Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โคลง

โคลง

Published by jitsaijin, 2020-06-13 10:24:44

Description: โคลง

Search

Read the Text Version

โคลงส่ีสุภาพ จิตใส จินดาศรี โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีมธั ยมศึกษาเขต ๓๓

โคลงส่ีสภุ ำพ โคลง โคลง เป็นคำประพนั ธช์ นิดหนึ่ง มีวิธีกำรเลือกสรรคำเพ่ือให้เข้ำกบั บงั คบั มีกำหนดคณะหรือฉันทลกั ษณ์ มีกำหนดคำเอก คำโทและสมั ผสั ให้คล้อง จองกนั โคลงสี่สภุ ำพ เป็นประเภทหน่ึงของโคลงสภุ ำพ คำว่ำ สภุ ำพ หรอื เสำว ภำพ ในควำมหมำยนี้คือคำที่ไม่ปรำกฏรปู วรรณยกุ ต์ ยกเว้นคำในตำแหน่งที่ บงั คบั ให้มีรปู วรรณยุกตเ์ อกและรปู วรรณยกุ ตโ์ ท

โคลงส่ีสภุ ำพ ประเภทคำประพนั ธ์ โคลง ฉันท์ กำพย์ กลอน ร่ำย วรรณรปู กลบท โคลงสภุ ำพ โคลงดนั้ โคลงโบรำณ โคลงสอง โคลงสำม โคลงส่ี โคลงห้ำ โคลง สภุ ำพ สภุ ำพ สภุ ำพ กระทู้

โคลงส่ีสภุ ำพ โคลงส่ีสภุ ำพ ปรำกฏในวรรณกรรมไทย ตงั้ แต่สมยั อยธุ ยำตอนต้น ปรำกฏในมหำชำติคำหลวงเป็นเรอ่ื งแรก และ มีวรรณกรรมท่ีแต่งด้วยโคลงสี่สภุ ำพ 3 เรอื่ ง ได้แก่ โคลงนิรำศ หริภญุ ชยั โคลงมงั ทรำตีเชียงใหม่ และลิลิตพระลอ โคลงสี่สภุ ำพ เป็นคำประพนั ธท์ ี่กวีชอบแต่งและผำ่ นกำร พฒั นำมำยำวนำนจนมีฉันทลกั ษณ์ท่ีลงตวั และเป็นแบบฉบบั ท่ียึดถือและใช้เป็นมำตรฐำนในปัจจบุ นั

โคลงสี่สภุ ำพ สมยั อยธุ ยำตอนกลำง วรรณกรรมท่ีใช้โคลงส่ีสภุ ำพ ได้แก่ - โคลงเร่ืองพำลีสอนน้อง - โคลงทศรถสอนพระรำม - โคลงรำชสวสั ดิ - โคลงนิรำศนครสวรรค์ - โคลงเฉลิมพระเกียรติพระนำรำยณ์มหำรำช - กำพยห์ ่อโคลง - โคลงอกั ษรสำมของพระศรีมโหสถ

โคลงสี่สภุ ำพ สมยั อยธุ ยำตอนปลำย ได้แก่ - โคลงนิรำศพระบำท - โคลงนิรำศเจำ้ ฟ้ำอภยั - กำพยห์ ่อโคลงพระรำชนิพนธเ์ จำ้ ฟ้ำธรรมำธิเบศร สมยั ธนบรุ ี ได้แก่ - โคลงยอพระเกียรติพระเจำ้ กรงุ ธนบรุ ี - ลิลิตเพชรมงกฎุ

โคลงส่ีสภุ ำพ สมยั รตั นโกสินทร์ วรรณกรรมท่ีใช้โคลงส่ีสภุ ำพที่เด่น ได้แก่ - ลิลิตตะเลงพ่ำย - โคลงนิรำศนรินทร์ - โคลงนิรำศสพุ รรณ - โคลงโลกนิติ

โคลงสี่สภุ ำพ แผนผงั โคลงส่ีสภุ ำพ ฉันทลกั ษณ์ - บงั คบั คำเอก ๗ คำ (สีแดง ) - บงั คบั คำโท ๔ คำ (สีน้ำเงิน) - สมั ผสั นอก : สงั เกตเส้นที่โยง - สมั ผสั ใน ไม่ได้บงั คบั - สมั ผสั ระหว่ำงบท ไม่บงั คบั

โคลงส่ีสภุ ำพ แผนผงั โคลงส่ีสภุ ำพ คณะ - ๑ บท มี ๔ บำท จำนวนคำ ๓๐ - ๓๔ คำ - วรรคหน้ำ ๕ คำ - วรรคหลงั : บำทที่ ๑ และ ๓ มี ๒ คำ (เพิ่มคำสร้อยได้บำทละ ๒ คำ) บำทท่ี ๒ มี ๒ คำ บำทท่ี ๔ มี ๔ คำ

โคลงส่ีสภุ ำพ คำสร้อย คำสร้อย คือ ใช้ในกรณีที่ไม่จบกระแสควำม หรือช่วยให้ ไพเรำะรำบรนื่ สำมำรถใช้ได้ในบำทที่ ๑ และบำทที่ ๓ คำสร้อยที่ นิยมใช้กนั เป็นแบบแผนมีทงั้ หมด 18 คำ

โคลงสี่สภุ ำพ ตวั อย่ำงคำสร้อยที่มกั ใช้ในกำรแต่งโคลง เทอญ มีควำมหมำย เชิงขอให้มี หรอื ขอให้เป็น นำ มีควำมหมำย ดงั นัน้ เช่นนัน้ นอ มีควำมหมำย เช่นเดียวกบั คำอทุ ำนว่ำ หนอ หรอื นัน่ เอง รำ มีควำมหมำย เถอะ เถิด ฤๅ มีควำมหมำย เชิงถำม เหมือนกบั คำว่ำ หรอื แล มีควำมหมำย อย่ำงนัน้ เป็นเช่นนัน้ แฮ มีควำมหมำย เป็นอย่ำงนัน้ นัน่ เอง

โคลงส่ีสภุ ำพ กำรส่งสมั ผสั - สมั ผสั ใน: ไม่บงั คบั แต่ถำ้ มีจะทำให้โคลงไพเรำะ และสละสลวยขนึ้ - สมั ผสั นอก/สมั ผสั ระหว่ำงวรรค : คำสดุ ท้ำยบำทที่ ๑ สมั ผสั กบั คำสดุ ท้ำย ในวรรคหน้ำของบำทที่ ๒ และ ๓ คำสดุ ท้ำยบำทท่ี ๓ สมั ผสั กบั คำสดุ ท้ำย ในวรรคหน้ำของบำทท่ี ๓ - สมั ผสั ระหว่ำงบท ไม่บงั คบั จะมีหรอื ไมก่ ไ็ ด้

โคลงสี่สภุ ำพ คำเอกและคำโท - คำเอก คือ ตำแหน่งคำท่ีมีรปู วรรณยกุ ตเ์ อก โคลง ๑ บท บงั คบั คำเอก ๗ คำ - คำโท คือ ตำแหน่งคำท่ีมีรปู วรรณยกุ ตโ์ ท โคลง ๑ บท บงั คบั คำโท ๔ คำ คือ ตำแหน่งคำเอก (อนุโลมให้ใช้คำตำยแทนได้) คือ ตำแหน่งคำโท

โคลงส่ีสภุ ำพ คำเอกโทษ คำเอกโทษ คือ คำท่ีมีควำมหมำยและกำกบั ด้วยรปู วรรณยกุ ตโ์ ท แต่มีควำมจำเป็นท่ีต้องแปลงให้เป็นคำท่ีมีรปู วรรณยกุ ตเ์ อก แมว้ ่ำคำที่มีรปู วรรณยกุ ตเ์ อกท่ีได้เปล่ียนจำกคำที่มีรปู วรรณยกุ ตโ์ ทแล้วนัน้ ได้คำที่มีไม่มี ควำมหมำยแต่ยงั คงให้มีควำมหมำยเหมือนคำท่ีมีรปู วรรณยกุ ตโ์ ทกำกบั อย่เู ดิม เช่น - หน้ำ แปลงเป็น น่ำ - หล้ำ แปลงเป็น ล่ำ - หญ้ำ แปลงเป็น ย่ำ - เขีย้ ว แปลงเป็น เค่ียว

โคลงส่ีสภุ ำพ คำโทโทษ คำโทโทษ คือ คำท่ีมีควำมหมำยและกำกบั ด้วยรปู วรรณยกุ ตเ์ อก แต่มีควำมจำเป็นที่ต้องแปลงให้เป็นคำท่ีมีรปู วรรณยกุ ตโ์ ท แม้ว่ำคำที่มีรปู วรรณยกุ ตโ์ ทที่ได้เปล่ียนจำกคำที่มีรปู วรรณยกุ ตเ์ อกแล้วนัน้ ได้คำท่ีมีไม่มี ควำมหมำยแต่ยงั คงให้มีควำมหมำยเหมอื นคำที่มีรปู วรรณยกุ ตเ์ อก กำกบั อย่เู ดิม เช่นคำว่ำ - เล่ำ แปลงเป็น เหล้ำ - ค่ำ แปลงเป็น ข้ำ - เซ่น แปลงเป็น เส้น - มงั่ คงั่ แปลงเป็น มงั่ ขงั้

โคลงสี่สภุ ำพ ตวั อย่ำงโคลงสี่สภุ ำพท่ีตรงตำมฉันทลกั ษณ์ เสียงลือเสียงเล่ำอ้ำง อนั ใดพ่ีเอย เสียงย่อมยอยศใคร ทวั่ หล้ำ สองเขือพ่ีหลบั ใหล ลืมต่ืน ฤำพ่ี สองพี่คิดเองอ้ำ อย่ำได้ถำมเผอื (ลิลิตพระลอ) - คำเอก ได้แก่ เล่ำ ย่อม ทวั่ พี่ ต่ืน พ่ี และอย่ำง รวม ๗ คำ - คำโท ได้แก่ อ้ำง หล้ำ อ้ำและได้ รวม ๔ คำ - คำสร้อย ได้แก่ พี่เอย และ ฤำพ่ี

โคลงสี่สภุ ำพ ฉันทลกั ษณ์ เสียงลือเสียงเล่ำอ้ำง อนั ใด พ่ีเอย เสียงย่อมยอยศใคร ทวั่ หล้ำ สองเขือพี่หลบั ใหล ลืมต่ืน ฤำพี่ สองพ่ีคิดเองอ้ำ อย่ำได้ถำมเผอื (ลิลิตพระลอ) - สมั ผสั นอก คือ ใด – ใคร – ใหล และ หล้ำ – อ้ำ - สมั ผสั ใน (สมั ผสั อกั ษร) บำทท่ี ๑ คือ ลือ – เล่ำ บำทท่ี ๒ คือ ย่อม – ยอ - ยศ บำทที่ ๓ คือ หลบั – ใหล บำทท่ี ๔ คือ เอง – อ้ำ

โคลงส่ีสภุ ำพ ตวั อย่ำงโคลงสี่สภุ ำพที่มีสมั ผสั ระหว่ำงบท บเุ รงนองนำมรำชเจำ้ จอมรำ มญั เฮย พยหุ แสนยำ ยิ่งแกล้ว มอญม่ำนประมวลมำ สำมสิบ หม่ืนแฮ ถงึ อยธุ เยศแล้ว หยดุ ใกล้นครำ พระมหำจกั รพรรดิเผำ้ ภวู ดล สยำมเฮย วำงค่ำยรำยรีพ้ ล เพียบหล้ำ ดำริจกั ใครย่ ล แรงศึก ยกนิกรทพั กล้ำ ออกตงั้ กลำงสมร

โคลงสี่สภุ ำพ ตวั อย่ำงโคลงสี่สภุ ำพที่มีสมั ผสั ระหว่ำงบท พระมหำจกั รพรรดิเผำ้ ภวู ดล สยำมเฮย สงั เกต ว่ำกำรส่ง วำงค่ำยรำยรีพ้ ล สมั ผสั ระหว่ำงบท ดำริจกั ใครย่ ล เพียบหล้ำ นิยมใช้สมั ผสั สระ ยกนิกรทพั กล้ำ แรงศึก ออกตงั้ กลำงสมร บงั อรอคั เรศผู้ พิศมยั ท่ำนนำ นำมพระสรุ ิโยทยั ออกอ้ำง ทรงเครอื่ งยทุ ธพิไชย เช่นอปุ รำชแฮ เถลิงคชำธำรคว้ำง ควบเขำ้ ขบวนไคล

โคลงส่ีสภุ ำพ ตวั อย่ำงคำเอกโทษ / โทโทษ และกำรใช้คำตำยแทนคำเอก พนั ท้ำยตกประหม่ำสิ้น สติคิด โดดจำกเรือทลู อทุ ิศ โทษรอ้ ง พนั ท้ำยนรสิงหผ์ ิด บทฆ่ำ เสียเทอญ หวั กบั โขนเรอื ต้อง ค่เู ส้นทำศำล • เส้น คือคำ โทโทษ มำจำกคำว่ำ เซ่น เปลี่ยนเป็น เส้น เพื่อให้ได้คำตรงกบั ตำแหน่งท่ีบงั คบั คำโท • จำก – โทษ - นร- กบั เป็นคำตำย ท่ีใช้แทนตำแหน่ง คำเอก

โคลงส่ีสภุ ำพ ตวั อย่ำงโคลงสี่สภุ ำพที่มีเอกโทษ / โทโทษ และใช้คำตำยแทนคำเอก กระจงกระจิดหน้ำ เอน็ ดู เดินร่อยเรี่ยงำมตรู กระจ้อย เหมอื นกวำงอย่ำงตำหู ตีนกีบ มีเค่ียวขำวน้อยช้อย แนบข้ำงเคียงสอง • เคี่ยว คือคำเอกโทษ มำจำกคำว่ำ เขีย้ ว เปล่ียนเป็น เคี่ยว เพื่อให้ได้คำตรงกบั ตำแหน่งท่ีบงั คบั คำเอก • จิด กระ- กีบ แนบ เป็น คำตำย ท่ีใช้แทนตำแหน่งคำเอก

โคลงสี่สภุ ำพ ตวั อย่ำงโคลงส่ีสภุ ำพที่ใช้คำตำยแทนคำเอก นำคีมีพิษเพีย้ ง สรุ ิโย เลือ้ ยบท่ ำเดโช แช่มช้ำ พิษน้อยหยิ่งโยโส แมงป่ อง ชแู ต่หำงเองอ้ำ อวดอ้ำงฤทธี • คำว่ำ พิษ อวด เป็นคำตำย ท่ีใช้แทนตำแหน่งคำเอก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook