Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือจักรยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Motorcycle) (Demo)

หนังสือจักรยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Motorcycle) (Demo)

Published by Pongpipat Khumhom, 2020-04-10 10:51:47

Description: ตัวอย่างหนังสือเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า ภายในจะอธิบายเกี่ยวกับหลักการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า ระบบแบตเตอรี่ และระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการทำงานภายในรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า โดยหนังสทอข้างต้นเป็นเพียงต้นแบบนการจัดทำ

Keywords: รถไฟฟ้าม,รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า,EV

Search

Read the Text Version

บทที่ 5 ระบบจัดการแบตเตอรี่ | 47 และหากแรงดนั ไฟฟ้าในการชารจ์ สงู สดุ เกนิ ท่แี นะนาแม้เพยี งเล็กน้อยถงึ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ก็จะทาใหอ้ ตั รา การเส่อื มเพมิ่ ขน้ึ 30 เปอร์เซน็ ต์ ในด้านการคายประจุเซลล์ทีด่ อ้ ยกว่ามกั จะมแี รงดนั ไฟฟ้าต่ากว่าเซลล์อื่นๆ เน่ืองจากความ ต้านทานภายในทีส่ งู ขึน้ หรอื อตั ราการคายประจทุ ีเ่ รว็ ขึน้ ซึ่งเป็นผลมาจากความจทุ ีต่ ่ากว่า ซึ่ง หมายความว่าหากเซลลท์ ่ีดอ้ ยใดๆ กระทบเซลล์ภายใต้ขดี จากดั การป้องกนั แรงดนั ไฟฟ้าในขณะท่ี แรงดนั ไฟฟ้าของแบตเตอรี่แพค็ ยงั เพยี งพอทีจ่ ะจ่ายไฟใหก้ บั ระบบแบตเตอรีจ่ ะไมใ่ ช่ความจุเตม็ เน่ืองจากตวั ป้องกนั แพค็ จะป้องกนั การคายประจุมากเกนิ ไป (ซึง่ จะทาให้เกดิ ความเสยี หายต่อเซลล)์ โดยการหยดุ การคายประจุของทงั้ แบตเตอร่แี พค็ เม่อื แรงดนั ไฟฟ้าของเซลล์หนึ่งไปต่ากวา่ เซลล์ภายใต้ เกณฑ์แรงดนั ไฟฟ้า (โดยปกติจะอยู่ท่ปี ระมาณ 2.7 V) ลกั ษณะของตวั ปรบั สมดลุ เซลล์ (Balancer) ซง่ึ มหี น้าทห่ี ลกั คอื รกั ษาสมดุลยใ์ นแต่ละ Cell เพ่อื ยดื อายุการใชง้ านเน่อื งจากเม่อื นาแต่ละ Cell มาต่อกนั จะพบปัญหาว่าแต่ละ Cell นัน้ มคี ่าการประจุ และคายประจุไมเ่ ทา่ กนั โดย Balancer แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคอื แบบท่ี 1 Passive Balancer ห ลัก ก า ร ท า ง า น Balancer ชนิดน้ีจะนาแรงดันส่วนเกินไปจ่ายกระแสท้ิงท่ี Resister (R1-R4) ตัวอย่างตามรูปน้ีประกอบด้วย HY2212 (AB3A) ทาหน้าท่ีตรวจจบั แรงดนั ส่วนเกินส่งไปท่ีขา 6 ให้ Gate ข อ ง Mosfet (N-Channel) เบอ ร์ A2SHB, Si2302DS (Q1-Q4) เพ่อื ทาการเดรนไปท่ี Resister โดย Balancer ชนิด น้ีนิยมใชใ้ นบ้านเรา มหี ลายรุ่นใหเ้ ลอื กตามกระแส Balance เช่น 56mA ,500mA หรอื 1500mA เหมาะกบั งานขนาดเลก็ ท่ี ต้องการต้นทุนต่า ข้อดีคือราคาถูก หาซ้ือง่าย ข้อเสียเกิด ความร้อนสูง , ประสิทธิภาพต่าเน่ืองจากพลังงานส่วนเกิน สญู เสยี ไปในรูปของความรอ้ น ส่งผลใช้เวลาในการชารจ์ นาน กวา่ แ บ บ ที่ 2 Active Balancer ห ลั ก ก า ร ท า ง า น Balancer ชนิดน้ีจะนาแรงดนั ส่วนเกินไปชาร์จท่ี Cell อ่ืนท่มี ี แ ร ง ดัน ต่ า ก ว่ า โ ด ย ใ ช้ IC ส า เ ร็จ รู ป ซ่ึง มีห ล า ย เ บอ ร์ เช่น LTC3300 ISL94202 ซ่งึ ทาหน้าท่ตี รวจสอบแรงดนั แต่ ละ Cell ให้ต่างกันไม่เกิน 1.2mV และจะนาแรงดนั ส่วนเกิน ส่งไปชารจ์ ท่ี Cell อ่นื ทม่ี แี รงดนั ต่ากว่า ทาการเหมาะกบั งานท่ี รปู ท่ี 5.4 Passive Balancer (ดา้ นบน) ตอ้ งการประสทิ ธภิ าพสงู โดย Board บางรุ่นสามารถนามาตอ่ และ Active Balancer (ดา้ นลา่ ง) อนุกรมกนั เพอ่ื เพม่ิ จานวนอนุกรม Cell ได้

บทท่ี 5 ระบบจดั การแบตเตอรี่ | 48 การทางานของ Passive และ Active Balance Passive และ Active Balance เป็นส่วนหนึ่งของชุดแบตเตอรีแ่ พค็ เป็นสว่ นทบ่ี อกสุขภาพ สถานะการชาร์จ (SoC) ทจ่ี ะทาอายุของแบตเตอรม่ี อี ายกุ ารใชง้ านทย่ี าวนานขน้ึ และป้องกนั ความเสยี า หายทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ จากการคายประจุมากเกนิ จากการรอเซลล์อ่ืนเตม็ ซึ่ง Passive Balancer จะทาการ คายประจุส่วนเกนิ ไวท้ ตี่ วั ตา้ นทาน ซึง่ มนั ไม่ควรทา เนื่องจากทาใหเ้ กดิ ความรอ้ นสะสมสงู จงึ มกี าร สรา้ ง Active Balancer เพ่อื กระจายแรงดนั ความจุใหแ้ ต่ละเซลล์มคี วามจุทเ่ี ทา่ กนั ทงั้ ในขณะอดั ประจุ และคายประจุ ไม่ปล่อยทง้ิ ท่ตี วั ตา้ นทานเหมอื นกบั Passive Balance ทาใหล้ ดเวลาในการชารจ์ ลง และ ลดความร้อนทเ่ี กิดจากการคายให้ตวั ต้านทาน การ Active Cell Balancing ระหว่างการคายประจุ ในรูปที่ 3.5 แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ชุด แบตเตอรแี่ พค็ ทมี่ คี วามจุแสดงท่ี 90% ของการชารจ์ เพราะว่าการอดั ประจุความจุ 100% เมอื ใชไ้ ปใน ระยะยาวจะทาให้ แบตเตอร่มี อี ายุการใช้งานนอ้ ยลง และการคายประจุท่ี 30% จะทาใหป้ ้องกนั การคาย ประจุมากเกนิ ขอบเขตของเซลล์อ่นื ๆ รปู ที่ 5.5 ชดุ แบตเตอรแ่ี พค็ แสดงระดบั ความจใุ นการอดั ประจุ และการคายประจุ เมื่อทาการใช้งานไป บางเซลล์แบตเตอรอี่ ่อนลง กว่าเซลล์อื่นๆ ผลมาจากลกั ษณะการคาย ประจุ แสดงในรูปท่ี 3.6 แมว้ ่าจะมคี วามจุของเซลล์แบตเตอร่กี อ้ นอ่นื เหลอื อยู่ เซลล์แบตเตอรท่ี ่ีพลงั งาน อ่อนลงต่างจากทเ่ี ซลล์อน่ื 5% ของความจุ จะทาให้ชุดแบตเตอรแ่ี พค็ ไมส่ ามารถใช้งานได้ ซ่งึ เป็นผลทา ให้จานวนวฎั จกั รการอดั ประจุและคายประจุมจี านวนเพมิ่ ขน้ึ อายุการใช้งานแบตเตอร่นี ้อยลง และจะทา ใหต้ อ้ งลงทุนเพง่ิ สงู ขน้ึ ในการซ้อื แบตใหม่มาแทนท่ี รปู ที่ 5.6 ระดบั การคายประจขุ องเซลล์แบตเตอรท่ี ม่ี คี วามต่างกนั ทไ่ี มส่ ามารถใชง้ านได้

บทท่ี 5 ระบบจดั การแบตเตอรี่ | 49 การทา Active Balancing การอดั ประจุของระบบจะทาใหเ้ ซลล์แบตเตอรี่ที่มีพลงั งานมากกว่า ส่ง กระจายไปใหแ้ บตเตอร่ที ม่ี พี ลงั งานนอ้ ยกว่าจนชุดแบตเตอร่แี พค็ ไม่เหลอื พลงั งาน ดงั แสดงในรูปท่ี 3.7 รปู ท่ี 5.7 ระดบั การคายประจขุ องแตล่ ะเซลลจ์ นหมด การ Active Cell Balancing ระหว่างการอดั ประจุ ขณะทาการอดั ประจุชุดแบตเตอรแ่ี พค็ จะ ปราศจากการสมดุลเซลล์ เซลลท์ มี่ พี ลงั งานน้อยจะมกี ารอดั ประจุจนเตม็ ก่อนเซลลแ์ บตเตอร่อี ่นื ๆ ทา ให้เซลล์อ่นื ถูกจากดั ปรมิ าณการอดั ประจุ ดงั แสดงในรูปท่ี 3.8 ซึ่ง Active balancing จะทาการกระจาย การอดั ประจรุ ะหวา่ งวฏั จกั รการชารจ์ จนเต็มความจุพลงั งาน โดยไมไ่ ดน้ าปัจจยั ของเปอรเ์ ซน็ ต์การใช้ เวลาในการทาการอดั ประจุ ผลกระทบของกระท่ีทาการสมดุลกบั เวลา ซึ่งไม่ไดน้ ามาพจิ ารณา แต่มนั มี ความสาคญั ในการวเิ คราะห์ต่อไป รปู ท่ี 5.8 ระดบั การอดั ประจขุ องแต่ละเซลล์จนเตม็ ระหว่าง Active และ Passive Balancing วธิ กี ารพฒั นาระบบตรวจสอบสถานะ SoC ของแต่ละ เซลล์ ซึ่ง Active Balancing จะกระจายการอดั ประจุระหวา่ งวฏั จกั รการชารจ์ และการคายประจุ ไม่ เหมอื นกบั Passive Balancing ซึง่ จะคายประจุทิ้งใหต้ วั ต้านทานระหว่างการวฏั จกั รการชารจ์ ซึ่ง Active Balancing จะทาใหช้ ุดแบตเตอรี่แพค็ มอี ายุการใชง้ านทมี่ ากกว่า และมปี ระสทิ ธภิ าพในการ ชาร์จสงู กว่า มคี วามซบั ซอ้ นมากกว่า แต่ใชเ้ งนิ ลงทุนท่ีสงู กว่า แบบ Passive Balancing โดยรูปแบบ การทางานแสดงในไดอะแกรมการทางานของ Balancing แสดงดงั รูปที่ 3.8 เหมือนกับBattery Management System (BMS) ท่ีเพียงเพิ่มส่วนของการป้องกัน Overload และหรือมี temperature Sensor, ต่อเช่อื มกบั มอื ถอื หรอื คอมพวิ เตอรเ์ พ่อื แสดงคา่ ตา่ งๆมาดว้ ย

บทท่ี 5 ระบบจดั การแบตเตอร่ี | 50 รปู ท่ี 5.9 ไดอะแกรมการทางานของ Balancer Battery Management System (BMS) ทาหนา้ ทเ่ี หมอื น Balancer และเพมิ่ ส่วนของการป้องกนั Overload และหรอื มี Temperature Sensor, ต่อเช่อื มกบั มอื ถอื หรอื คอมพวิ เตอร์เพ่อื แสดงค่าต่างๆ ใน Smart BMS มาดว้ ย 5.3 การเลอื กใช้ระบบจดั การแบตเตอร่ี (Battery Management System, BMS) การเลือกใช้ระบบจัดการแบตเตอร่ีของจกั รยานยนต์ไฟฟ้า จะต้องทาความเข้าใจเก่ียวกบั หลกั การพ้นื ฐานในบทท่ี 1 เก่ยี วกบั กฎทางไฟฟ้า และคุณสมบตั ขิ องอปุ กรณ์ท่ใี ชม้ อเตอร์ตน้ กาลงั ว่ามี แรงดนั กระแส และกาลังไฟ ท่ีต้องใช้เท่าไร เพ่ือมาคานวนหาขนาดท่เี หมาะสมของระบบจดั การ แบตเตอรว่ี ่าจาเป็นตอ้ งใชส้ ายไฟใจการตรวจสอบแรงดนั แตล่ ะเซลล์กจี่ ุดตรวจจบั ตวั อย่างการคานวนหาขนาด BMS 1. หาค่าตัวแปรในการใช้งานมอเตอร์ต้นกาลังขนาด 1000 วัตต์ ใช้แรงดันไฟ 72 โวลต์ กระแสไฟฟ้าทใ่ี ชจ้ ะมคี า่ เทา่ กบั 13.88 หรอื ประมาณ 14 แอมป์ 2. หาจานวนเซลล์ท่ตี อ้ งการทาการอนุกรมทงั้ หมดเพ่อื ท่จี ะไดแ้ รงดนั ไฟฟ้าทต่ี อ้ งการ จากตวั แปรขนั้ ท่ี 1 ใชแ้ รงดนั ไฟ 72 โวลต์ หากใชเ้ ซลลแ์ บตเตอรช่ี นดิ INR 18650 ซงึ่ มแี รงดนั ไฟ 3.7 โวลต์ ทา ใหต้ อ้ งทาการอนุกรมเซลลจ์ านวน 20 เซลล์ (3.7 x 20 = 74 โวลต)์ หรอื เรยี กอกี อยา่ งคอื 20S (S ย่อมา จาก Series) 3. หาจานวนเซลล์ทต่ี อ้ งการทาการอนุกรมเพ่อื ทจ่ี ะไดก้ ารต่อแบบขนาดในการรวมกระแสได้ เหมาะสม หากใชเ้ ซลล์แบตเตอร่ี 2500mAh (2.5Ah) ซง่ึ มกี ระแสทต่ี อ้ งใชง้ าน 13.88 แอมป์ ทาใหต้ อ้ งทา

บทท่ี 5 ระบบจัดการแบตเตอร่ี | 51 การขนาน 6 เซลล์ (2.5 x 6 = 15 Ah) หรือเรียกอีกอย่างคือ 6P (P ย่อมากจาก Parallel) โดยมีการ แนะนาจากผู้ผลิตของ Dongguan Daly Electronics Co.,Ltd. ควรเลือกกระแสท่ีสูงกว่ากระแสกล่อง ควบคุม เพ่อื ให้เกิดความต่อเน่ืองของกระแสไฟท่ใี ช้ ดงั น้ี 16A สาหรบั ขนาดมอเตอร์ท่ขี นาดต่ากว่า 350W, 25A สาหรับขนาดมอเตอร์ท่ีขนาดต่ากว่า 500W, 35A สาหรบั ขนาดมอเตอร์ท่ขี นาดต่ากว่า 800W, 60A สาหรบั ขนาดมอเตอรท์ ข่ี นาดต่ากวา่ 1000W 4. ทาการเลือกซ้ือ BMS ให้มีขนาดใกล้เคยี งหรือมากกว่าปรมิ าณคุณสมบตั ิท่ตี อ้ งการใชง้ าน อย่างเช่น ตามคุณสมบตั ขิ า้ งต้นผู้เขยี นจะทาการเลอื กซ้อื BMS ขนาด 20S 20A เน่ืองจากในท้องตลาด ไม่มขี ายขนาดท่พี อดกี บั การใชง้ านโดยเลอื กชนิดเป็นแบบ Li-on เน่ืองจากเซลล์จรงิ จะมขี นาดแรงดนั ท่ี สูงกว่าเซลล์แบตเตอร่ชี นิดอีก จึงจาเป็นต้องเลือกชนิด BMS ให้เหมาะสมกบั รูปแบบ ดงั ตารางท่ี 5.1 ตวั อย่าง แบตเตอร่ี Li-on ตอ้ งมกี ารชารจ์ เฉพาะรูปแบบ โดยหา้ มใชก้ ารชารจ์ แบตเตอรแ่ี บบ ตะกวั่ กรด สาหรบั แบตเตอรต่ี ะกวั่ กรดอาจมี MOS กบั แรงดนั ทป่ี ้องกนั ทส่ี งู ซงึ่ จะไมท่ าการป้องกนั BMS แบตเตอร่ี Li-on ทท่ี าการ Overcharge เกนิ ความเหมาะสมหากทาการใช้ผดิ ประเภท โดยทก่ี ารชารจ์ ไฟ LifePo4 ทาการชารจ์ ไฟ 3.6V. ส่วนทางดา้ น Li-on ทาการชารไ์ จไฟท่ี 4.2V. จงึ มคี วามจแุ ตกตา่ งกนั อกี ดว้ ย ตารางที่ 5.1 แสดงคุณสมบตั ขิ อง BMS ทม่ี ขี ายในทอ้ งตลาดของ Dongguan Daly Electronics Co.,Ltd.

บทท่ี 5 ระบบจัดการแบตเตอร่ี | 52 5. เลอื กชนิดการตอ่ ใชข้ อง BMS ใหเ้ หมาะสม โดยมรี ปู แบบ Common Port และ แบบ Separate Port (มีความต่างกันตรงส่วนขวั้ เขา้ ชาร์จไฟให้แบตเตอร่ี โดยแบบ Common Port จะมีขวั้ เป็นชุด เดยี วกบั ชุดใชง้ านกบั มอเตอรต์ น้ กาลงั สว่ นแบบ Separate Port มขี วั้ แยกชุดกบั ขวั้ ชุดใชง้ านของมอเตอร์ ตน้ กาลงั ) ซง่ึ ดูจากการตอ่ วงจรสายไฟเพมิ่ เตมิ ไดใ้ นหวั ขอ้ ท่ี 2.5 5.4 การเดนิ สายไฟระบบจัดการแบตเตอร่ี (BMS) การเดินสายไฟของระบบจดั การแบตเตอร่ี แบ่งได้ออกเป็นสองส่วน คอื การเดนิ สายไฟ BMS แบบ Common Port และการเดินสายไฟ BMS แบบ Separate Port มีการเดินสายไฟตามแผนผงั ไดอะแกรมดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การเดินสายไฟ BMS แบบ Common Port มรี ูปแบบการเดนิ สายไฟทง่ี ่ายต่อการนามาใชง้ าน เน่ืองจากมจี านวนสายไฟทต่ี ่อใช้งานน้อยกว่าแบบ Sperate Port ทาให้ผูเ้ รมิ่ ต้นในการศกึ ษาทาความ เขา้ ใจไดง้ ่ายในการใชง้ านอาจทาการถอดขวั้ สายไฟ เพ่อื ทาการใช้งานในส่วนการชารจ์ แต่หากทาขวั้ สายไฟแยกเป็นสองสว่ นสามารถทาใหง้ า่ ยต่อการใชง้ านเน่อื งจากไมต่ อ้ งถอดส่วนใดสว่ นหนึ่งของสว่ นใช้ งาน เน่ืองจากขัว้ ลบ (Cathode) ของการชาร์จ และการคายประจุอยู่ทางานร่วมกัน (Common Connection) ตามแผนผงั ไดอะแกรม ดงั รปู ท่ี 5.10 รปู ท่ี 5.10 การเดนิ สายไฟ BMS แบบ Common Port จากรูปท่ี 5.10 เป็นการเดนิ สายไฟของ BMS แบบ Common Port การต่อขวั้ สายสีแดง(เล็ก) สายสญั ญาณ BMS จะทาการต่อเขา้ เซลลแ์ บตเตอรท่ี กุ เซลลท์ ท่ี าการต่ออนุกรมกนั ดา้ นขวั้ บวกของแต่ละ เซลล์ ส่วนทางขวั้ ลบ (สายสญั ญาณ) จะทาการต่อทข่ี วั้ ลบของเซลล์ท่ี 1S ของชุดแบตเตอร่แี พค็ ในการ ใชง้ านต้องทาการต่อขวั้ B+ (แบตเตอร่ขี วั้ +) จะทาการต่อทเ่ี ซลล์แบตเตอรต่ี วั สุดท้ายของการอนุกรม และแบตเตอร่ขี วั้ B- (แบตเตอร่ขี วั้ - ) จะทาการต่อแบตเตอร่ีท่เี ซลล์แรก โดยการนาไปใชก้ บั โหลดทงั้ สองขวั้ สามารถทาการใชง้ านไดท้ ข่ี วั้ P+ และ P- ของ BMS สาหรบั การต่อโหลด หรอื การชารจ์ ไฟเขา้ ไป ยงั แบตเตอร่ี ในขวั้ เดยี วกนั

บทที่ 5 ระบบจัดการแบตเตอร่ี | 53 2. การเดินสายไฟ BMS แบบ Separate Port มรี ูปแบบการเดนิ สายไฟทห่ี ากผเู้ รมิ่ ตน้ อาจมคี วาม สบั สนกบั การใชง้ านได้ เน่อื งจากมสี ายไฟทต่ี ่อเพม่ิ ขน้ึ BMS แบบน้ีเหมาะสาหรบั การแยกส่วนในการต่อ ชารจ์ ไฟ โดยไมต่ อ้ งถอดปลกั๊ หรอื แยกคนละสว่ นในการทางานอย่างชดั เจนของการต่อสายไฟแตม่ คี วาม ยงุ่ ยากกว่าหากไมเ่ ขา้ ใจในการอ่านผงั วงจร ตามแผนผงั ไดอะแกรม ดงั รูปท่ี 5.11 รปู ที่ 5.11 การเดนิ สายไฟ BMS แบบ Sperate Port จากรูปท่ี 5.11 เป็นการเดนิ สายไฟของ BMS แบบ Sperate Port การต่อขวั้ สายสแี ดง (เล็ก) สายสญั ญาณ BMS จะทาการตอ่ เขา้ เซลล์แบตเตอรท่ี ุกเซลลท์ ท่ี าการต่ออนุกรมกนั ดา้ นขวั้ บวกของแต่ละ เซลล์ ส่วนทางขวั้ ลบ (สายสญั ญาณ) จะทาการต่อทข่ี วั้ ลบของเซลล์ท่ี 1S ของชุดแบตเตอรแ่ี พค็ ในการ ใช้งานต้องทาการต่อขวั้ B+ (แบตเตอรข่ี วั้ +) จะทาการต่อทเ่ี ซลล์แบตเตอร่ตี วั สุดท้ายของการอนุกรม และแบตเตอรข่ี วั้ B- (แบตเตอรข่ี วั้ - ) จะทาการต่อแบตเตอรท่ี เ่ี ซลลแ์ รก โดยการนาไปใชก้ บั โหลดเพยี ง ชุดเดยี ว สามารถทาการใช้งานได้ท่ขี วั้ P+ และ P- ของ BMS สาหรบั การต่อโหลด ส่วนทางดา้ นการ ชารจ์ ไฟเขา้ ไปยงั แบตเตอร่ี จะทาการต่อขวั้ C+ และ C- โดยทข่ี วั้ C+ จะทาการต่อไปทข่ี วั้ เดยี วกบั ขวั้ B+ ส่วนทางด้านขวั้ C- สายสเี หลอื ง จะทาการต่อไปท่ขี วั้ C- ของ BMS โดยตรง เน่ืองจากขวั้ ลบการ ชารจ์ C- และขวั้ ลบการคายประจุ P- ทางานทก่ี ระแสตา่ งกนั (อาจทาการคายประจทุ ่ี 16A และทาการอดั ประจเุ พยี ง 8A) นอกจากน้ีการเดนิ สายไฟของ BMS มกี ารพฒั นาอยา่ งเน่ืองมหี ลากหลายรูปแบบในการใชง้ าน ดว้ ยยคุ สมยั เทคโนโลยที ม่ี คี วามกา้ วหน้าจงึ ทาใหเ้ กดิ Smart BMS ขน้ึ โดยตวั น้ีจคี วามสาคุญในการสรา้ ง การแสดงผลการทางาน หรอื รายงานสถานะของแบตเตอรผ่ี ่านแอปพลเิ คชนั่ ภายในตวั ดว้ ยการเชอ่ื มต่อ ผ่านซอฟท์แวร์ แต่ยงั มกี ารเดนิ สายไฟคลา้ ยกบั การเดนิ สายไฟของ BMS ในหวั ขอ้ น้ี รูปแบบการเดิน สายไฟของ Smart BMS มรี ูปแบบดงั รปู ท่ี 5.12

บทที่ 5 ระบบจดั การแบตเตอร่ี | 54 รปู ที่ 5.12 การตอ่ วจรแบบ Smart BMS รปู ที่ 5.13 การตอ่ วจรในแต่ละจานวน String

บทที่ 6 การเดินสายวงจรไฟฟา้ 6.1 ปล๊กั ขวั้ ต่อสำหรบั จักรยานยนต์ไฟฟา้ ขวั้ ต่อสายไฟมหี ลากหลายชนดิ ท่ใี ช้กบั จกั รยานยนต์ไฟฟ้า แต่มไี ม่ก่ีรูปแบบท่ีไดม้ คี วามนยิ มใช้ กนั ในรปุ แบบของขวั้ ตอ่ สายไฟ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 4 สว่ น คอื ส่วนทเ่ี ป็นปลกั๊ มอแตอรต์ น้ กาลงั ส่วนท่ี เป็นสายสญั ญาณ ส่วนทเ่ี ป็นปลกั๊ แบตเตอร่ี และสว่ นทเ่ี ป็นปลกั๊ สายชารจ์ เขา้ แบตเตอร่ี มรี ายละเอยี ดของ ปลกั๊ แตล่ ะชนดิ ดงั น้ี ก. ส่วนที่เป็นปลกั๊ มอเตอรต์ ้นกำลงั เป็นส่วนทเ่ี ป็นปลกั๊ ตอ้ งรบั การใชง้ านกบั กระแสไฟทส่ี งู จะ เป็นปลกั๊ แบบ Anderson Powerpoles ถกู สรา้ งขน้ึ เมอ่ื ยอ้ นกลบั ไปปี 1960 โดยมเี หตุผลว่าใหท้ าการแยก การใชง้ านโดยสามารถทาการแยกจากแหลง่ โหลด หรอื การแหล่งจา่ ย 1) เพ่ือสะดวกต่อการสบั เปล่ียนใช้งานอุปกรณ์ท่ีจะต้องมีข้อต่อท่ีเหมือนกัน ทงั้ โหลดและ แหลง่ จ่าย ทจ่ี ะใชข้ วั้ กบั ปลกั้ หนึง่ อนั อาจเป็นบวกและอกี อนั อาจเป็นลบ 2) สามารถปรบั เปล่ยี นหรอื ขยายจานวนขวั้ ได้ตามตอ้ งการของขวั้ ปลกั้ สญั ญาณในส่วนต่างๆ ดว้ ยการใชร้ อ่ งสลอท ประกบตวั ปลกั๊ เขา้ ดว้ ยกนั 3) มขี วั้ พนิ ทม่ี คี วามแน่นหนาเพอ่ื ลดการเกดิ การสปารค์ ของไฟเมอ่ื เกดิ การใชก้ ระแสไฟทส่ี งู และ ขวั้ ตอ่ มกี ารทนกระแสทส่ี งู เหมาะสาหรบั การใชก้ บั จกั รยานยนตไ์ ฟฟ้า ลกั ษณะของปลกั๊ มอเตอรต์ น้ กาลงั สามารถแสดงไดด้ งั ตารางท่ี 6.1 ตำรำงที่ 6.1 แสดงชนดิ ปลกั๊ มอเตอรต์ น้ กาลงั ชนิ ดปลกั ๊ ลกั ษณะปลกั๊ คณุ ลกั ษณะ Anderson Powerpoles, ปลกั๊ ถอดประกอบขวั้ เพม่ิ การใช้ PP15/30/45 งานปรบั รูปแบบ และสามารถทน กระแสไฟไดส้ งู 30 A Deans plugs ไม่สามารถประกอบเปลย่ี นขวั้ ได้ มี ขวั้ ทเ่ี ป็นลกั ษณะตายตวั สลบั ไม่ได้ แตส่ ามารถทนกระแสไดถ้ งึ 50 A

บทที่ 6 การเดินสายวงจรไฟฟ้า | 56 ข. ส่วนที่เป็ นปลกั๊ สำยสญั ญำณ เป็นขวั้ ต่อสายไฟสายสญั ญาณขนาดเล็กใช้กับไฟกระแส ประมาณ 2 แอมป์ หรือมากกว่าข้ึนอยู่ในแต่ละส่วนของปุกรณ์ท่ีได้ใช้งาน โดยมีขนาดของขวั้ ต่อ สายสญั ญาณท่หี ลากหลายใช้กบั สญั ญาณเซนเซอร์ hall effect, throttle, e-brake และอีกหลากหลาย สญั ญาณ ทน่ี ยิ มใชก้ นั จะเป็นปลกั๊ สายสญั ญาณทส่ี ามารถทาการวดั แรงดนั ไฟได้ และสบั เปลย่ี นขวั้ ไดง้ ่าย เพอ่ื อานวยความสะดวกกบั ผใู้ ชง้ าน ดงั แสดงในตารางท่ี 6.2 ตำรำงที่ 6.2 แสดงชนิดปลกั๊ สายสญั ญาณ ชนิ ดปลกั ๊ ลกั ษณะปลกั๊ คณุ ลกั ษณะ JST-SM Connectors ชดุ ปลกั๊ ทส่ี ามารถถอดขวั้ สบั เปลย่ี น และวดั แรงดนั ไฟของระบบทต่ี ่อ ผา่ นได้ ไมส่ ามารถกนั น้าได้ ทน กระแสประมาณ 2 A JST / BMS Header ใชส้ าหรบั การบาลานซเ์ ซลล์ทเ่ี รยี ง อนุกรมกนั เป็นแถวในแนวยาวท่ี ตอ้ งการดงึ ขอ้ มูลจากเซลล์แบต Molex / Sprade ปลกั๊ ชนิดน้นี ยิ มใชก้ บั จกั รยานยนต์ HiGo ไฟฟ้าทม่ี าจนี มรี าคาถูกและหาซอ้ื Tajima ไดง้ า่ ยในทอ้ งตลาด ชดุ ปลกั๊ สาเรจ็ รปู ทไ่ี ม่สามารถสบั ถอดขวั้ ได้ และไมส่ ามารถทาการ วดั แรงดนั ไฟไดท้ ข่ี วั้ ปลกั๊ กนั น้าได้ ทนกระแสได้ 30-40 A ใชส้ าหรบั สญั ญาณ Hall Sensor มี ลกั ษณะภายนอกแขง็ แรง ชดุ ปลกั๊ สาเรจ็ รปู ทไ่ี มส่ ามารถสบั ถอดขวั้ ได้ ปลกั๊ ทใ่ี ชใ้ นส่วนสญั ญาณ Hall MT 60 Sensor ซง่ึ มงี า่ ยตอ่ การใชง้ าน และ สามารถรบั กระแสไดส้ งู ถงึ 100 A

บทที่ 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟ้า | 57 ค. ส่วนที่เป็ นปลกั๊ แบตเตอร่ี ลักษณะปลัก้ ในส่วนท่ีจะติดอยู่กับแหล่งจ่ายแบตเตอร่ี ต้อง รบั ภาระโหลดทส่ี งู เน่อื งจาก เป็นปลกั๊ ทต่ี อ่ เขา้ โดยตรงกบั มอเตอรต์ ้นกาลงั ได้เลย หรอื ตอ่ ผ่านขวั้ ปลกั๊ อีก ส่วน ต้องสามารถทนความร้อนได้สูง เน่ืองจากต้องรบั กระแสไหลผ่านจากภาระโหลดต่างๆ ควรมี ลกั ษณะขวั้ ปลกั๊ เช่อื มต่อทม่ี คี วามแน่นหนา เพอ่ื ลดชอ่ งวา่ งของการสปารค์ ของไฟฟ้าทจ่ี ะทาใหข้ วั้ ละลาย และอปุ กรณช์ ารุด ดงั แสดงในตารางท่ี 6.3 ตำรำงที่ 6.3 แสดงชนดิ ปลกั๊ แบตเตอรจ่ี กั รยานยนตไ์ ฟฟ้า ชนิ ดปลกั ๊ ลกั ษณะปลกั๊ คณุ ลกั ษณะ Anderson SB50 มลี กั ษณะเหมอื นกบั Anderson Powerpoles โดยทส่ี ามารถเสยี บ กนั เน่อื งจากขวั้ ต่อไม่ไดเ้ ป็นขวั้ ผู้ เมยี ทนกระแสสงู สดุ 50 A XT 60, XT90 ออกแบบสาหรบั ตลาด RC เป็น ปลกั๊ ทส่ี ามารถรบั กระแสไฟไดส้ งู และมลี กั ษณะบงั คบั การประกอบขวั้ ทล่ี กั ษณะคางหมขู องมมุ ตวั ปลกั๊ ทนกระแสสงู สดุ 60-90 A Bullet Connector มลี กั ษณะการใชง้ านคลา้ ยกบั XT และมขี นาดทห่ี ลากหลาย แตห่ าซ้อื ไดย้ ากในทอ้ งตลาด ง. ส่วนปลกั๊ สำยชำรจ์ เข้ำแบตเตอร่ี ลกั ษณะปลกั๊ สายชารจ์ ตอ้ งเป็นปลกั๊ ทใ่ี ชง้ านง่ายถอดเขา้ ออกสะดวก ต่อการใช้งาน ในแบตเตอร่จี กั รยานยนต์ไฟฟ้าบางรุ่นต้องมกี ารใช้ 3 ขวั้ เพ่อื ตรวจสอบ อุณหภูมใิ นการมาการชาร์จของแบตเตอร่ี เพ่อื ป้องกนั การชาร์จในสภาวะโหลดท่สี งู เกิน บางกรณีปลกั๊ การชารจ์ เป็นปลกั๊ เดยี วกบั แบตเตอร่ี เน่อื งจากขน้ึ อยกู่ บั ชนิดของ Battery Management System วา่ เป็น แบบ Common Port หรอื Separate Port หากเปลย่ี น Common Port ปลกั้ สายชารจ์ ดงั กล่าวไมม่ คี วาม จาเป็น เน่อื งจากตอ้ งต่อโดยเขา้ แบตเตอรโ่ี ดยตรง ทผ่ี ่านมาปลกั๊ สายชารจ์ รถจกั รยานยนตไ์ ฟฟ้าไดม้ กี าร พฒั นาให้มคี วามสะดวกมากขน้ึ ดว้ ยการใชส้ ายชาร์จปลดเรว็ ท่ไี ดร้ บั การพฒั นาจาก บรษิ ทั Energybus เพ่อื สรา้ งมาตรฐานในการใชง้ านของจกั รยานยนต์ไฟฟ้า และความสะดวกต่อการใชง้ าน ดงั แสดงลกั ษณะ ของสายชารจ์ ในตารางท่ี 6.4

ตำรำงท่ี 6.4 แสดงชนิดปลกั๊ สายชารจ์ เขา้ แบตเตอร่ี บทที่ 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟ้า | 58 ชนิ ดปลกั ๊ ลกั ษณะปลกั๊ คณุ ลกั ษณะ ปลกั๊ ชารจ์ ปลดเรว็ มแี ม่เหลก็ Rosenberger / Qr ภายในเพอ่ื บงั คบั และยดึ ขวั้ ตอ่ เขา้ Connector ดว้ ยกนั และมสี ายไฟสองเสน้ และ สายสญั ญาณ CAN bus 4 เสน้ XLR ปลกั๊ ทใ่ี นอดตี ตอ้ งใชใ้ นการควบคมุ อณุ หภมู ิ Thermistor จง้ึ ตอ้ งมี 3 IEC320 C14 พนิ คอื แรงดนั กราวน์ และ อุณหภูมิ ทนกระแสสงู สุด 40 amp สามารถใชก้ บั อปุ กรณท์ างไฟฟ้า ภายในบา้ น ซง่ึ สามารถรองรบั การ ชารจ์ ท่ี 10A และมคี วามนยิ มใชใ้ น ประเทศไทย กำรอ่ำนขวั้ ปลกั๊ ของปลกั๊ ตวั ผ้แู ละปลกั๊ ตวั เมีย การอา่ นขวั้ ของปลกั๊ ระหวา่ งตวั เมยี และตวั ผมู้ ี ความแตกตา่ งกนั ในการนับตวั เลขขวั้ (Pin) หากพจิ ารณาดงั รูปท่ี 6.1 ปลกั๊ ตวั ผจู้ ะพจิ ารณาขวั้ ท่เี รมิ่ จาก ขวาไปทางไดซ้ า้ ย (มองจากหนา้ ปลกั๊ ) บนลงลา่ งเหมอื นกนั และหากพจิ ารณาขวั้ ปลกั๊ ตวั เมยี จะมองจาก เลขน้อยดา้ นซา้ ยไปทางดา้ นขวา (มองจากหนา้ ปลกั๊ ) บนลงล่าง รปู ที่ 6.1 แสดงภาพการอา่ นหน้าปลกั๊ ตวั ผู้ (ซา้ ย) และตวั เมยี (ขวา)

บทที่ 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟา้ | 59 6.2 การใช้ขนาดสายไฟ รปู ที่ 6.2 ลกั ษณะสายไฟตวั นา และฉนวน สายไฟ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สายไฟแรงต่า และสายไฟแรงสงู ทงั้ ทม่ี ชี นดิ ทเ่ี ป็นตวั นา ทองแดง ตัวนาอลูมเิ นียม สายไฟท่เี หมาะสมสาหรบั การใช้งานกับรถจกั รยานยนต์ไฟฟ้าต้องมลี ักษณะน่ิม โค้งงอได้ง่าย เข้ารูปโค้งของรถ สายท่ีเหมาะสมคอื สายไฟชนิด AV (Automotive Vinyl) ตวั นาของสายไฟ จะทาดว้ ยทองแดงอ่อนหลายๆ เสน้ รวมกนั และฉนวนท่ี หุ้มตัวนาจะทาด้วยพลาสติกท่เี รยี กว่า PVC พลาสตกิ เป็นวสั ดุทใ่ี ชเ้ ป็น ฉนวนกนั มากกบั สายไฟยางกม็ ใี ชก้ นั บา้ งแต่ไม่มากนัก พลาสตกิ มคี ุณสมบตั ทิ ท่ี นความรอ้ น ความเยน็ และการเป็นฉนวนไดด้ กี วา่ ยาง 6.2.1 ขนาดของสายไฟ ขนาดสายไฟท่ีนิยมในการใช้งานจะเป็ นขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของตัวนา ไม่ใช่ เส้นผ่าศูนย์กลางของสายไฟทงั้ เส้น (ตัวนาบวกฉนวน) ขนาดของสายไฟในการใช้งานข้ึนอยู่กับ แรงเคลอ่ื นไฟฟ้า ความตอ้ งการของกระแสไฟฟ้าในวงจร และความยาวของสายไฟ สายไฟทย่ี าวมากจะ เพมิ่ ความต้านทานภายในวงจร ความต้านทานทเ่ี พมิ่ ข้นึ จะทาให้เกดิ ความรอ้ น ซงึ่ ความร้อนจะทาให้ ฉนวนหลอมละลาย เกดิ ความเสยี หายกบั สายไฟ ขนาดของสายไฟทโ่ี ตขน้ึ จะลดความตา้ นทานลงและลด แรงเคลอ่ื นตกคร่อม เพราะฉะนนั้ ควรเลอื กขนาดของสายไฟใหถ้ กู ตอ้ งพอเหมาะกบั การใชง้ านในวงจรไฟ นัน้ ๆ การเลอื กขนาดสายไฟทใ่ี ชใ้ นวงจร ต้องคานงึ ถึง 3 ส่วน คอื ชนิดของอุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้กระแส ของอุปกรณ์ และเปรยี บเทยี บกบั ขนาดสายไฟของเดมิ ทเ่ี คยใชอ้ ยู่ หน่วยวดั ขนาดสายไฟทใ่ี ชก้ นั อย่างแพร่หลาย คอื AWG (American Wire Gauge) เป็นหน่วยวดั ขนาดของลวดตวั นาไฟฟ้า ทใ่ี ชใ้ นอเมรกิ าและคานาดา แต่กถ็ กู ใชก้ นั อย่างแพร่หลายทวั่ โลก ซง่ึ สามารถ แปลงหน่วยเป็นหน่วยวดั ทเ่ี ราคนุ้ เคยกนั ได้ อย่างเชน่ Millimeter (มลิ ลเิ มตร) ดงั ตารางท่ี 6.5 จากตารางเป็นตวั อยา่ งค่า AWG ทอ่ี ธบิ ายค่าตวั แปรตา่ งๆ ไดด้ งั น้ี Conductor Diameter คอื ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของตวั นาภายในสายไฟ (เฉพาะตวั นา ไม่ รวมปลอกหมุ้ ) ยง่ิ ค่า AWG มาก ตวั นากจ็ ะยง่ิ ใหญ่ Resistance คือ ความต้านทานภายในสายไฟ ยิง่ สายไฟเส้นเล็ก ความต้านทานก็จะมากขน้ึ เร่อื ยๆ ความตา้ นทานน้มี ผี ลกบั ความสามาถในการจ่ายกระแสใหว้ งจร และค่าความตา้ นทานมากๆ ยงั เป็นหน่ึงในสาเหตหุ ลกั ทท่ี าใหส้ ายไฟทนกระแสไดน้ อ้ ย Maximum Current คือ ปริมาณกระแสไฟฟ้าท่ที นได้ ตอนท่เี อาสายไฟมารวมกันเป็นกระจุก (Power Transmission) แตถ่ า้ หากใชแ้ บบ Chassis Wire คอื ตอ่ สายไฟแบบแยกจะสงู ทนไดม้ ากขน้ึ 30%

บทท่ี 6 การเดินสายวงจรไฟฟา้ | 60 ตำรำงที่ 6.5 เป็นตารางขนาดของสายไฟ กระแสสงู สุดทส่ี ายไฟทนไดแ้ ละวงจรทใ่ี ช้

บทท่ี 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟ้า | 61 6.2.2 รหสั สีสายไฟ วงจรไฟในรถยนต์มอี ยู่จานวนมากและสายไฟกเ็ ช่นเดยี วกนั กม็ ใี ชก้ นั จานวนมากมายหลายๆ เสน้ เพราะฉะนนั้ การใชส้ ายไฟในรถยนตจ์ งึ ตอ้ งมรี หสั สเี พ่อื ทจ่ี ะใหก้ ารเดนิ สายไฟในวงจรตา่ งๆ ไม่สบั สน กนั และสะดวกในการตรวจวเิ คราะหแ์ ก้ไขขอ้ ขดั ข้องเม่อื เกิดมปี ัญหากบั ระบบไฟวงจรนัน้ ๆ รหสั สใี น วงจรไฟตา่ งๆ นนั้ แตล่ ะบรษิ ทั จะใชร้ หสั สที ไ่ี ม่เหมอื นกนั อกั ษรตวั แรกจะเป็นสหี ลกั อกั ษรตวั ตามหลงั จะ เป็นสคี าด ดงั รปู ท่ี 6.3 รปู ที่ 6.3 ลกั ษณะรหสั สขี องสายไฟ สี รหสั สี ภำษำองั กฤษ ภำษำไทย สดี า BK Black สนี ้าเงนิ L Blue สนี ้าตาล สนี ้าตาลเขม้ BR Brown สเี ขยี วแก่ สเี ขยี ว CH Chocolate (Dark Brown) สเี ทา สเี ทา DG Dark Green สเี ขยี วออ่ น G Green สสี ม้ สสี ม้ GR Gray สชี มพู สมี ่วง GY Gray สแี ดง สฟี ้า LG Light Green สมี ่วง สขี าว O Orange สเี หลอื ง OR Orange P Pink PU Purple R Red LB, SB Light Blue, Sky Blue V Violet W White Y Yellow

บทท่ี 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟา้ | 62 6.3 การประกอบสายไฟ การต่อสายไฟเพ่อื เดนิ วงจรระบบไฟฟ้าตอ้ งมสี ่วนประกอบดว้ ยการต่อวงจรการประกอบ การ ตดิ ตงั้ การย้าและการบดั กรสี ายไฟเขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื ทาใหไ้ ฟฟ้าเดนิ ครบวงจรไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ โดยในส่วน น้จี ะมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 6.3.1 การต่อสายไฟ การต่อสายไฟเขา้ ด้วยกนั จะมี 2 วธิ คี อื การพนั ปลายสายไฟเขา้ ดว้ ยกนั แล้วบดั กรี เสรจ็ แล้วใช้ เทปพนั สายไฟพนั เพ่อื ป้องกนั การลดั วงจร และอีกวธิ หี นง่ึ คอื ใชป้ ลอกสวมเขา้ กบั ปลายสายไฟทัง้ 2 เสน้ แลว้ ใช้คมี บบี ขวั้ สายไฟบบี ปลอกรดั สายไฟให้แน่น แล้วใช้ปลอกยางรดั ตรงปลอกทต่ี ่อเป็นการป้องกนั การลดั วงจรดงั รูปท่ี 6.4 รปู ที่ 6.4 ลกั ษณะการต่อสายไฟดว้ ยการบดั กรี (ซา้ ย) และการต่อสายไฟดว้ ยปลอกรดั (ขวา) 6.3.2 การตดิ ต้ังสายไฟ การตดิ ตงั้ สายไฟตอ้ งใหแ้ น่ใจว่าขวั้ เสยี บแน่นและขนั นอต สกรเู ขา้ กบั หลกั แน่นหนาไมห่ ลวมเกบ็ สายไฟทงั้ หมดให้พ้นจากระบบไอเสีย พ้ืนท่ีท่ีมีน้ามัน และบริเวณท่ีมีการเคล่ือนท่ีของอุปกรณ์ใน รถจกั รยานยนต์ไฟฟ้า เกบ็ สายไฟเขา้ กบั ตวั ถงั โดยใชค้ ลปิ หรอื แคลมป์ รดั สาย ถา้ สายไฟตอ้ งสอดผ่านรู ตวั ถงั ตอ้ งมยี างรองกนั สายไฟครดู กบั ตวั ถงั อาจลดั วงจรได้ เม่อื มสี ายไฟจานวนมากกใ็ หใ้ ชเ้ ทปพนั สายไฟ พนั รวมกนั หรอื ใชส้ วมเขา้ ไป ในปลอกพลาสตกิ การตดิ ตงั้ สายไฟหวั เทยี นตอ้ งใหแ้ น่ใจว่าสายไฟหวั เทยี น ไม่ลงกราวดแ์ ละทข่ี วั้ สายไฟมยี างฉนวนหมุ้ กนั ไวแ้ น่นหนาไม่หลดุ ออกมาดงั รปู ท่ี 6.5

บทที่ 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟ้า | 63 รปู ท่ี 6.5 ลกั ษณะการตดิ ตงั้ สายไฟ การเดนิ สายไฟกบั ส่วนต่างๆ 6.3.3 การยำ้ สายไฟ การย้าสายไฟเป็นวธิ ใี นการต่อสายไฟเขา้ กบั ขวั้ สายไฟวธิ นี งึ ท่สี ามารถนามาใช้งานกบั เทอรม์ นิ อล หรอื การเข้าสายกราวน์ท่ีขันน๊อตติดกับโครง การต่อสาย บรกิ ารเพ่อื ถอดประกอบติดตงั้ กบั อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ใน การย้าสายมขี นั้ ตอนในการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1) ปอกสายไฟความยาวของทองแดงประมาณ 1 ซม. ด้วยการใชค้ มี ปอก หรอื กรรไกร ระหว่างปลอดระวงั ทา ใหท้ องแดงขาด 2) สอดทองแดงเขา้ กบั ขวั้ ท่ีจะทาการย้าระหว่างสอดให้ ทาการบดิ เกลยี ว เพ่อื ใหส้ ายทองแดงจบั เป็ยกลุ่มกนั 3) ทาการย้าโดยใชค้ มี ย้าสายไฟและกดบบี ใหแ้ น่น เมอ่ื ย้าเสรจ็ แล้วเหลือช่องว่าง ระหว่าง Insulation กบั ท้าย หางปลา โดยประมาณ 1 - 2 มลิ ลเิ มตร. รปู ที่ 6.6 แสดงขนั้ ตอนการยา้ สายไฟ

6.3.4 การบัดกรสี ายไฟ บทท่ี 6 การเดนิ สายวงจรไฟฟา้ | 64 การบดั กรี เป็นวธิ กี ารตอ่ หรอื ยดึ โลหะแผ่นบางๆ รปู ที่ 6.7 แสดงขนั้ ตอนการบดั กรี เขา้ ยดึ ตดิ ใหแ้ น่น โดยทแ่ี ผน่ โลหะนนั้ ไมห่ ลอมละลายนัน้ เป็นเน้ือเดยี วกนั แต่จะมตี ะกวั่ เป็นตวั หลอมละลายเชอ่ื ม ประสาน ซ่ึงเป็นกระบวนการทางานท่ีง่ายไม่ซบั ซ้อน สะดวกและรวดเร็ว ใช้งานท่ไี ม่รบั น้าหนัก แรงดนั และ แรงดงึ มากนัก เช่น งานเช่อื มสงั กะสี ทารางระบายน้า งานหมอ้ น้ารถยนต์ งานต่อสายไฟฟ้า เป็นตน้ มอี ปุ กรณ์ ท่ใี ช้ คือหวั แร้ง ตะกวั่ และน้ายาประสานในบ้างกรณีท่ี ตะกวั่ ไมไ่ ดม้ นี ้ายาประสานในตวั วิธีกำรกำรบดั กรี ซง่ึ มขี นั้ ตอนการปฏบิ ตั ดิ งั รปู ท่ี 6.7 1) ปอกสายไฟประมาณ 2.5 ซม. (หากไมพ่ นั 1 ซม.) 2) พนั สายไฟ และสวมทอ่ หด 3) ใชห้ วั แรง้ ทม่ี คี วามรอ้ นสามารถละลายตะกวั่ ได้ ประมาณ 350-460 องศา แนบลงไปทท่ี องแดงบดั กรี และเตมิ ตะกวั่ เขา้ ไป หวั แรง้ จะละลายตะกวั่ ยดึ ตดิ ทนั ที 4) ทาการหมุ้ ทอ่ หดทบ่ี รเิ วณบดั กรี ดว้ ยการใชล้ มรอ้ น 5) ทาความสะอาดหวั แรง้ ทุกครงั้ เมอ่ื ใชเ้ สรจ็ แลว้ และ จดั เกบ็ เครอ่ื งมอื วสั ดุอปุ กรณใ์ หเ้ รยี บรอ้ ย ขอ้ ควรระมดั ระวงั ในกำรบดั กรี 1) ปลายหวั แรง้ ตอ้ งสะอาดอยู่เสมอ 2) อย่าเอาน้าราดรอยบดั กรขี ณะรอ้ นอยู่ จะทาใหร้ อยต่อ ไม่แขง็ แรง 3) การใชห้ วั แร้งแบบปืนบดั กรเี สรจ็ แล้วปิดสวติ ซ์ จะใช้ ใหม่ค่อยเปิดสวติ ซ์ อย่าเปิดสวติ ซ์ทง้ิ ไว้ 4) บดั กรชี ้นิ งานเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ทาความสะอาดรอย บดั กรี ลา้ งน้าประสานออกใหห้ มด 5) ถา้ บดั กรโี ลหะเป็นแนวยาวใหบ้ ดั กรเี ป็นจดุ ๆ หา่ งกนั พอประมาณ เพอ่ื เป็นแนวกอ่ นแลว้ จงึ บดั กรตี ามช่องวา่ ง ทเ่ี วน้ ไว้ จะทาใหไ้ ดต้ ะเขบ็ ทแ่ี ขง็ แรง สวยงาม

เอกสารประกอบการสอนเลมนี้ผูจัดทำไดใชความรูความสามารถในดานทฤษฎี และปฏิบัติทางเครื่องกล ทั้งไดรวบรวมขอมูลตางๆ จากหนังสือ เอกสารการบรรยาย อนิ เทอรเ นต็ ทผ่ี จู ดั ทำไดท ำการคน ควา เปน หลกั เพอ่ื นำขอ มลู มาใชป ระกอบการจดั ทำเอกสาร จะไดนำมาใชใ หเ กิดประโยชนตอ การเรยี นการสอนไดมากท่สี ดุ ภายในเอกสารการสอนเลมนี้ ประกอบไปดวยเนื้อหาเกี่ยวกับรถจักรยานยนตไฟฟาที่เขามามีบทบาทมากในยุคปจจุบัน เกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนตสมัยใหม ภายในหนังสือเนื้อหาเหมาะสมกับผูท่สี นใจ e-mail: [email protected] e-book: http://pubhtml5.com/homepage/djuu


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook