Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน-ด้วย-PTP-Model

รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน-ด้วย-PTP-Model

Published by ชโลธร ขามธาตุ, 2022-01-10 06:14:07

Description: รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน-ด้วย-PTP-Model

Search

Read the Text Version

แบบ นร. ๑ การนำเสนอผลงาน “หนึง่ โรงเรยี น หนง่ึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔ ๑. หน้าปก ประกอบด้วย ๑) ชื่อผลงานหน่ึงโรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น ด้วย PTP Model ” ๒) การสง่ ผลงานหน่ึงโรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ท่ีตรงกับผลงาน )  เปน็ ผลงานทไ่ี มเ่ คยส่งเขา้ รับการคัดสรรกบั ครุ ุสภา เปน็ ผลงานท่เี คยส่งเขา้ รับการคดั สรรกับครุ สุ ภา ปี ....... เรอ่ื ง ........แต่ไมไ่ ดร้ ับรางวลั ของครุ ุสภา เปน็ ผลงานท่ีเคยไดร้ ับรางวลั ของครุ ุสภาและมกี ารนำมาพฒั นาเพมิ่ เติม หรือตอ่ ยอดนวตั กรรม (ตอ้ งกรอกแบบ นร. ๒) ๓) ประเภทผลงานหนงึ่ โรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ทต่ี รงกบั ผลงาน) (เลอื กได้เพยี ง ๑ ด้านเทา่ น้นั ) การจดั การเรยี นรู้ ส่ือและเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นรู้  การบรหิ ารและการจัดการสถานศึกษา การส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียนให้เต็มศักยภาพ การวดั และประเมินผล อื่น ๆ โปรดระบุ ..................................................................... ๔) ผู้บริหารสถานศกึ ษา ชอ่ื ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา นางสภุ าภรณ์ นามสกลุ มาอุ้ย เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๐๙๐๐๓๔๒๐๑๔ ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะ ผู้อำนวยการเชยี่ วชาญ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ ๐๘๙๕๖๙๓๖๕๖ E-mail : [email protected] ๕) ผปู้ ระสานงาน ▪ นางสุภาภรณ์ นามสกุล มาอุย้ เลขบัตรประชาชน ๓๔๐๐๙๐๐๓๔๒๐๑๔ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา วทิ ยฐานะ ผ้อู ำนวยการเชยี่ วชาญ โทรศัพท์เคล่อื นที่ ๐๘๙๕๖๙๓๖๕๖ E-mail : [email protected] ๖) คณะผูร้ ว่ มพฒั นาผลงานนวัตกรรม ( ครู /นักเรียน/ผ้ทู ่มี ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง จำนวนตามจริง ) ๖.๑ (นาย/นาง/นางสาว/อน่ื ๆ) นางปารณี า นามสกลุ ศริ พิ ูล เลขบตั รประชาชน ๓๔๕๐๗๐๐๒๐๒๑๗๑ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ๐๙๔๒๖๘๙๓๓๙ ๖.๒ (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางพรเพญ็ นามสกลุ สมบตั มิ าก เลขบัตรประชาชน ๓๔๐๐๑๐๐๔๑๙๕๒๗ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ ๐๘๓๑๔๒๒๒๓๖ ๖.๓ (นาย/นาง/นางสาว/อนื่ ๆ) นางสาวศริ นิ ทร์ทพิ ย์ นามสกลุ ไชยสหี า เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๙๙๐๐๑๗๓๙๐๓ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โทรศพั ท์เคลื่อนท่ี ๐๘๑๙๕๔๗๘๙๓ ๖.๔ (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางพรรณี นามสกุล เถาว์ทิพย์ เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๐๗๐๐๔๒๒๗๕๘ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โทรศัพท์เคล่อื นที่ ๐๘๓๑๔๕๐๖๙๘ ๖.๕ (นาย/นาง/นางสาว/อน่ื ๆ) นายประวัติ นามสกลุ เพียสมนา เลขบัตรประชาชน ๓๔๐๐๓๐๐๐๘๘๙๒๓ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ๐๙๕๑๖๔๕๓๕๕ ๖.๖ (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นายอดิศกั ดิ์ นามสกุล โคตรชุม เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๙๙๐๐๒๐๐๘๖๒ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี ๐๙๘๗๕๒๖๑๖๙

-๒- ๖.๗ (นาย/นาง/นางสาว/อน่ื ๆ) นางวรรณทภิ า นามสกลุ ธรรมโชติ เลขบัตรประชาชน ๓๔๐๐๗๐๐๓๖๖๐๘๔ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โทรศัพท์เคล่ือนที่ ๐๘๙๙๑๗๙๒๖๙ ๖.๘ (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางหงษ์ลุน นามสกลุ สะทา้ นบวั เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๐๑๐๑๖๙๗๓๘๕ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ ๐๙๓๓๘๒๕๖๕๔ ๖.๙ (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางอัญชุลกี ร นามสกลุ ขนั ติวรี วฒั น์ เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๑๗๐๐๘๒๘๗๐๔ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ ๐๘๑๗๓๙๑๐๙๑ ๖.๑๐ (นาย/นาง/นางสาว/อืน่ ๆ) นางชาลสิ า นามสกลุ ศรเี คน เลขบตั รประชาชน ๓๕๗๐๒๐๐๒๓๑๒๐๑ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๙๕๔๖๙๒๘๘๔ ๖.๑๑ (นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) นางณัทชดุ า นามสกลุ บุตมิ ลุ ตรี เลขบตั รประชาชน ๓๔๔๐๒๐๐๑๖๘๐๕๔ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๙๘๙๙๒๖๒๒๕ ๖.๑๒ (นาย/นาง/นางสาว/อนื่ ๆ) นางสาวอจั ฉราภรณ์ นามสกุล ตน้ กนั ยา เลขบตั รประชาชน ๕๔๐๐๗๙๙๐๐๒๕๙๑ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โทรศพั ท์เคลื่อนท่ี ๐๘๘๕๖๑๕๗๘๒ ๖.๑๓ (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ) นางศิรธิ ร นามสกุล วงชาลี เลขบตั รประชาชน ๓๔๐๐๗๐๐๒๐๓๕๐๙ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี ๐๘๔๕๑๙๒๙๙๓ ๗) ข้อมลู สถานศกึ ษา ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรยี นพระธาตุขามแกน่ พทิ ยาลัย เลขท่ี ๑๙๙ ถนน นำ้ พอง – ขอนแก่น ตำบล/แขวง บา้ นขาม อำเภอ/เขต นำ้ พอง จังหวัด ขอนแก่น รหัสไปรษณยี ์ ๔๐๑๔๐ โทรศพั ท์ ๐๔๓๔๓๖๑๒๖ โทรสาร.......-.................. Website : www.ptps.ac.th Facebook : รร.พระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ๘) สงั กดั ๑. สพป. .........................เขต........... ๒. สพม. เขต ..........จงั หวดั ..................................... ๕. กทม.  ๖. อปท. อบจ.ขอนแกน่ ๓. สอศ. ๔. สช. ๙. อืน่ ๆ (โปรดระบุ)............................... ๗. กศน. ๘. การศกึ ษาพเิ ศษ หมายเหตุ : กรุณาบันทึกขอ้ มลู ลงใน https://school.ksp.or.th (KSP-School) กรณียังไม่ไดส้ มัครสมาชิก หรอื ลืมรหสั เขา้ ระบบ กรณุ าเผอื่ เวลาอยา่ งนอ้ ย ๓ วันทำการ เพือ่ ใหส้ ามารถส่งผลงานได้ทนั ภายในวันที่ ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ “รูปแบบการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนึ่งโรงเรยี น หน่งึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๓- ๒. บทสรปุ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย เป็นสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัด ขอนแก่น จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ในปีการศึกษา ๒ ๕๖ ๓ มีนักเรียนจำนวน ๑๕๒ คน มีครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๘ คน ได้วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ พฒั นา จากทุกฝ่าย จึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ “โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย เปน็ สถานศกึ ษา จดั การศกึ ษาไดม้ าตรฐาน รกั กฬี า รักสิ่งแวดล้อม น้อมนำแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” เปน็ เป้าหมาย ในการพัฒนาโรงเรยี น และพฒั นารูปแบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ด้วย PTP Model มา ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน จากผลการวิเคราะห์ผู้เรียนด้วย แบบสอบถามกระบวนการเรยี นรู้ท่ีแตกตา่ ง VARK Learning Style ผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีรูปแบบการเรียนรู้ที่ใช้ การขยับหรือการลงมือทำ (ปฏิบัติ) (K : Kinesthetic) ซ่ึงการจัดการศึกษาในยุคศตวรรษที่ ๒๑ ครูต้องนำกลวิธีที่ หลากหลายมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผ้เู รยี น ได้เรียนรูจ้ ากการลงมอื ทำ การเผชญิ สถานการณ์ทส่ี ่งต่อถึงการมี ความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีตอ่ งานและอาชีพ มีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ท้ังดว้ ยตนเองและ กลุ่ม การทำงานเป็นทีม การยอมรับความคิดเห็นของตนเองและผู้อ่ืน อันนำไปสู่การการพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะสำคัญ เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม การมีทกั ษะชวี ติ และอาชีพในสงั คมยคุ ใหม่ PTP Model เป็นนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยมี องค์ประกอบสำคญั ดังนี้ P : Participatory คอื การสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรยี น กบั ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ชุมชน ภาคีเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือสร้างความร่วมมือในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดการ เรยี นรู้ใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้ึน T : Talented Team คือ การพัฒ นาและส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเข้าร่วม ประชุมสัมมนา ประชุมเชงิ ปฏิบัติการ และ การศึกษาดูงาน ใหเ้ ป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการออกแบบและการ จัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยใช้เทคนิค กลวิธีอย่างหลากหลาย เลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ สู่การ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และใชก้ ารวจิ ัยเพ่อื แกป้ ญั หาและพฒั นาผูเ้ รยี น P : Professional Learning Community คือ การนำกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) ท่ใี ชใ้ นการขบั เคลือ่ นการพัฒนาครสู ่กู ารพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน ตามบรบิ ทของโรงเรียนขนาดเล็ก จากการที่ได้ทดลองใช้นวัตกรรมและมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง PTP Model จึงเป็นนวัตกรรม ของโรงเรยี นพระธาตขุ ามแกน่ พิทยาลัย ทม่ี คี วามเหมาะสมกับบริบท บรรลผุ ล ดังน้ี ๑. ผลที่เกิดกับโรงเรียน โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย พัฒนาคุณภาพองค์กรให้เป็นที่ยอมรับและ ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากชุมชน มีการประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยงานตน้ สังกัด ชุมชน ภาคเี ครือขา่ ย ซึง่ ไดส้ นับสนุนงบประมาณ ทนุ การศกึ ษา การสรา้ ง แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน การสนบั สนนุ วทิ ยากร เครือขา่ ยทางวิชาชีพ ใหก้ ับโรงเรียน เช่น ๑.๑ เป็น “โรงเรียนต้นแบบเพ่ือยกระดับงานวิชาการผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” ปี การศึกษา ๒๕๖๒ ในโครงการการพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่น ซ่ึงเปน็ การสนบั สนุนความร่วมมอื ระหว่าง สำนกั งานครุ ุสภา และ โครงการ Chevron Enjoy Science ๑.๒ การได้รับทุนการศึกษา และทุนสนับสนุนจากคุณวิภารัตน์ สอนบุญมา ในการปรับปรุง หอ้ งเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ เพื่อใหเ้ ปน็ ห้องฝึกปฏบิ ตั กิ ารด้านการทำอาหารและเครือ่ งดมื่ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๑.๓ โรงเรียนได้รบั การสนับสนุนทุนการศกึ ษาสำหรับนักเรียน จากบา้ นเด็กและครอบครัวจังหวัด ขอนแก่น ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ “รูปแบบการบริหารจดั การสถานศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ด้วย PTP Model ” “หนงึ่ โรงเรียน หนงึ่ นวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๔- ๑.๔ เป็นโรงเรยี นในโครงการ KKU Smart Learning ขององค์การบริหารสว่ นจังหวัดขอนแก่น ๑.๕ เป็นโรงเรียนในโครงการ Zero Waste ของจงั หวัดขอนแกน่ สนับสนุนวทิ ยากร งบประมาณ วัสดุ อปุ กรณ์ จาก สำนกั งานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๐ ขอนแก่น ๒. ด้านคุณภาพผู้บริหาร ผู้บริหารได้พัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพ นำความรู้ กลยุทธ์ในการบริหาร จัดการสถานศึกษามาวางแผนในการบริหารจัดการเพื่อประสานความร่วมมือในการ พัฒน าคุณภาพสถานศึกษา ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ชุมชน ภาคีเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัด มีความเช่ือมั่นในการ ดำเนินงานของโรงเรียน ให้การสนับสนุนและร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษา ครูและบุคลากร เปดิ ใจ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง มคี วามมุ่งม่ัน ต้ังใจในการทำงานและพัฒนาตนเองส่งผลดีต่อการพัฒนาผูเ้ รียนให้มี คณุ ภาพ ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด ๓. ด้านคุณภาพครู ครูโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย มุ่งม่ันตั้งใจในการทำงาน ยอมรับการ เปล่ียนแปลง พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) สามารถออกแบบ การเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้วยการใช้รูปแบบ เทคนิค กลวิธี การสอนที่หลากหลาย เช่น แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ตามแนวทาง Thinking School การบูรณการการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ High Impact Practice การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ Five Practices ท่ีสอดคล้องบริบทของผู้เรียนและธรรมชาติวิชา การสร้างและเลือกใช้สื่อและ นวตั กรรมทส่ี อดคล้องกบั บทเรียน ดำเนินการวิจยั เพ่ือแกป้ ัญหาและพฒั นาผเู้ รียน และเกิดชุมชนแหง่ การเรียนรู้ใน โรงเรียน ครูได้แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ มากข้ึน นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลจากผลการปฏิบัติงาน และได้เลื่อนวิทยฐานะที่สูงข้ึนในระดับชำนาญการพิเศษ และเช่ยี วชาญ ๔. ด้านคุณภาพผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน คุณลักษณะ และเจตคติท่ีดีต่องานและอาชีพ สามารถเช่อื มโยงองคค์ วามรู้และประสบการณ์จากการเรียนร้ใู นห้องเรยี นมาใช้ในการสร้างส่ิงใหม่ๆ ดว้ ยการลงมือ ปฏิบัติ ตามความถนัดและความสนใจ เช่น การเป็นนักกีฬา นักกรฑี า ที่มีผลงานระดับชาติและนานาชาติ รางวัล การผลิตช้ินงานผ่านกิจกรรมโครงงาน การสร้างผลิตภัณฑ์จากการเรียนรู้ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมการแสดงดนตรี พน้ื บ้านโปงลางและนาฏศลิ ป์ ซึ่งเป็นพนื้ ฐานในการพฒั นาสู่อาชีพและการทำงานตอ่ ไปในอนาคต จากการพฒั นานวัตกรรม PTP Model มาใช้ในการบริหารจดั การศึกษาในโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยา ลัย ส่งผลตอ่ คุณภาพองคร์ วมของสถานศกึ ษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทำให้ผูเ้ รียนไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาอย่างเท่าเทยี ม กนั และเต็มศักยภาพ ผเู้ รียนมีคุณลักษณะท่ีดี มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ทักษะชีวิต สามารถเช่ือมโยงทักษะจากการ เรยี นรู้ในหอ้ งเรียน สกู่ ารลงมอื ปฏิบัติเพื่อการประกอบอาชีพตอ่ ไปในอนาคต ๓. ความเป็นมาและความสำคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และ(ฉบับที่๓) พ.ศ.๒๕๕๓ หมวด ๔ มาตรา ๒๒ กำหนดไว้วา่ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการ เรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญทีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถ พฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การศึกษาเปน็ สิทธิขัน้ พืน้ ฐานของคนไทยทกุ คน ทีร่ ฐั ตอ้ งจัดให้เพอ่ื พัฒนา คนไทยทกุ ช่วงวยั ให้มีความเจรญิ งอกงามทุกดา้ น เพ่อื เป็นต้นทุนทางปญั ญาที่สำคัญในการพัฒนาทักษะ คณุ ลักษณะ และสมรรถนะในการประกอบสัมมาชีพ และการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างเป็นสุขอันจะนำไปสู่ เสถียรภาพ และความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติที่จะต้องพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาประเทศใน เวทีโลก ท่ามกลางกระแสการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ ๒๑ (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ,๒๕๖๐) “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน ด้วย PTP Model ” “หน่ึงโรงเรยี น หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๕- นโยบายการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาล ด้านการจัดการศึกษา กลา่ วถึง การพฒั นาคนทุกช่วง วยั โดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ิต เพ่อื ให้สามารถมีความรแู้ ละทักษะใหม่ท่ีสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย ตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสูตรให้เช่ือมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการ ความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพ่ือให้เอ้ือต่อการพัฒนาผู้เรียนท้ังในด้านความรู้ ทักษะ การใฝ่เรียน รู้ การ แกป้ ัญหา การรับฟังความเห็นผู้อ่ืน การมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี โดยเนน้ ความร่วมมือระหวา่ ง ผู้เกยี่ วข้องทั้งในและนอกโรงเรยี น การจัดการศกึ ษาในยคุ ศตวรรษที่ ๒๑ ครจู ึงตอ้ งจัดการเรยี นรู้อย่างหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้ จากการลงมือทำ การเผชิญสถานการณ์ที่ส่งต่อถึงการมีทักษะการแก้ปัญหา เสริมสรา้ งการมีจิตอาสา การยอมรับ ความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอันนำไปสูก่ ารการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ทักษะชีวิต และทักษะ อาชพี ในสังคมยุคใหม่ รวมทง้ั เสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงใน ทุกด้าน ร้จู ักพ่ึงตนเอง สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขและสามารถปรับตัวใหท้ ันกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว ดังน้ัน การจัดการศึกษาจึงจำเป็นท่ีจะต้องให้การส่งเสริมสนับสนุนและการพัฒนาดังกล่าว เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้เต็มประสิทธิภาพพร้อมรับการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น จึงถือเป็นหนา้ ท่ีของสถานศึกษาที่จะต้องพัฒนาแนว ทางการจดั การเรียนการสอนแกผ่ ู้เรยี น (วจิ ารณ์ พานชิ ,๒๕๕๕) โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดองค์การบริหาร สว่ นจงั หวัดขอนแก่น ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ มจี ำนวนนกั เรียนเพียง ๑๒๖ คน เน่ืองจากโรงเรียนในเขตพ้ืนทีบ่ รกิ ารมี จำนวนนักเรยี นนอ้ ย ชมุ ชนบ้านขามเป็นชุมชนก่ึงชนบท ผ้ปู กครองส่วนใหญ่ทิ้งถิ่นไปประกอบอาชีพในเมอื ง ชุมชนมี ค่านิยมส่งบุตรหลาน เข้าศึกษาต่อในโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่กว่า และโรงเรียนในชุมชนใกล้เคียงเปิดการสอนตาม โครงการขยายโอกาสทางการศึกษา นักเรียนท่ีเข้าเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ด้อยโอกาส ผู้ปกครอง มีรายได้น้อย นักเรียนมีพื้นฐานทางการเรียนไม่ค่อยดี นักเรียนบางคนอ่าน เขียน ไม่คล่อง นักเรียนส่วนใหญ่เรียนเพ่ือให้จบ การศกึ ษาขน้ึ พน้ื ฐานและออกไปประกอบอาชีพ โรงเรียนจึงได้ประสานความมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ประกอบด้วยคณะครูและบุคลากรทางการ ศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้นำท้องถ่ิน และผู้ปกครองนักเรียน ร่วมกำหนดวิสัยทัศน์เพื่อการ พัฒนาโรงเรียน ดังน้ี “โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย เป็น สถานศึกษาจดั การศึกษาได้มาตรฐาน รักกีฬา รัก ส่งิ แวดลอ้ ม น้อมนำแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด ขอนแก่น ได้มีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตามโครงการ “ การ พฒั นาเครอื ข่ายโรงเรียนตน้ แบบเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพงานวชิ าการ ผา่ นกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ โรงเรยี นในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น” โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลยั เป็น ๑ ใน ๔ โรงเรียน เครอื ขา่ ยทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ จากสภาพปจั จุบัน ปญั หา และการกำหนดวสิ ัยทศั นข์ องโรงเรยี น ในฐานะผ้บู รหิ ารสถานศึกษา จงึ ได้มีแนวคิดในการนำวงจรคุณภาพเดมม่งิ (PDCA) เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงกระบวนการทำงาน และทฤษฎี ระบบ ร่วมกับการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยนวัตกรรม PTP Model เพอื่ สร้างโอกาสทางการศึกษาและเพอื่ ให้โรงเรียนจัดการศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ เสริมสรา้ งภาวะผนู้ ำทางวิชาการของ ผบู้ ริหารสถานศึกษา พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนร้ขู องครสู ู่การเป็นครมู ืออาชีพ เพือ่ เป้าหมาย คือ การ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ บรรลุตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนและบรรลุมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา และเปน็ ทยี่ อมรบั เช่อื มัน่ ของผปู้ กครองและชมุ ชน ๔. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนารปู แบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ด้วย PTP Model “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนึง่ โรงเรียน หน่ึงนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๖- ๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหน่ึงโรงเรียน หนง่ึ นวตั กรรม ๑) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย เป็นสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัด ขอนแกน่ จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตั้งแต่ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีนักเรียนจำนวน ๑๕๒ คน มีครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๘ คน ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปญั หา และความตอ้ งการ พฒั นา จากทกุ ฝา่ ย ดังน้ี ๑.๑ ดา้ นสภาพชุมชนและการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ชุมชนบ้านขามเปน็ ชุมชนชนบท ผู้ปกครองส่วนใหญ่ทง้ิ ถิน่ ไปประกอบอาชีพในเมอื ง นกั เรียน ในเขตพ้ืนที่บริการมีจำนวนน้อย ชุมชนมีค่านิยมส่งบุตรหลาน เข้าศึกษาต่อในโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่ในเมือง โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางในชุมชนใกล้เคียง และโรงเรียนในชุมชนใกล้เคียงเปิดการสอนตามโครงการขยาย โอกาสทางการศึกษา ควรส่งเสรมิ สนับสนุนชุมชน ภาคีเครือขา่ ยเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น ๑.๒ ด้านผ้บู รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๑) ครูควรไดร้ ับการพัฒนาความรู้ และทักษะในการใชเ้ ทคนิคการสอนทห่ี ลากหลายเพ่อื ให้สามารถ พัฒนาผเู้ รียนให้เตม็ ตามศักยภาพ ออกแบบการเรียนรู้ จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ ท่ีเหมาะสมกับผู้เรยี น 2) ครูควรไดร้ บั การสนบั สนุน ส่งเสริมความสามารถในการเลือกใช้/จัดทำสอ่ื และเทคโนโลยีที่ ทนั สมยั มาใชเ้ พอ่ื พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ 3) ครคู วรไดร้ บั การพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะในการทำวจิ ยั เพือ่ พัฒนาการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น และ การสง่ เสรมิ การทำวิจัยในชั้นเรยี น 4) ครูควรมกี ารรว่ มมอื กันในการสง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รียน ๑.๓ ด้านผูเ้ รยี น 1) ผูเ้ รยี นควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรให้สูงขึ้น 2) ผู้เรยี นควรได้รับการพฒั นาดา้ นทักษะการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น 3) ผเู้ รียนควรไดร้ บั การส่งเสรมิ ทกั ษะการฝกึ ปฏิบตั ิ พฒั นาความสามารถตามความถนัด และความสนใจ 4) ผเู้ รยี นควรได้รบั การพฒั นาทกั ษะการทำงานกลุ่ม หรอื ทำงานเป็นทมี ผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผู้เรยี นสว่ น ใหญ่ มรี ูปแบบการ เรยี นรู้ดว้ ยการขยับ หรือ ลงมอื ทำ(ปฏบิ ัติ) เม่ือทำการวิเคราะห์สาเหตุ ปัญหา และความต้องการพัฒนา จึงได้มีแนวคิดในการประสานความ ร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย กำหนดเป้าหมาย และแนวทางในการสร้างความร่วมมือในการบริหารสถานศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ จึงได้นำแนวคิดในการบริหาร จดั การ และพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ด้วย PTP Model มาใชใ้ นการพัฒนา คณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ของครสู กู่ ารพฒั นาคุณภาพของผเู้ รยี น “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน ด้วย PTP Model ” “หนงึ่ โรงเรียน หนึ่งนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๗- ๒) การออกแบบนวตั กรรมเพอ่ื การพัฒนา โรงเรยี นพระธาตขุ ามแกน่ พทิ ยาลยั ไดว้ างแผนการออกแบบนวตั กรรมเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยวิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา อุปสรรค จุดเด่น จุดด้อย นโยบาย โดยความร่วมมือกันของ คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ชุมชน เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ทุก ส่วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน โดยกำหนดเป้าหมายในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน เก่ียวข้องในการร่วมมือกันพัฒนาคุณภาพการศึกษา พัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนสู่การพัฒนา คณุ ภาพผู้เรียน ให้ได้มาตรฐานตามที่สถานศึกษากำหนด โรงเรียนเป็นท่ียอมรับของผู้ปกครองและชมุ ชน จึงได้นำแนวคิด หลักการ ทฤษฎี มาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม ดังนี้ ๒.๑ การบริหารงานด้วยวงจรคุณภาพ (PDCA) ตามแนวคิดของเดมม่ิง (Demmingin Mycoted, ๒๐๐๔) กล่าวว่า การจัดการอย่างมีคุณภาพเป็นกระบวนการท่ีดำเนินการอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้เกิดผลผลิตและการ บรกิ ารที่มีคุณภาพข้ึนโดยหลกั การที่เรยี กวา่ วงจรคณุ ภาพ (PDCA) ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ดงั น้ี ๑. Plan คอื การกำหนดสาเหตขุ องปัญหา จากนั้น วางแผนเพอื่ การเปล่ียนแปลงหรือ การทดสอบเพ่ือปรับปรุงให้ดีขน้ึ ๒. Do คือ การปฏิบตั ติ ามแผนหรือทดลองปฏิบตั เิ ปน็ การนำรอ่ งในสว่ นย่อย ๓. Check คือ ตรวจสอบเพ่อื ทราบวา่ บรรลผุ ลตามแผนหรอื หากมีส่ิงใดทีทำผิดพลาดหรอื ได้ เรยี นรูอ้ ะไรมาบา้ งแล้ว ๔. Action คือ ยอมรับการเปลย่ี นแปลง หากบรรลผุ ลเป็นท่ีนา่ พอใจหรือหากผลการปฏบิ ตั ิ ไมเ่ ปน็ ไปตามแผน ใหท้ ำวงจรโดยใชก้ ารเรียนรู้จากการทำในวงจรท่ไี ดป้ ฏิบัติไปแล้ว ๒.๒ ทฤษฎีระบบ (System Approach) ระบบคือ ภาพส่วนรวมของโครงสร้างหรือของขบวนการ อย่างหน่ึงที่มีการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆท่ีรวมกันอยู่ในโครงการหรือขบวนการน้ัน ระบบ เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ใช้ในการวางแผนและดำเนินการต่างๆ เพ่ือให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายท่ี กำหนดไว้ วิธกี ารระบบมอี งค์ประกอบสำคัญ ๔ ประการ คอื ๑) ข้อมูลวัตถุดิบ (Input) ๒) กระบวนการ (Process) ๓) ผลผลติ (Output) ๔) การตรวจผลย้อนกลับ (Feedback) ทัง้ ๔ องคป์ ระกอบนี้ จะมคี วามสมั พนั ธต์ ่อเน่ืองกนั ๒.๓ การจัดการคณุ ภาพทัง้ ระบบ (Total Quality Management : TQM) เป็นส่ิงที่วงการศึกษาให้ความสนใจและนำแนวคิดมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มากข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับสถาบันการศึกษาปรชั ญาของการพัฒนาการศึกษาท้ังระบบ คือ ความ พึงพอใจของ ลกู ค้าท่ีมีต่อคุณภาพของผลิตภณั ฑ์และบริการในขณะเดียวกันลดความสูญเสียอนั เกิดจากการดำเนินงาน ฉะน้ัน กรอบแนวคดิ ของการจัดการคณุ ภาพท้งั ระบบจึงเนน้ (กรมวิชาการ, ๒๕๔๕ : ๑๓-๑๔) ๑) การปฏบิ ัติใหเ้ กิดส่ิงท่ีลูกคา้ ต้องการไม่ใช่คิดแทนวา่ ลกู ค้าตอ้ งการอะไร ๒) ความต่อเน่ืองของการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้นเร่ือยไปไม่เพียงเพื่อ บรรลุผลตามมาตรฐานแลว้ ดำรงรักษาสภาพนนั้ ไวเ้ ทา่ นัน้ ๓) การมีส่วนรว่ มของทุกฝา่ ยและทกุ คนท้ังภายในองคก์ รและภายนอกทีม่ สี ่วนเกยี่ วข้อง การป้องกันปญั หามากกว่าการแกป้ ญั หาเม่อื ปญั หาได้เกิดข้ึนแล้ว จึงอาจกล่าวได้ว่า กรอบแนวคิดของการจัดการคุณภาพท้ังระบบ เป็นการประสานการ ควบคุณภาพ การป้องกันความเสียหายและการปรับปรุงคุณภาพอยู่บนพ้ืนฐานประการสำคัญ คือทำให้ลูกค้า พึงพอใจท้ังโดยการสนองตอบความต้องการของลูกค้าที่เกินความคาดหมาย การเข้าใจการจัดการคุณภาพทั้ง ระบบใหถ้ ่องแท้จำเป็นอยา่ งยิ่งที่จะตอ้ งเข้าใจแนวคิดเกีย่ วกับระบบคุณภาพองค์กรของตนเองและความสัมพันธ์ ระหว่างบคุ คลทตี่ ้องทำงานรว่ มกันในฐานะผู้สง่ มอบและลกู คา้ เสยี ก่อน “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้วย PTP Model ” “หนงึ่ โรงเรียน หนึง่ นวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๘- ๒.๔ การพฒั นาศักยภาพครู การพัฒนาศักยภาพ หรอื สมรรถนะของครู เปน็ กิจกรรมหลกั ของ สถานศึกษาจะต้องดำเนินการ เพราะครูคือตัวจักรสำคัญท่ีจะขับเคล่ือนให้การทำงานประสบความสำเร็จบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้ และถือว่าการพัฒนาศักยภาพหรือสมรรถนะของครูเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งท่ีจะส่งผลต่อคุณภาพของ ผู้เรียน และการพัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพเป็นที่ยอมรบั ของชมุ ชน และสังคมได้ ๒.๔.๑ กลยทุ ธก์ ารพัฒนาศกั ยภาพครู ๑) การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร คอื วธิ กี ารในการพฒั นาบุคลากรในหนว่ ยงานหรือใน องค์กรให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ และเจตคติท่ีดีต่อการทำงาน ด้วยกลวิธีท่ีเหมาะสมในการสร้าง ประสบการณ์จากการฝึกปฏิบตั ิจริงของผเู้ ข้ารับการอบรม เพือ่ แก้ปัญหาหรือพฒั นาองคก์ าร ๒) การนิเทศภายใน หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแนะนำหรอื ปรับปรุงการ ปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผ้นู ิเทศกับผู้รับการนิเทศ โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้คำปรึกษาแนะนำ ช่วยเหลือ ปรับปรุงการปฏิบัตงิ านด้านการจัดกระบวนการเรยี นร้ขู องครูให้ดีย่ิงข้ึน เพอื่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียนและ เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพกรศึกษาใหส้ งู ขึน้ ๓) การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ วิจารณ์ พานิช (๒๕๔๙) ไดใ้ หแ้ นวทางกับการแลกเปลยี่ น เรียนรู้ว่าเป็นกระบวนการหน่ึงในการบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) ท่ีจะช่วยให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ระหวา่ งผู้ปฏิบตั ิงานเกดิ การเรยี นรู้เก่ยี วกับรปู แบบหรือแนวปฏบิ ัติในการทำงาน ทีม่ ีความเหมะสมที่สุด (Best Practice) และอาจทำให้เกดิ การสร้างสรรค์ความรู้ ความคิดใหม่ๆ สำหรับการพัฒนา แนวปฏบิ ัติใหม่ ๆ ตามมา ๒.๕ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community; PLC) เป็นกระบวนการทำงานแบบร่วมมือรวมพลังของครูและผู้บริหารในการพิจารณา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และลงมือ ปฏิบัติอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยมีเป้าหมายในการสรา้ งประสทิ ธิภาพทางวิชาชีพเพื่อประโยชนข์ องนักเรียน (Hord,๑๙๙๗) นอกจากน้ี ยังเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของกลุ่มคน มีการซักถามอย่างใคร่ครวญ ด้วยวิจารณญาณเกี่ยวกับการ ปฏิบัติ การสะท้อน การร่วมมือ รวมพลัง การสรุปผล การมุ่งผลลัพธ์ และแนวทางในการส่งเสริมพัฒนา (McREL, ๒๐๐๓) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสามารถส่งเสริมความเข้าใจและความรใู้ นเน้ือหาที่สอน ผ่านการอภิปราย ร่วมกัน พัฒนาความพร้อมในการสอน รวมถึงเจตคติตอ่ การสอน และยงั ช่วยใหค้ รูมุง่ เน้นการพฒั นากระบวนการคิด ของนกั เรยี นด้วย(Britton, ๒๐๑๐) ๒.๕.๑ การวางแผน (Plan) ครูรว่ มกนั ระดมปญั หา วิเคราะห์ปัญหา ในการจัดการเรียน การสอนในรายวิชาท่ีสอนจากนั้นได้กำหนดการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหา ผ่านกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครูร่วมกันวางแผนพัฒนาบทเรียน โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ท่ีร่วมกัน ออกแบบการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค กระบวนการที่หลากหลาย โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก เช่น รูปแบบ HIP การใช้ เคร่ืองมือสอนคดิ กระบวนการ Think Pair Share กระบวนการกลุ่ม การบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๒.๕.๒ การปฏิบัตกิ าร (Do) ครู (Model) นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้จากการออกแบบรว่ มกับผู้ ร่วมออกแบบการ เรียนรู้ (Buddy) มีการประชุมวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้ก่อนนำไปสอนของกลุ่มวิชาชีพ ใน ชั่วโมงเปดิ ห้องเรยี น (Open Class) ผู้บริหาร หวั หน้าฝ่ายวิชาการ และเพื่อนรว่ มกลุ่มวิชาชีพ สงั เกตพฤติกรรมการ เรยี นรู้ของนักเรียน ตามเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนผลที่เกิดจากการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ บันทึก ขอ้ มูลลงใน PLC๐๐๑ – Plc๐๐๓ ๒.๕.๓ การสะท้อนผล (See) การย้อนทวน (recall) ไตร่ตรองสะท้อนคิด (reflect) ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข (re-design/ revise) สอนซ้ำ (re-teach) ถอดบทเรียนว่ากลุ่มได้เกิดการเรียนรู้ในประเด็นใดบ้าง ได้ ดำเนินการตามขั้นตอน คือ การสืบสอบผลการปฏิบตั งิ าน เป็นขน้ั ท่ีกลมุ่ อภิปรายสะทอ้ นความคิดรว่ มกนั จากข้อมูลที่ “รปู แบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน ดว้ ย PTP Model ” “หนง่ึ โรงเรยี น หน่งึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

-๙- ได้จากการสังเกตช้ันเรียน โดยมงุ่ เน้นการอภปิ รายกระบวนการ หรือ กิจกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนดว้ ยการสอ่ื สาร ทางบวกเพ่อื ใหไ้ ด้ความคดิ เห็นหรอื ข้อเสนอแนะที่นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนให้ดียงิ่ ข้ึน โดยการปรับปรุงแก้ไขบทเรียน เปน็ ขน้ั ตอนทกี่ ลุ่มปรับปรงุ แก้ไขบทเรียนซง่ึ รวมถึงแผนการจัดการเรยี นรู้และเอกสาร หรือสื่อประกอบการเรียนการสอนต่างๆ ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้นตามข้อสรุปท่ีได้จากการอภิปราย เพ่ือให้สามารถ นำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนในครั้งต่อไปไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลกว่าคร้งั ท่ีผ่านมาและนำเสนอ ทงั้ ผลการเรยี นรู้ท่เี กิดขน้ึ กับผู้เรียนและนวัตกรรมหรือวิธีการพัฒนาท่ีใช้ในการพัฒนาผเู้ รยี น ทั้งน้ี เพ่ือขยายผลและ เพ่ื อ เติ ม ก าร เรี ยน รู้ขอ งก ลุ่ ม ต่ อ ไปรว ม ทั้ งเพื่ อ ให้ก ลุ่ ม ได้ จัดร ะ บบอ งค์ คว าม รู้ที่ ได้ ขอ ง ตน และ มี หลั ก ฐาน ใน ก าร ดำเนินงานทช่ี ัดเจน ตลอดจนเพ่ือใหม้ ีโอกาสไดภ้ าคภูมิใจในผลงาน ๒.๖ วิธกี าร เทคนคิ การจดั การเรียนรทู้ ีม่ ุ่งหวังเป้าหมายในการพัฒนาผูเ้ รยี นผา่ นกระบวนการ PLC โรงเรียน พระธาตขุ ามแกน่ พิทยาลัย ๒.๖.๑ การออกแบบการเรียนร้ผู ่านกจิ กรรมการเรยี นด้วยเทคนคิ กลวธิ ี เชงิ รกุ อย่างหลากหลาย ๒.๖.๒ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้มีความหลากหลายตามสภาพความ ตอ้ งการ ความสนใจ และศกั ยภาพของผเู้ รยี น และเน้นผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล ๒.๖.๓ การจัดกจิ กรรมการเรียนร้ใู ห้ผเู้ รยี นลงมือปฏบิ ัติ เช่น กระบวนการกลมุ่ กระบวนการ Think Pair Share Gallery walk การจดั กิจกรรมเชิงรุก กจิ กรรมโครงงาน กิจกรรมชมุ นุม เปน็ ตน้ ๒.๖.๔ การกระตุน้ การเรียนรู้ของผู้เรยี นโดยการต้งั คำถามเน้นทักษะการคดิ วิเคราะห์ ๒.๖.๕ การจดั การเรียนการสอนโดยใช้สื่อและเทคโนโลยี ๒.๖.๖ การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการเชอื่ มโยงกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๒.๖.๗ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ใหข้ ้อมูลย้อนกลับและติดตามผล รวมท้งั การช่วยเหลอื นกั เรียน ๓) ขั้นตอนการดำเนนิ งานพัฒนา การออกแบบนวตั กรรมการบริหารสถานศึกษา โดยใช้รปู แบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน ด้วย PTP Model นนั้ เป็นรูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพรอบดา้ นที่มี ความสอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรียน จากแนวคิด ทฤษฎี และประสบการณ์ในการทำงาน ทำให้ได้นวัตรรม รูปแบบการ บริหารท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการพัฒนาของโรงเรียนพระธาตขุ ามแก่นพิทยาลยั โดยใช้กระบวนการวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ในการดำเนินงานและใช้ทฤษฎีระบบ (System Theory) เพ่ือให้การดำเนินการบริหารจัดการศึกษาบรรลุตาม เปา้ หมาย มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นท่ี ๑ สำรวจและวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการ เก่ียวกับการบริหารจัดการด้านต่างๆของ โรงเรียนโดยใชเ้ ทคนิค SWOT Analysis จากผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยเพอื่ กำหนดเป้าหมายในการพฒั นานวัตกรรม ขนั้ ท่ี ๒ ขั้นวางแผน (Plan) เป็นการออกแบบนวตั กรรม รูปแบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพ ผู้เรียน ด้วย PTP Model ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน จากผลการสรุปการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความ ต้องการในขัน้ ตอนท่ี ๑ โรงเรียนจะตอ้ งกำหนดเป้าหมายแนวทางอย่างชดั เจน กำหนดวิสัยทศั นใ์ หม้ องเหน็ ภาพความสำเร็จ ในอนาคต ข้นั ที่ ๓ ขน้ั ปฏิบัติตามแผน(DO) เปน็ การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจกบั บคุ ลากรทกุ ฝา่ ยเพ่ือนำนวัตกรรมรูปแบบการ บรหิ ารจัดการสถานศึกษาเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ไปใช้ดำเนินการบรหิ ารจัดการโรงเรยี น มกี ารกำหนด วิธีดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในอนาคต เน้นการพัฒนาศักยภาพครู ให้ดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียน ออกแบบการ จัดการเรียนรู้เชิงรุกด้วยกลวิธีที่หลากหลาย การร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำงานเป็นทีม เพ่ือสร้างคุณค่าให้กับโรงเรียน ผา่ นกระบวนการบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ ตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่มโี ครงการ/กิจกรรม ระบุขั้นตอนการดำเนิน แบบ P-D-C-A อยา่ งต่อเนอ่ื ง สอดคล้องกบั รูปแบบของนวัตกรรมการบรหิ ารงานที่กำหนดไว้ โดยมีกลยุทธ์ในการดำเนนิ งาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ดงั น้ี “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนึง่ โรงเรียน หนึง่ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๐ - ขน้ั ตอนท่ี ๑ ปัจจยั นำเขา้ (INPUT) ได้แก่ - เครือข่ายการจัดการเรียนรู้ (Learning Network) หมายถึง การสนับสนุนการจัดการเรียนรู้จาก เครอื ข่าย ด้านกระบวนการจดั การเรียนรู้ การสนับสนุนงบประมาณ วิทยากร แหล่งเรียนรู้ การจดั กิจกรรมโครงการส่งเสริม การเรียนรขู้ องผเู้ รียน เครือข่ายความรว่ มมอื ในการจดั การเรียนร้ขู องโรงเรยี น - นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ (Teaching Innovation) หมายถงึ รปู แบบ วธิ ีการ ในการจดั การเรียนรู้ สอ่ื เทคโนโลยี ท่คี รผู ูส้ อนไดอ้ อกแบบไว้ให้เหมาะสมกบั ผ้เู รียน เปน็ เครือ่ งมอื ในการพัฒนาคุณภาพทเ่ี หมาะสมกับผู้เรยี น ขน้ั ตอนที่ ๒ กระบวนการ (Process) - การขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การสร้างชุมชนแห่งการ เรียนรู้ในโรงเรียน ประกอบด้วย ๓ ข้ันตอน คือ Plan Do See ซึ่งเป็นกระบวนการร่วมพัฒนาของครูสู่การพัฒนา ผ้เู รยี น ขนั้ ตอนที่ ๓ ผลผลิต (Output) ความสำเรจ็ จากการบรหิ ารจัดการองคก์ าร เพ่ือพัฒนาครูและ นกั เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ผลท่ีได้คือ นวัตกรรม (Innovation) ครูมืออาชีพ (Professional Teacher) คณุ ภาพผ้เู รียน (Learner Quality) ขนั้ ตอนที่ ๔ ข้อเสนอแนะ/ปรบั ปรุง (Feedback) เปน็ ขน้ั ตอนสุดท้ายทจี่ ะรบั รูถ้ งึ ปญั หาจากการ ดำเนินงาน ขอ้ คิดเห็นต่างๆ ซึ่งจะเป็นขอ้ มลู สะทอ้ นกลับให้เห็นถึงจดุ เด่น จุดด้อย ของแผนงาน ขน้ั ตอนการปฎิบัตงิ าน การ ประสานงาน กระบวนการดำเนนิ การ เพ่ือหาแนวทางในการปรบั ปรงุ พัฒนาตอ่ ไป ขน้ั ท่ี ๔ ข้นั ตรวจสอบ(Check) เปน็ การประเมนิ ผลและตรวจสอบการบริหารโรงเรียนจากการใช้ นวตั กรรมรปู แบบการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ดว้ ย PTP Model ตามวตั ถปุ ระสงค์ ขน้ั ท่ี ๕ ข้นั ปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action) เป็นการสะท้อนผลการดำเนินงานตามสภาพจรงิ (Reflection) โรงเรียน คุณภาพต้องมกี ารพฒั นานวัตกรรม การบรหิ ารนวัตกรรมการจดั การศึกษาและคณุ ภาพของผเู้ รยี น ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ลอย่างต่อเน่อื งด้วยการนำผลจากการใช้รปู แบบนวัตกรรมมาวเิ คราะห์ สะทอ้ นผลการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ หากพบว่ามีปญั หา อุปสรรค จะตอ้ งหาวิธีการแกไ้ ข ปรับปรุง ข้ันตอน วธิ ีการในการดำเนนิ งาน เพื่อนำไปสู่การวางแผน ปฏบิ ตั อิ ีกครัง้ จนบรรลุเปา้ หมายที่กำหนดไว้ สามารถประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ ขยายผลการดำเนนิ งาน และพัฒนาระบบการ บรหิ ารจัดการสู่การมีคณุ ภาพท่ียัง่ ยืนต่อไป รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ดว้ ย PTP Model “รปู แบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ด้วย PTP Model ” “หน่ึงโรงเรียน หนึง่ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๑ - P- Participatory; การมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษาของ โรงเรยี น ได้แก่ ครู นักเรยี น ผู้บริหารสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน ต้นสังกัด และภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนสามารถบริหารจัด การศกึ ษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ T- Talented Team หมายถึง การสร้างทีมท่ีมีความรู้ ความสามารถ ด้วยกระบวนการพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยการศึกษาดูงาน การฝึกอบรม การประชุม แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เพ่อื ให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ P- Professional Learning Community ห มายถึง ก ารสร้างชุมชน แห่ งก ารเรียน รู้ใน โรงเรียน ประกอบดว้ ย ๓ ข้นั ตอน คือ Plan Do See ซึง่ เปน็ กระบวนการรว่ มพฒั นาของครูสกู่ ารพัฒนาผเู้ รยี น ๒) การพฒั นา (Development) สรา้ งต้นแบบนวตั กรรม จากการศึกษาคน้ คว้าหลกั วิชาการ แนวคดิ ทฤษฎี งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง ในการพัฒนารูปแบบผสมผสานแนวคดิ ของคณะทำงานแต่ละคน ได้สรา้ งรปู แบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น ด้วย PTP Model สภาพปญั หา ความต้องการพฒั นา บรบิ ท ของโรงเรยี นพระธาตขุ ามแก่นพทิ ยาลยั PLAN การวางแผนและออกแบบนวัตกรรม การดำเนนิ กิจกรรม DO • การพฒั นาครู กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ • ด้านการออกแบบการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ในโรงเรียน • ดา้ นการใช้ส่อื เทคโนโลยี • ดา้ นการวิจยั เพ่ือแกป้ ญั หา ผู้เรียน CHECK ประเมนิ ผล การดำเนนิ กจิ กรรมและใชน้ วัตกรรม ACTION ควรปรับปรงุ หรอื ไม่ ปรับปรุง พัฒนานวตั กรรมอย่างต่อเนอื่ ง “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนึ่งโรงเรยี น หน่งึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๒ - ๓) นำไปปฎิบตั ิจริง (Real Practice) รูปแบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ดว้ ย PTP Model ๓.๑ P- Participatory; การมีสว่ นร่วม หมายถงึ การมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษา ของโรงเรียน ได้แก่ ครู นักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่ายต่างๆ ท่ีให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนสามารถ บรหิ ารจดั การศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยดำเนินการ ดงั น้ี ด้านการกำหนดนโยบายการบริหารจดั การสถานศึกษา ๑) จัดระบบการประกันคณุ ภาพ และนำผลการประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โรงเรียน พระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ได้จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ จดั ทำแบบกำหนดมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษา กำหนดค่าเป้าหมาย ประกาศมาตรฐานการศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษา ออกคำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบตามมาตรฐาน จัดทำเคร่ืองมือประเมินคุณภาพตามมาตรฐานที่ สถานศึกษากำหนด และจัดสรุปรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ซ่ึงมีการจัดทำและดำเนินการตาม ระบบการประคุณภาพอย่างต่อเน่ืองและมีผลการดำเนินงานชัดเจนและนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา คณุ ภาพสถานศึกษาไดค้ รบถ้วนทกุ รายการตามมาตรฐานการประกันคณุ ภาพการศึกษา มกี ารจดั อบรมพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการประกนั คุณภาพการศกึ ษา การประชมุ คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่ือร่วมกันกำหนดมาตรฐานการศึกษา การประชมุ คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา รบั การตรวจเยยี่ มการดำเนินการระบบประกนั คณุ ภาพภายใน เพื่อร่วมกันจดั ทำรายงานการประเมินตนเอง สถานศึกษา จากหนว่ ยงานต้นสงั กดั ของสถานศกึ ษา (SAR) “รูปแบบการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนึง่ โรงเรยี น หน่ึงนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๓ - ๒) การกำหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายและแผนกลยทุ ธ์ โรงเรยี นพระธาตขุ ามแกน่ พทิ ยาลยั มกี าร กำหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ นโยบายและแผนกลยทุ ธ์ สำหรับสถานศึกษาทเี่ ป็นปัจจุบนั ซ่งึ มีความสอดคล้องและ เหมาะสมกับสภาพ บรบิ ทของสถานศึกษา และมีผลการดำเนนิ งานตามแผนกลยุทธ์ การประชมุ คณะกรรมการบริหารเพอ่ื รว่ มกันวางแผน การจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารคณะครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา การกำหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ นโยบายและแผนกลยทุ ธ์ เพ่อื ร่วมกนั จดั ทำแผนแผนพฒั นาการศึกษาและแผนปฏบิ ัติ งานประจำปี ๓ สร้างความสมั พนั ธแ์ ละการมีส่วนร่วมของครู บคุ ลากรในสถานศกึ ษา ผปู้ กครอง ชมุ ชนและสงั คม โรงเรียนพระธาตุขามแกน่ พทิ ยาลัย มกี ารกำหนดกิจกรรม เพอ่ื การสรา้ งความสัมพนั ธ์ทด่ี ีระหวา่ งผ้บู ริหารกับครู บคุ ลากรในสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม โดยการมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาสถานศึกษา การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน การประชมุ ผปู้ กครองนกั เรียน ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ครอบครัวสอนบญุ มา มอบทนุ การศกึ ษาใหน้ กั เรยี น สถานีตำรวจภูธรเมืองไหม เป็นวิทยากรอบรมนักเรียน จำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท เยาวชนไทย ใสใ่ จวินัยจราจร “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ด้วย PTP Model ” “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๔ - จดั คลนิ ิกฟตุ ซอลขัน้ พื้นฐาน โดยสโมสรฟุตซอลมหาวิทยาลัย นำคณะครู บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรยี น เขา้ รว่ มพิธี ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โครงการเปิดสอนคลนิ กิ ฟตุ ซอล บวงสรวงองคพ์ ระธาตุขามแก่น ในงานเทศกาลไหม ข้ันพนื้ ฐานประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ประเพณีผกู เส่ยี วและงานกาชาด จังหวัดขอนแก่นประจำปี๖๒ จัดกจิ กรรม ฝกึ อบรมพฒั นารูปแบบศนู ยเ์ รยี นรูก้ ารจัดการขยะเหลอื ศนู ย์ (Zero Waste) ภายใต้ “โครงการขอนแก่นน่าอยู่ มงุ่ ส่เู มอื งตน้ แบบเมอื งสิ่งแวดล้อมท่ีดี”โดยความร่วมมอื ของสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มจังหวัดขอนแก่น ผนู้ ำชุมชน จิตอาสาในท้องถิน่ ตำบลบ้านขาม “รปู แบบการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้วย PTP Model ” “หน่งึ โรงเรยี น หนง่ึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๕ - กจิ กรรมแนะแนวการศกึ ษาโรงเรยี นในเขตพนื้ ที่บริการ ๓.๒ T- Talented Team หมายถึง การสร้างทีมท่ีมีความรู้ ความสามารถ ด้วยกระบวนการพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยการศึกษาดูงาน การฝึกอบรม การ ประชมุ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เพ่อื ใหเ้ ป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธภิ าพ ดา้ นการบริหารจัดการเรียนรู้ ๑. บริหารการพัฒนาหลกั สูตร จดั ให้มกี ารวเิ คราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชว้ี ัด เพ่อื พัฒนา หลกั สตู รและการประยุกตใ์ ชห้ ลกั สตู รให้สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของสถานศกึ ษา มกี ารบูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม ตลอดจนการจดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้และมผี ลการนำไปจัดการเรียนรู้ ในสถานศึกษาไดจ้ รงิ ผบู้ รหิ ารและคณะครรู ว่ มกนั จัดทำหลักสตู ร หนว่ ยการเรยี นรู้ พัฒนาแผนการจัดการเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แผนบรู ณาการในวชิ าพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๒. บรหิ ารจัดการกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสรมิ สนับสนุนใหม้ ีการจดั หนว่ ยการเรียนรู้ การออกแบบการเรยี นรู้ และแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีสอดคล้องกัน และมแี ผนการจัดการเรียนรูท้ มี่ อี งคป์ ระกอบครบถ้วน ตามรปู แบบท่ีส่วน ราชการหรอื หน่วยงานการศึกษากำหนด เน้นกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบปฏิบตั ิ มีสอ่ื นวัตกรรมแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเหมาะสม กบั เนือ้ หาสาระ และกจิ กรรมการเรียนร้โู ดยนำไปปฏบิ ัติสอนจรงิ และมีบนั ทกึ หลังสอน “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ด้วย PTP Model ” “หน่ึงโรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๖ - การประชุมเชิงปฏิบัติการการจดั หน่วยการเรยี นรู้ การออกแบบการเรียนรแู้ ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามแนวทาง Active Learning บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการจดั หนว่ ยการเรยี นรู้ การออกแบบการเรียนรแู้ ละแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้เครือ่ งมอื สอนคดิ ตามแนวทาง Thinking School การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการเพือ่ พัฒนางานวจิ ยั ในชัน้ เรียน ณ โรงเรยี นพระธาตุขามแกน่ พทิ ยาลัย “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หน่งึ โรงเรียน หน่งึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๗ - ๓.๓ P- Professional Learning Community หมายถึง การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน ประกอบดว้ ย ๓ ขั้นตอน คอื Plan Do See ซง่ึ เปน็ กระบวนการร่วมพฒั นาของครูสู่การพฒั นาผู้เรยี น ๓.๓.๑ ด้านการบรหิ ารจัดการ ได้จดั ประชมุ คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เพือ่ สร้างความ ตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการพัฒนาผู้เรียนด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยความร่วมมือของหน่วยงานต้นสังกัด ส่งศึกษานิเทศก์ มาร่วมประชุมกับ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ถึงขอบขา่ ยการพัฒนา การวางระบบบริหารงานวชิ าการ ครอบคลุมปัจจัย ดงั นี้ - การวางแผนเวลาเรยี นและชัว่ โมงสอนของครู - กจิ กรรมซอ่ มเสริมสำหรบั ผ้เู รียนกลุ่มเปา้ หมาย - กจิ กรรมพฒั นาทักษะการคดิ คำนวณ - การปรับปรุงห้องเรียนและสภาพแวดล้อมให้เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ ๓.๓.๒ ด้านการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้และการศึกษาชั้นเรียน จัดให้มีการอบรมและพัฒนา ครผู ู้สอนและทีมพัฒนาแผน เพ่อื การออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยยึดแนวปฏิบัตสิ ู่ผลสัมฤทธ์ิ ข้ันสูง ผ่านแผนการจัดการเรียนรู้ จัดให้มีการศึกษาชั้นเรียนต่อเน่ือง ๕ สัปดาห์ มีการสรุปผลการพัฒนาสู่รายงาน การวจิ ัยในชั้นเรียนท่มี คี ุณภาพ การแลกเปล่ยี นเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการศกึ ษาช้นั เรียน ครรู ว่ มกันสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ในโรงเรียน ตามแนวทางของโครงการพัฒนาเครอื ข่ายโรงเรียนต้นแบบ เพือ่ ยกระดับคุณภาพงานวิชาการผ่านชุมชน แหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี ที่ได้รับทนุ สนบั สนนุ จากโครงการ Chevron Enjoy Science มูลนธิ คิ ีนนั แหง่ เอเชยี และ สำนักงานครุ ุสภา ตามโครงการ Thailand School Improvement Program (T-SIP) รว่ มนำเสนอแผนการดำเนินงานพฒั นาชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ เครอื ข่าย อบจ.ขอนแก่น ต่อท่ีประชุมคณะกรรมการพัฒนา เครอื ข่าย และรว่ มพิธีรับเงนิ อุดหนุน การพัฒนาชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา (PLC) โดยความ รว่ มมือของคุรสุ ภา และโครงการ Chevron Enjoy Science ณ หอประชุมคุรสุ ภา การประชุมวางแผนการออกแบบการเรยี นรู้ PLC Plan การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ด้วยกระบวนการ HIP และ Five practices และวางแผนกิจกรรมพัฒนาการอ่าน เขียน คิดคำนวณ “รปู แบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ด้วย PTP Model ” “หนึง่ โรงเรียน หน่งึ นวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๘ - กิจกรรมประชมุ วางแผนกอ่ นเปดิ ชนั้ เรยี น กิจกรรมศกึ ษาชน้ั เรียนหอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์ กิจกรรมศกึ ษาชน้ั เรยี นห้องเรียนภาษาไทย กิจกรรมศกึ ษาชั้นเรียนห้องเรยี นคณิตศาสตร์ “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น ด้วย PTP Model ” “หน่งึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๑๙ - หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ ผู้บริหาร ศกึ ษานเิ ทศก์ เข้ารว่ มศึกษาชน้ั เรียน (Study Visit) และ กจิ กรรมสะทอ้ นผล (PLC Reflect) อย่างส่ำเสมอ การเยีย่ มชมชัน้ เรียนและติดตามจากทางโครงการ การเยี่ยมชมชนั้ เรยี นและติดตามจากทางโครงการ “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ด้วย PTP Model ” “หนง่ึ โรงเรยี น หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๐ - กิจกรรมพฒั นาทกั ษะการอ่าน เขียน และคิดคำนวณ โดยทีมพ่บี ัณฑติ กจิ กรรม PLC Revise การสรุปและสะท้อนผล ๓ สปั ดาห์ กิจกรรม PLC Revise การสรปุ และสะท้อนผล ๕ สปั ดาห์ “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น ด้วย PTP Model ” “หน่ึงโรงเรยี น หนึ่งนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๑ - การเสวนา เรอ่ื งเลา่ จากวง PLC การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้เครือขา่ ยโรงเรียนตน้ แบบเพื่อยกระดับคณุ ภาพงานวชิ าการ ผ่าน ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Thailand School Improvement Program T-SIP) โรงเรยี นในสงั กัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด ขอนแก่น ณ ห้องประชุมสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวดั ขอนแก่น รบั การตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน พัฒนาชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี จากสำนกั งานคุรสุ ภา และการตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน ภายใต้ โปรแกรม T-SIP เครือข่าย องค์การบริหารส่วนจงั หวัดขอนแกน่ “รูปแบบการบริหารจดั การสถานศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ดว้ ย PTP Model ” “หนึ่งโรงเรยี น หนึง่ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๒ - ร่วมกิจกรรมประชมุ วิชาการเพอ่ื แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรปุ ผลแนวปฏิบัติท่ีดี จดั โดยสำนักงานคุรุสภา ๔) ผลงานทเ่ี กดิ ขึ้นจากการดำเนินงาน ๔.๑. การมีส่วนร่วมของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่าย ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ส่งผลให้โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาให้ เหมาะสมกับบริบทของตนเอง เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาให้นักเรียนและชุมชน ผลท่ีเกิดกับโรงเรียน โรงเรียน พระธาตุขามแก่นพิทยาลัย พัฒนาคุณภาพองค์กรให้เปน็ ท่ยี อมรับและได้รบั ความร่วมมือสนับสนุนจากชุมชน มีการ ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน หน่วยงานต้นสังกัด ชุมชน ภาคีเครือข่าย ซ่ึงได้สนับสนุนงบประมาณ ทุนการศึกษา การสร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน การสนับสนุน วิทยากร เครือข่ายทางวิชาชพี ใหก้ ับโรงเรยี น เชน่ ๔.๑.๑ เป็น “โรงเรียนต้นแบบเพ่ือยกระดับงานวิชาการผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ในโครงการการพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่น ซึ่งเป็นการสนบั สนุนความร่วมมอื ระหวา่ ง สำนกั งานครุ ุสภา และ โครงการ Chevron Enjoy Science ๔.๑.๒ การได้รับทุนการศึกษา และทุนสนับสนุนจากคุณวิภารัตน์ สอนบุญมา ในการปรับปรุง ห้องเรยี นเป็นศูนย์การเรียนรู้ เพื่อใหเ้ ปน็ ห้องฝึกปฏิบัตกิ ารดา้ นการทำอาหารและเคร่ืองด่มื ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๔.๑.๓ โรงเรียนได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาสำหรับนักเรียน จากบ้านเด็กและครอบครัว จงั หวดั ขอนแกน่ และหลายองค์กร ๔.๑.๔ เป็นโรงเรียนในโครงการ KKU Smart Learning ขององค์การบริหารสว่ นจงั หวัดขอนแก่น ๔.๑.๕ เปน็ โรงเรียนในโครงการ Zero Waste ของจงั หวดั ขอนแก่น สนบั สนุนวทิ ยากร งบประมาณ วสั ดุ อปุ กรณ์ จาก สำนักงานส่งิ แวดล้อมภาคท่ี ๑๐ ขอนแกน่ ๔.๒ ดา้ นคุณภาพผบู้ รหิ าร ผบู้ ริหารไดพ้ ฒั นาตนเองตามมาตรฐานวชิ าชีพ นำความรู้ กลยทุ ธใ์ น การบริหารจัดการสถานศึกษามาวางแผนในการบริหารจัดการเพื่อประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ชุมชน ภาคีเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัด มีความ เช่ือม่ันในการดำเนินงานของโรงเรียน ให้การสนับสนุนและร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษาครูและ บคุ ลากร เปิดใจ ยอมรบั การเปล่ียนแปลง มีความมุง่ มั่น ตั้งใจในการทำงานและพัฒนาตนเองส่งผลดีต่อการพัฒนา ผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ภาพ ตามที่สถานศึกษากำหนด ได้รับรางวัลจากการดำเนนิ งานในปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ เชน่ “รปู แบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนง่ึ โรงเรียน หนึง่ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๓ - รางวลั สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ พระพุทธศาสนา รางวลั ผบู้ รหิ ารดเี ด่น ครดู ศี รนี ้าพอง รางวลั ผสู้ นบั สนุนการจดั กจิ กรรม พระพทุ ธศาสนา รางวลั นกั วจิ ยั การบรหิ ารสถานศกึ ษาดเี ดน่ รบั โลร่ างวลั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาทม่ี ผี ลงานพฒั นาสถานศกึ ษาดเี ด่น ๓. ด้านคุณภาพครู ครูโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย มุ่งมั่นต้ังใจในการทำงาน ยอมรับการ เปล่ียนแปลง พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ครูทุกคนมี นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ จัดทำแผนแผนการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย 1 รายวชิ า/ภาคเรยี น สามารถออกแบบการ เรียนรู้แบบบูรณาการ ด้วยการใช้รูปแบบ เทคนิค กลวธิ ี การสอนท่ีหลากหลาย เช่น แผนการจดั การเรียนรู้ Active Learning ตามแนวทาง Thinking School การบูรณการการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การ ออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการ High Impact Practice การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ด้วย กระบวนการ Five Practices ท่ีสอดคล้องบริบทของผู้เรียนและธรรมชาติวิชา การสร้างและเลือกใช้สื่อและ นวัตกรรมที่สอดคล้องกับบทเรียน ดำเนินการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน คนละ ๑ เรื่อง / ปี นำเสนอ ผลงานวิจัยในช้ันเรียนในงานเบิ่งแงงนักวิจัย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ และเกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียน ครูได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลจากผลการปฏิบัติงาน และได้เลื่อนวิทยฐานะที่สูงข้ึนในระดับชำนาญการพิเศษ และ เช่ยี วชาญ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ – ๒๖๖๓ มีครทู พี่ ัฒนาผลงานอย่างตอ่ เน่ือง ไดเ้ ลือ่ นวิทยฐานะ ดงั น้ี ๑. นางพรเพญ็ สมบัตมิ าก (Model Teacher วิชาวทิ ยาศาสตร์) ไดเ้ ลื่อนวทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ ๒. นางปารีณา ศริ ิพลู (Model Teacher วิชาภาษาไทย) ไดเ้ ล่อื นวทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ๓. นายอดศิ กั ด์ิ โคตรชุม(Model Teacher วิชาการงานอาชีพ) ผลการประเมนิ เล่ือนวทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ (อย่ใู นระหว่างปรับปรงุ ผลงาน) “รปู แบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ด้วย PTP Model ” “หน่งึ โรงเรียน หน่งึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๔ - ๔.นางวรรณทิภา ธรรมโชติ Model Teacher วิชาสังคมศกึ ษาฯ) ผลการประเมนิ เลอื่ นวิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ (อยูใ่ นระหวา่ งปรับปรุงผลงาน) ๕. นางอัญชลุ กี ร ขนั ตวิ รี วัฒน์ (Model Teacher วิชานาฏศิลป์) ผลการประเมิน เลื่อนวิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ (อยู่ในระหวา่ งปรบั ปรุงผลงาน) ๖.นางณทั ชดุ า บุตมิ ลุ ตรี (Model Teacher วชิ าภาษาอังกฤษ) ได้เลื่อนวิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ ๗. นางสาวอจั ฉราภรณ์ ต้นกันยา (Model Teacher วิชาวทิ ยาศาสตร์) ผลการประเมนิ เลื่อนวิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ (อยใู่ นระหวา่ งปรับปรงุ ผลงาน) สง่ เสรมิ สนับสนุนครูใหไ้ ดเ้ ล่อื นวทิ ยฐานะทสี่ ูงขน้ึ สง่ เสรมิ สนับสนุนครูและบุคลากรใหไ้ ดร้ บั รางวลั ทางวชิ าชพี นางพรรณี เถาวท์ ิพย์ และนางพรเพญ็ สมบตั มิ าก ได้รับรางวลั นักวจิ ยั ผอู้ ธบิ ายปรากฏการณ์ในชั้นเรียน “รปู แบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หน่งึ โรงเรียน หนงึ่ นวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๕ - ด้านครผู ้สู อนดเี ด่น ๔. ด้านคุณภาพผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน คุณลักษณะ และเจตคติท่ีดีต่องานและอาชีพ สามารถเชอ่ื มโยงองค์ความรู้และประสบการณ์จากการเรียนรู้ในห้องเรียนมาใช้ในการสร้างสิ่งใหม่ๆ ดว้ ยการลงมือ ปฏบิ ตั ิ ตามความถนดั และความสนใจ เชน่ การเปน็ นกั กีฬา นกั กรีฑา ทมี่ ีผลงานระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ รางวลั การ ผลิตช้ินงานผ่านกิจกรรมโครงงาน การสร้างผลิตภัณฑ์จากการเรียนรู้ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมการแสดงดนตรี พ้ืนบ้านโปงลางและนาฏศิลป์ ซ่ึงเป็นพื้นฐานในการพัฒนาสู่อาชีพและการทำงานต่อไปในอนาคต รายละเอียด ดังกราฟสรุปผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และ QR codeภาคผนวกน้ี จากการพฒั นานวตั กรรม PTP Model มาใชใ้ นการบริหารจดั การศึกษาในโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยา ลยั ส่งผลต่อคุณภาพองคร์ วมของสถานศึกษาอยา่ งเป็นรูปธรรม ครูได้พัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพ ส่งผลให้ ผเู้ รยี นได้รบั โอกาสในการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันและเตม็ ศกั ยภาพ ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะทด่ี ี มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน ทักษะชีวิต สามารถเช่ือมโยงทักษะจากการเรียนรู้ในห้องเรียน สู่การลงมือปฏิบัติเพื่อการประกอบอาชีพต่อไปใน อนาคต โรงเรียนได้รับความเชื่อมั่น ยอมรับจากนักเรียน ผู้ปกครอง บุคคลในชุมชน โรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีบริการส่ง นักเรยี นมาเข้าเรียนเพิ่มขึ้น ชมุ ชนเกดิ ความเชอ่ื ม่ันและให้การสนับสนุนการจดั การศึกษาของโรงเรยี น ครอบครัวสอนบญุ มา มอบศูนยก์ ารเรียนรู้ เพือ่ ใช้ในการฝึกเรยี นการทำอาหาร “รูปแบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดว้ ย PTP Model ” “หนึง่ โรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๖ - ๕) สรุปสง่ิ ทเี่ รยี นรู้และการปรบั ปรุงให้ดขี ึน้ ๕.๑ ข้อคิด ประสบการณ์ องคค์ วามรทู้ ไี่ ดจ้ ากการพัฒนา ๑) การวเิ คราะห์สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา บรบิ ท โดยการมีส่วนร่วมกนั ทุกฝ่าย เป็นส่ิงสำคัญ ในการนำมาวางแผนออกแบบนวตั กรรมเพื่อพฒั นาระบบบริหารสถานศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ในการประสานความรว่ มมือ สง่ ผลดีตอ่ คณุ ภาพของสถานศึกษา เม่ือผู้ปกครอง ชมุ ชนเกิดความเชื่อม่ันและไวว้ างใจในการ บรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาแลว้ จะไดร้ ับความชว่ ยเหลอื ร่วมมือในหลายๆด้าน และเกดิ เครอื ข่ายในการร่วมพัฒนาอกี ดว้ ย ๒) ผู้บริหาร เป็นส่วนสำคัญส่วนหน่ึงในการขับเคลื่อน การบริหารจัดการให้สถานศกึ ษามคี ุณภาพ ทักษะในการสื่อสาร การประชาสัมพันธ์องค์กร ช่วยประสานความเข้าใจอันดีระหว่างสถานศึกษากับ ผู้ปกครอง ชุมชน และภาคีเครือข่าย ทักษะในการเสริมแรง และการส่ือสารในองค์กรช่วยสร้างบรรยากาศท่ีดีในการทำงาน ครแู ละบุคลากรปรบั ทัศนคติทีม่ ีต่องาน ยอมรับการเปลีย่ นแปลงวธิ ีใหม่ๆ มีความพร้อมในการทำงานมากขึ้น ๓) การส่งเสรมิ ให้มีการพฒั นาชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี สำหรบั ครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สำหรับโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ซ่ึงเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีบุคลากรจำกัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดให้มีการศึกษาชั้นเรียนอย่างเป็นทางการ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกำหนดให้ครูตา่ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้เข้าร่วมศึกษาชนั้ เรยี น การศกึ ษาชั้นเรียนครอบคลุมครผู ู้สอนทุกคน เปิด ห้องเรียน ๓ และ ๕ สัปดาห์ ต่อเน่ือง มีหัวหน้าฝ่ายวิชาการเป็นผู้นำการศึกษาชั้นเรียนทุกห้อง เปิดโอกาสให้ครู ทกุ คนไดม้ ีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ันในคาบ PLC ของโรงเรยี น จำนวน ๑ คาบ/สัปดาห์ โดยมีผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา เป็นส่วนหน่งึ ในการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และร่วมศึกษาช้นั เรียนอย่างต่อเน่ือง ส่วนสำคัญท่ีทำให้การพัฒนาชมุ ชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพผ่านกระบวนการศึกษาชั้นเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การจัดตารางเวลาให้ครูมี โอกาสพบกันอย่างเป็นทางการและจัดกิจกรรมเสริมตามความเหมาะสม และในปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีการเปิด ชัน้ เรียนครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การดำเนินกระบวนการ PLC ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรยี นรายบคุ คล และช่วยให้ ครไู ดแ้ ลกเปล่ยี นรู้ เขา้ ถึงศกั ยภาพและพฒั นาการของผ้เู รยี น ๔) ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ เกิดจากการวิเคราะห์ผู้เรียน ออกแบบการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรมที่ เหมาะสมกับผู้เรยี น เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน คุณลักษณะ มีเจตคติที่ดีต่องานและอาชีพ เห็นได้จากนักเรียน ประยกุ ต์ใช้ความรูจ้ ากหอ้ งเรียนปกตใิ นกิจกรรมชุมนมุ (ดังภาคผนวกตาม QR codeประกอบนวัตกรรม ด้านผู้เรียน) และครเู ขา้ ใจความแตกต่างระหว่างผเู้ รยี นรายบคุ คล และใช้เปน็ เป้าหมายในการพัฒนารว่ มกัน และสรา้ งเครอื ขา่ ยในการจดั การเรียนรสู้ กู่ ารพัฒนาผูเ้ รยี นอย่างตอ่ เนอ่ื ง คุณภาพผู้เรยี น Participatory Professional Teaching Administator and Teacher Innovation PLC Sustainable Network ๖) การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพฒั นา ๖.๑ การเผยแพรท่ าง Website : www.ptps.ac.th Facebook : รร.พระธาตุ ขามแกน่ พทิ ยาลัย และวารสารของโรงเรยี น ๖.๒ การเปน็ สถานทศี่ ึกษาดงู านดา้ นการพัฒนาชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ(PLC) ให้กับโรงเรยี น “รปู แบบการบริหารจดั การสถานศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ดว้ ย PTP Model ” “หนึง่ โรงเรียน หน่งึ นวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๗ - และเครอื ขา่ ยวิชาชพี อ่นื เข้ารว่ มศึกษาช้ันเรียน ๖.๓ การนำเสนอผลงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี นงาน”เบง่ิ แงงนกั วิจยั ” จัดโดยองค์การบริหารส่วนจงั หวดั ขอนแกน่ ๖.๔ การนำเสนอผลงานของเครอื ข่าย โครงการประชุมสมั มนาทางวชิ าการ เรื่อง การแลกเปล่ียน เรียนรู้แนวปฏบิ ัติท่ีดีของการพัฒนาครดู ว้ ยกระบวนการแบบชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ในระหว่างวนั ที่ ๑๘-๑๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมวีว่า อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จัดโดยเทศบาลนครสงขลา ร่วมกับมหาวิทยาลัยทักษิณ และ สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ๖. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง ๖.๑ การประสานความรว่ มมอื ในการบริหารจดั การสถานศึกษา สำหรบั โรงเรียนขนาดเลก็ มีความสำคญั ตอ่ การ พฒั นาโรงเรยี น เพื่อสรา้ งความร่วมมอื และรบั การสนบั สนนุ ในทุกดา้ น และสร้างเครอื ข่ายในการจัดการเรียนรู้อยา่ ง หลากหลายและย่งั ยืน ๖.๒ เนือ่ งจากเป็นโรงเรยี นขนาดเลก็ มจี ำนวนครูแตล่ ะสาขาวชิ านอ้ ย จงึ ตอ้ งจัดครูเขา้ ร่วมศกึ ษาชั้นเรียนต่างกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ในบางคร้ังไมส่ ามารถสะท้อนผลในเน้ือหาเชงิ ลึกได้ จึงวางแผนในการนำคุณครูผ้รู ่วมพัฒนาไปศึกษาชั้นเรยี นใน โรงเรียนเครอื ข่าย ทเี่ ป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ เพ่ือพัฒนาความลุม่ ลึกของกระบวนการ PLC ต่อไป ๖.๓ ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทสำคัญในการวางระบบและกำหนดตารางเวลาอย่างเป็นทางการเพ่ือการ พัฒนาผู้เรียนรายบุคคล โดยเฉพาะผู้เรียนกลุ่มอ่อนที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะด้วยกิจกรรมเฉพาะและมี เวลาตอ่ เนือ่ ง ๖.๔ การขับเคลื่อนและพัฒนากระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา จะเป็นผลในทาง ปฏิบัติและมีความต่อเนื่อง หากการรวมกลุ่มพัฒนาเกิดจากความต้องการของครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มี เปา้ หมายเพือ่ การเรียนร้ขู องผ้เู รียน ๗. จดุ เดน่ หรือลักษณะพิเศษของผลงานนวตั กรรม ๗.๑ เป็นรูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กที่มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดับท้องถิ่น จนถึง ระดับประเทศ ในการพฒั นาการบริหารจัดการสถานศึกษา ๗.๒ เป็นการนำกระบวนการ PLC มาใช้ขบั เคล่ือนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน ในโรงเรียนขนาด เล็ก ผู้บริหารและหัวหน้าฝา่ ยวิชาการเปน็ ผนู้ ำในการขบั เคล่ือนกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชพี และครู ผ้รู ่วมพัฒนาเปน็ ครูตา่ งกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ในการร่วมศึกษาช้นั เรียน ๗.๓ เป็นการพัฒนาผู้เรียนรายบุคคล ด้วยกระบวนการกลุ่ม ส่งเสริมให้ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ใส่ใจ พฤติกรรมการเรียนรู้ หาแนวทางสนับสนุนให้ผู้เรยี นได้เรียนรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ผ่านกระบวนการชมุ ชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ อย่างเป็นระบบ ส่งผลต่อผู้เรียน ที่เห็นเด่นชัดในด้านการฝึกทักษะสู่ความเป็นเลิศ ด้านดนตรี ด้านกฬี าระดับประเทศและนานาชาติ “รูปแบบการบริหารจดั การสถานศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผู้เรียน ดว้ ย PTP Model ” “หนง่ึ โรงเรยี น หนง่ึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๘ - ความเป็นเลศิ ด้านดนตรี และนาฏศิลป์ นกั ดนตรพี นื้ เมืองโปงลาง รร.พระธาตุขามแกน่ พิทยาลยั ร่วมแสดงการต้อนรับเจา้ คุณพระสนิ นี าฏ พิลาสกลั ยาณี ณ วดั เจตยิ ภมู ิ จังหวัดขอนแก่น ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ ความเป็ นเลิศด้านกีฬา เด็กหญงิ เชาวลักษณ์ นาเจิมพลอย นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เปน็ นักเรียนในโครงการพัฒนากีฬาจงั หวัด ขอนแก่น ร่วมกับการกฬี าแห่งประเทศ ไทย ไดร้ บั เงินเดือนจากสมาคมกีฬา จังหวดั ขอนแก่น เดือนละ ๓,๐๐๐ บาท “รปู แบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ดว้ ย PTP Model ” “หนึ่งโรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔

- ๒๙ - ๘. บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๔๕).พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๓(ฉบับที่๒) และท่ีแกไ้ ข เพ่ิมเตมิ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๕. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทสยามสปอรต์ ซินดเิ ค จำกัด. กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๓).พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับที่๓). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั สยามสปอร์ต ซินดิเค จำกัด. โกศล ดีศีลธรรม.(๒๕๔๗). Total Quality Management. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์บริษัท ซัม ซสิ เท็ม. จิรายุทธ อ่อนศรี, (๒๕๖๑). บทความ Active Learning สู่การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑. http://www.nwm.ac.th/nwm/wp-content/uploads/๒๐๑๘/๐๓/ACTIVE-LEARNING. สืบค้น เม่ือวันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๖๔. เฉลิม ฟักออ่ น.(๒๕๕๒). การออกแบบการจัดการเรียนรูอ้ ิงมาตรฐาน โดยเทคนิค Backward Design. กรงุ เทพฯ: สำนักพมิ พ์ประสานมติ ร. ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ.(๒๕๕๓). เทคโนโลยที างการศกึ ษา.ทฤษฎีและการวิจยั .กรงุ เทพฯ;โอเดียนสโตร์. วิจารณ์ พานิช. (๒๕๔๙). KM วันละคำจากนกั ปฏบิ ตั ิ KM สู่นักปฏบิ ัติ KM. พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: สุขภาพใจ. วิจารณ์ พานชิ .(๒๕๕๕). วถิ ีสรา้ งการเรยี นรู้เพื่อศษิ ย์ในศตวรรษท่ี ๒๑. กรุงเทพฯ : มูลนธิ ิสดศรี-สฤษด์ิวงศ์. อุทยั บญุ ประเสรฐิ .(๒๕๔๖). การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน.กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย Britton, T.(๒๐๑๐). STEM Teachers in Professional Learning Communities: A Knowledge Synthesis. Washington, DC : National Commission on teaching and America’s Future. Cruickshank, D. R., Jenkis, D. B., & Metcalf, K.K. (๒๐๑๑). The Act of Teaching (๖th ed.). New York: McGraw-Hill. Hord, S. (๑๙๙๗). Professional Learning communities: Communities of Continuous Inquiry and Improvement. Austin, TX: Southwest Educational Development Laboratory. McREL.(๒๐๐๓). Sustaining School Improvement: Professional Learning Community. CO: Min- Continent Research for Education and Learning. ภาคผนวก QR Code ภาคผนวกประกอบผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อ พฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน ดว้ ย PTP Model ” (สามารถเข้าถึงได้ดว้ ยโปรแกรมไลน์ LINE) “รูปแบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ดว้ ย PTP Model ” “หน่งึ โรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๔