว่ งเชื่อมตอ่ หรอื การสง่ ตอ่ เข้าสูก่ ารศกึ ษาในระดบั ท่ีสูงขนึ้ หรอื การอาชพี หรอื การดาเนินชวี ติ ในสงั คมไดต้ ามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล ๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน ๑) มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ๒) มีความภมู ิใจในทอ้ งถิ่น และความเปน็ ไทย ตามศักยภาพของผเู้ รยี นแต่ละบคุ คล

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ พ.ศ. 2561 มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๒.๑. มเี ปา้ หมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการเรยี นรู้

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ พ.ศ. 2561 มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ๓.๑ จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ี่เออ้ื ต่อการเรียนรู้ ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น ๓.๕ มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้

การจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเอง (self assessment report: SAR) มงุ่ เน้นตอบคาถามดังนี้ 1) คุณภาพของสถานศกึ ษาอยู่ในระดับคณุ ภาพใด มีคุณภาพ อยา่ งไร 2) สถานศกึ ษารไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ตนเองมคี ุณภาพในระดบั นั้น มี ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษอ์ ะไรบ้างที่จะสนับสนนุ 3) สถานศึกษามจี ดุ เดน่ จุดท่คี วรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพ่ือ การพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี ึ้นกวา่ เดิมอย่างไร

การกาหนดระดบั คุณภาพ ระดับคุณภาพของสถานศกึ ษา 5 ระดับ • ระดบั กาลงั พฒั นา • ระดบั ปานกลาง • ระดับดี • ระดบั ดีเลิศ • ระดับยอดเยย่ี ม

การปฏิรปู วธิ ีการประเมิน : รูปแบบการประเมินแนวใหม่ การประเมินและการตดั สนิ โดยอาศัยความเชยี่ วชาญ (Expert Judgment) การประเมนิ แบบองคร์ วม (Holistic Assessment) การประเมินโดยอาศัยร่องรอยหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ Evidences Based Assessment

ความเชอื่ มโยงการประกันคณุ ภาพภายใน กบั การประเมินคุณภาพภายนอก

ขอ้ 3 กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพฯ พ.ศ.2561 กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาสถาน ึศกษา ใหค้ าปรกึ ษา ชว่ ยเหลือ แนะนา จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของ รวบรวม และสงั เคราะห์ SAR สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ห ่นวยงาน ้ตนสังกัด ตดิ ตามผลการดาเนินงาน ปรับปรงุ และพัฒนา ดาเนนิ งานตามแผนฯ ประเมนิ ผลและตรวจสอบ ให้ความรว่ มมือกับ สมศ. ตดิ ตามผลการดาเนนิ การ จดั ทา/จดั ส่งรายงานการประเมินฯ





ขอ้ สรปุ และประเด็นฝาก “วัฒนธรรมการประเมิน” 19 ข้อท่ีเห็นบ่อยและอยากให้มกี ารเปล่ยี นแปลงในการเตรียมการและรบั การประเมินฯ 1. การเกณฑน์ ักเรยี น ครู และคนเฒา่ คนแก่ มาต้ังแถวยนื ต้อนรับ ตง้ั แตห่ น้าประตโู รงเรียน 2. การจัดขบวน การจัดวงดนตรี และการแสดงตา่ งๆ เพื่อแหแ่ หนผ้ปู ระเมนิ ต้งั แต่หน้ารว้ั โรงเรยี น 3. การตง้ั แถวใหน้ กั เรยี นโบกธง โบกมอื ปรบมอื รวั ๆ ชูมือจากหน้าประตโู รงเรียน 4. การลงทนุ สูงกบั การจดั เตรียมพวงมาลยั หรอื เตรียมดอกไม้ไว้ติดอกเสื้อผปู้ ระเมิน 5. การจัดทาป้ายไวนิลหรือปา้ ยตอ้ นรบั ใหญโ่ ต ทเ่ี ป็นการลงทนุ สูงเพอ่ื รับการประเมนิ

ข้อสรุปและประเด็นฝาก “วัฒนธรรมการประเมิน” 19 ข้อทเ่ี ห็นบ่อยและอยากให้มกี ารเปลีย่ นแปลงในการเตรยี มการและรบั การประเมินฯ 6. การเสยี ค่าใช้จ่ายไปกับการจดั ทาป้ายชื่อผปู้ ระเมนิ เช่น ไมส้ ักแกะสลัก หนิ ออ่ นแกะสลัก ฯลฯ 7. การลงทนุ กับการเช่าชุดการแสดงและการแตง่ ตวั หรอื แต่งหนา้ ให้นักเรยี นแสดงเพยี งไมก่ ีน่ าที 8. การปลุกให้นักเรยี นตน่ื แต่ไกโ่ ห่ เพื่อมาคอยต้อนรบั และแสดงใหผ้ ปู้ ระเมินรบั ชม 9. การจดั ซ้มุ ดอกไม้ มมุ ดอกไม้ หรือแจกนั ดอกไม้ไว้ประดับตกแต่งทเี่ กินความจาเปน็

ขอ้ สรุปและประเดน็ ฝาก “วฒั นธรรมการประเมิน” 19 ขอ้ ที่เห็นบ่อยและอยากให้มีการเปลี่ยนแปลงในการเตรยี มการและรับการประเมนิ ฯ 10. การเสียเงินและเสียเวลากบั การซ้ือผ้ามาผูกโบว์หรอื จับกลบี เป็นร้วิ แถว ไว้ประดับหนา้ หอ้ งประชุม 11. การจดั เตรียมพรมแดงหรอื จดั ทาทางเท้าเป็นกรณพี เิ ศษใหผ้ ู้ประเมินเดนิ ในระหว่างการประเมนิ 12. การจัดเตรียมนกั เรียนไวค้ อยเดนิ กางรม่ ใหผ้ ู้ประเมินระหวา่ งการประเมิน 13. การจัดเตรียมนกั เรยี นไวค้ อยเดนิ ประกบ แนะนา หรอื คอยเดินจงู มือผูป้ ระเมิน 14. การจัดฐานกจิ กรรมต่าง ๆ แสดงต่อหน้าผู้ประเมินทน่ี อกเหนือ จากกจิ กรรมปกตขิ องโรงเรียน 15. การจัดสารับอาหารทห่ี รูหราและราคาแพง ซ่งึ สร้างภาระให้กบั โรงเรียน

ขอ้ สรุปและประเดน็ ฝาก “วฒั นธรรมการประเมนิ ” 19 ขอ้ ที่เห็นบ่อยและอยากใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลงในการเตรียมการและรับการประเมินฯ 16. การเตรียมการแบบหามรงุ่ หามค่า ไม่ไดห้ ลับไมไ่ ดน้ อน เพ่ือรับการประเมนิ เพยี งไม่กี่วัน 17. การให้นกั เรยี นบางคนหยุดเรียน หรอื ครูบางคนหยุดงานในวันทีม่ กี ารประเมิน 18. การเตรยี มของขวัญหรือของทรี่ ะลึกที่มีราคาแพงไวแ้ สดงความขอบคณุ ผ้ปู ระเมนิ 19. การใหเ้ อกสทิ ธบ์ิ างอยา่ งกับผูป้ ระเมนิ และยกยอ่ งจนคล้ายจะเป็นสมมตุ ิเทพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook