Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5

หน่วยที่ 5

Published by janecute420, 2021-09-08 02:14:19

Description: พื้น

Search

Read the Text Version

115                                                  

116   คําสงั่ จงเลือกคําตอบท่ีถูกตองทสี่ ุดเพยี งขอ เดียวจากคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. โครงสรา งใดทําหนา ทีร่ องรับนํา้ หนกั ในแนวดง่ิ ก. เสา ข. ตง ค. คาน ง. พื้น 2. ขอ ใดกลาวถกู ตอ ง ก. เสาปลอกเดีย่ วและเสาปลอกเกลียวรับนา้ํ หนักไดเทา กนั ข. เสาปลอกเดี่ยวรับน้ําหนกั ไดด กี วา เสาปลอกเกลยี ว ค. เสาปลอกเกลียวรบั น้ําหนักไดดกี วาเสาปลอกเด่ยี ว ง. ผิดทุกขอ 3. เสารปู ทรงใดประหยัดแบบหลอสงู สุด ก. แบบเหล่ียม ข. สี่เหล่ียมจัตุรสั ค. ส่เี หลย่ี มผืนผา ง. วงกลม 4. สว นใหญอ าคารบา นพกั อาศยั หนาตัดเสานยิ มใชขนาดเทาไร ก. 0.20 × 0.20 เมตร ข. 0.25 × 0.25 เมตร ค. 0.60 × 0.60 เมตร ง. 0.60 × 0.80 เมตร 5. การถอดแบบเสาควรเรม่ิ ถอดแบบจากสวนใดกอ น ก. จากโคนเสา ข. จากสว นกลาง ค. จากสว นบน ง. ถกู ทกุ ขอ

117 6. ขนาดเล็กสดุ ของเหล็กแกนเสาเทากบั เทาไร ก. 15 มิลลิเมตร ข. 12 มลิ ลิเมตร ค. 9 มลิ ลิเมตร ง. 6 มิลลิเมตร 7. ขนาดเหลก็ ปลอกทีใ่ ชกบั งานเสาคอนกรีตเสรมิ เหลก็ บานพักอาศัยทัว่ ไปใชข นาดเทา ไร ก. 5 มิลลิเมตร ข. 6 มิลลิเมตร ค. 11 มลิ ลิเมตร ง. 13 มิลลิเมตร 8. ระยะการตอ มาตรฐานท่ใี ชใ นงานเหล็กทว่ั ไปการตอของเหลก็ จะใชขนาดเทาไร ก. 5 เซนติเมตร ข. 10 เซนติเมตร ค. 40 เซนติเมตร ง. 55 เซนตเิ มตร 9. การตอทาบเหล็กควรเลอื กตอทจ่ี ดุ ใด ก. จดุ ท่ีเกิดแรงดงึ สูงสดุ ข. จุดที่เกดิ โมเมนตต่ําสดุ ค. จดุ ทเ่ี กดิ โมเมนตสงู สุด ง. จุดที่เกิดแรงเฉอื นสงู สุด 10. การเทคอนกรตี เสาใชอัตราสวนผสมเทาไร ก. 1 : 2 : 5 ข. 1 : 2 : 4 ค. 1 : 2 : 3 ง. 1 : 2 : 2

118 5.1 ความหมายของเสา 5.2 การจําแนกประเภทของเสา 5.3 การประกอบและติดตัง้ เสาไม 5.4 การประกอบและติดต้ังเสาเหลก็ 5.5 การประกอบแบบและติดต้ังเสาคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 5.6 การผสมคอนกรตี และเทคอนกรตี เสา เสา เปนสวนประกอบทีต่ อขึ้นมาจากฐานราก สวนใหญต้ังในแนวด่ิง มีหนาตัดกลม ส่ีเหล่ียมหรืออื่น ๆ โดยวัสดุที่ใชทําเสาอาจเปนคอนกรีต เหล็ก ไม หรือผสม เชน คอนกรีตและเหล็กรูปพรรณ เสาถายน้ําหนัก บรรทุกต้ังแตช้ันหลังคาของอาคารลงสูฐานราก โดยเสาจะเช่ือมตอกับคานถายนํ้าหนักบรรทุกจากคานลงสู ฐานราก 1. แสดงความรเู ก่ยี วกับการกอ สรา งเสา 2. เลอื กใชว ัสดุและอุปกรณกอ สรางเสา 1. บอกความหมายและความสาํ คญั ของเสาได 2. บอกประเภทของเสาได 3. อธิบายหลกั การประกอบแบบและการติดตั้งเสาไมไ ด 4. อธบิ ายหลกั การประกอบแบบและการติดต้งั เสาเหล็กได 5. อธิบายหลักการประกอบแบบและการตดิ ตั้งเสาคอนกรตี เสรมิ เหล็กได 6. บอกวิธีการผสมคอนกรตี และเทคอนกรตี เสาได

119 เสา (Column) เปนสวนประกอบที่ตอขึ้นมาจากฐานราก สวนใหญต้ังในแนวด่ิง อาจมีหนาตัดกลม ส่ีเหลี่ยม หรืออื่น ๆ โดยวัสดุที่ใชทําเสาอาจเปนคอนกรีต เหล็ก ไม หรือผสม เชน คอนกรีต และเหล็ก รูปพรรณ เสา ทําหนาท่ีถายน้ําหนักบรรทุกต้ังแตช้ันหลังคาของอาคารลงสูฐานราก โดยเสาจะเช่ือมตอกับ คาน ถายนา้ํ หนักบรรทุกจากคานลงสฐู านราก 5.2.1 เสาไม เสาไม จะนิยมใชในอดีต เนื่องจากไมเปนวัสดุที่แข็งแรงพอควร หางาย ราคาไมแพง แต ปจจบุ นั ลดความนิยม เพราะราคาแพง หาขนาดที่ตอ งการไดยากขึ้น โดยเฉพาะเสาท่ีมีขนาดลําตนคอนขาง ใหญ ตองเปนไมเน้ือแข็ง มีตําหนินอย เสาไมมีขอดอยเกี่ยวกับความทนไฟและการพุพังหรือเสื่อมสลาย เนื่องจากความช้ืน มด ปลวก หรือแมลงอนื่ ๆ ดังรปู ท่ี 5.1 5.2.2 เสาเหล็ก เสาเหล็กแข็งแรงทนทานกวาเสาไม สามารถสั่งซื้อขนาดมาตรฐานตาง ๆ ได เหล็กแข็งแรง ทนทาน นํ้าหนักเบา กอสรางงาย รวดเร็ว แตมีปญหาเรื่องสนิมและความทนไฟ จึงอาจตองหุมดวยคอนกรีต หรอื ทาสกี ันสนิมทบั เสาเหล็กจะตอ งออกแบบรอยตอ ใหด ี โดยวธิ ีเชอ่ื มหรอื ใชส ลักเกลยี ว ดังรปู ที่ 5.1 รปู ท่ี 5.1 ตวั อยางหนา ตดั เสาไม และเสาเหล็กแบบตา ง ๆ (ท่ีมา : http://home.kku.ac.th/bchumn/highrise/column.html)

120 5.2.3 เสาคอนกรตี เสาคอนกรีต จะนยิ มใชมากทีส่ ดุ ในปจจุบนั เนื่องจากสามารถหลอขึ้นรูปตาง ๆ เชน อาจเปน เสากลม หรือเหล่ียม โดยท่ัวไปนิยมหลอเสาคอนกรีตหนาตัดสี่เหล่ียม เนื่องจากทําแบบหลองายกวา สวน หนาตัดกลมตองใชแบบหลอพิเศษ เสาคอนกรีตจะเสริมยืน (ท่ีมุมหรือรอบ ๆ หนาตัด และตลอดความยาว เสา) เพ่ือชว ยตา นทานนา้ํ หนักหรือแรงและเหล็กปลอกเด่ียว หรือเหล็กปลอกท่ีพันตอเนื่องเปนเกลียวรอบ ๆ เหลก็ ยนื โดยเหล็กปลอกจะชวยตานทานการวบิ ัติ เชน แตกปริหรอื ระเบดิ ทางดานขาง รูปที่ 5.2 ตัวอยา งเสา ค.ส.ล. รูปตดั ตา ง ๆ (ทม่ี า : http://home.kku.ac.th/bchumn/highrise/column.html) 1. ลกั ษณะของเสาคอนกรตี เสริมเหลก็ สามารถแบงเปน 2 ประเภท ดังนี้ (1) แบงตามลักษณะของแรงท่ีมากระทํา ลักษณะเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก แบงตาม ลักษณะของแรงที่มากระทาํ สามารถแบงไดเ ปน 2 ลกั ษณะ คอื (ก) เสาคอนกรตี เสริมเหลก็ ทร่ี บั แรงตามแนวศนู ยกลางแกนเสา (ข) เสาคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ท่ีรับแรงเยื้องศูนย (2) แบงตามขนาดความสูงของเสา ลักษณะเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก แบงตามขนาด ความสูงของเสา สามารถแบง ไดเ ปน 2 ลกั ษณะ คือ (ก) เสาส้ัน คือ เสาท่ีมีอัตราสวนความสูงตอดานแคบของเสา (เสาสี่เหล่ียม) หรือ อตั ราสวนความสงู ตอ เสนผา นศนู ยก ลางเสา (เสากลม) นอยกวา 15 (ข) เสายาว คือ เสาท่ีมีอัตราสวนความสูงตอดานแคบของเสา (เสาส่ีเหล่ียม) หรือ อัตราสวนความสูงตอเสนผาศูนยกลางเสา (เสากลม) มากกวา 15 ซ่ึงความสามารถในการรับนํ้าหนักของ เสาจะลดลง

121 2. ประเภทของเสาคอนกรีตเสรมิ เหลก็ สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังน้ี (1) เสาปลอกเด่ียว เปนเสาคอนกรีตที่เสริมเหล็ก โดยมีเหล็กยืน (ตั้งในแนวดิ่ง) รัดดวย เหล็กปลอก เปนวง ๆ ซ่ึงเหล็กปลอกที่รัดอาจจะมีวงเดียวหรือหลายวงได และการงอเหล็กปลอกจะงอเปน ฉาก (2) เสาปลอกเกลยี ว เปน เสาคอนกรตี ที่เสริมเหล็ก โดยมีเหล็กยืน (ต้งั ในแนวดงิ่ ) รัดดวย เหลก็ ปลอกท่ีเปน เกลียวรัดตอเนื่อง เสาประเภทน้ีจะรับแรงไดดีกวาเสาปลอกเด่ียวประมาณ 15% โดยปกติ จะใชกบั เสากลมหรือเสาหลายเหลย่ี ม (3) เสาปลอกเกลียวเสรมิ แกนเหลก็ จะมีลักษณะเหมือนกับเสาปลอกเกลียวธรรมดาแต จะมีเหล็กรูปพรรณเสริมอยูตรงแกนกลาง สวนใหญใชเหล็กรูปตัวไอ (I) หรือเหล็กรูปตัวเอช (H) พนื้ ท่ีหนาตดั ของแกนเหล็กเม่ือเทยี บกับพืน้ ที่หนา ตัดคอนกรตี จะไมมากนัก โดยทั่วไปนิยมใชกับเสาท่ีมีแปน หชู า ง หรือใชเ มื่อตอ งการลดขนาดเสาใหเขากบั แบบสถาปตยกรรม เสาปลอกเกลียวเสรมิ แกนเหล็กสามารถ แบง ประเภทไดด งั นี้ (ก) เสาเหล็กหุมดวยคอนกรีต คลายกับเสาปลอกเกลียวเสริมแกนเหล็ก แตเหล็กที่ ใชตรงแกนนิยมใชเหล็กแผนหนา ๆ นํามาตัดเช่ือมหรือย้ําหมุดใหไดรูปหนาตัดเปนตัว “H” ขนาดใหญ และ หุมดวยตะแกรงเหล็กเบอร 10 AS&W Gage และมีคอนกรีตหุมไมนอยกวา 6 เซนติเมตร เสาชนิดนี้นิยมใช ในกรณีทต่ี อ งการใหเ สามีขนาดเล็กแตรบั นํ้าหนกั ไดม าก (ข) เสาคอนกรีตหุมดวยทอเหล็ก เปนเสาท่ีมีเปลือกนอกเปนเหล็ก ภายในเปน คอนกรีต ไมมีการเสริมเหล็กเพิ่มภายใน รับนํ้าหนักไมมาก และตรงปลายเสาตองใชแผนเหล็กหนา 3/8 นิ้ว หรือประมาณ 10 มิลลิเมตร เชือ่ มติดทอเหล็กเพื่อชวยในการกระจายน้าํ หนัก การประกอบแบบและการติดต้ังเสาไม สวนใหญนิยมใชไมที่ทําโครงสรางเสาขนาด 3\" × 3\", 4\" × 4\", 5\" × 5\" , 6\" × 6\" และ 8\" × 8\" มีความยาวตั้งแต 2.50, 3.00, 3.50, 4.00, 4.50, 5.00 และ 6.00 เมตร หนาตดั เสาสว นมากใชขนาดหนาตัด 0.20 × 0.20 เมตร เปนเสาส่ีเหลี่ยม จํานวนเสาสามารถดู ไดท ีแ่ บบกอ สรา ง หลังจากหลอเสาตอมอหรือลงเสาตอมอ ควรรอใหคอนกรีตเสาแข็งแรงเสียกอน โดยท้ิงไวอยางนอย 7 วัน หรือนานกวา หลังจากการหลอคอนกรีตควรใชไมยึดเสาเพื่อไมใหเสาเสียศูนย การบากเสาควรศึกษา แบบใหเขาใจ โดยดูที่รูปตัดจะแสดงความสูงไวชัดเจน การบากเสาท่ีจะตองตอกับเสาตอมอ และคานใน

122 ระดับพื้นชั้นลางควรศึกษาแบบขยายใหเขาใจ เสาตอมอจะบากปลายเสาไวประมาณคร่ึงหนึ่งของหนากวาง– เสา แลวเจาะรูเอาไวเพื่อรอยโบลทจํานวน 2 รู เย้ืองกัน นําเสาไมมาตอกับเสาตอมอในสวนรอยตอใหนํา คานไมวางนั่งบนบาเสาตอมอ คร่งึ ความหนาของคาน แนบประกบั อัดแนน แลว เจาะรูรอยโบลท หัวโบลทรอง ดวยแหวน นําตงไมวางประกับตั้งฉากกับคาน ตงตัวแรกจะวางแนบกับเสา ตงตัวท่ีสองวางหางออกมา 0.40–0.50 เมตร การเตรียมหัวเสา ระดับหัวเสา แนวรูโบลท และบาหัวเสาตอมอท่ีตอกับเสาไม หากหัวเสาแตกบ่ิน ควรแตงซอมใหเรียบรอย การบากหัวเสาไมจะวัดสวนท่ีจะตอแตละหัวเสา เพราะเสาไมแตละตนขนาดไม เทากัน เม่ือนํามาประกบกัน ทําใหรอยตอไมสนิท ชางจะนําแผนไมอัดหนา 4 มิลลิเมตร มาทาบหัวเสาตอมอ แลวขีดวัดสวนท่ีบากหัวเสาตอมอตามจริง นําไปเลื่อยออกตามรอยท่ีขีด และนําไปทาบกับเสาไม ขีดลงไป บนหวั เสาทจ่ี ะบากจะติดตั้งไดพอดี การบากหัวเสาแตละตน เม่ือเสร็จจะยกมาวางใกลหัวเสาตอมอท่ีจะยก ติดตั้ง ปลายเสาจะบากไวเพื่อติดต้ังอะเส และข่ือ เม่ือเวลายกเสาข้ึนต้ังสามารถติดอะเสหัวเสาได การเจาะ เสาไมเพ่ือรอยโบลทจะใชสวานเจาะไมที่มีดอกสวานขนาดใหญกวาขนาดโบลท การยกเสาไมเพ่ือติดต้ังให นําไมเครา ขนาด 1 1\" × 3\" ยาวประมาณ 0.80–1.00 เมตร มาทาบบนหนาของเสาตรงกลาง ตอกดวยตะปู 2 3 – 4 นิ้ว อยา งนอ ย 2 ตวั โดยใหไมกระชับติดกับเสาในสวนใกลปลายที่บากไวประมาณ 15–20 เซนติเมตร และสว นตรงกลางเสาใหขนานกนั โดยตอกตะปู 4 น้ิว เพียงตัวเดียว ลงบนหนาไมเคราในสวนกอนถึงปลาย ไมประมาณ 30–40 เซนติเมตร จุดท่ีจะตอกตองทดลองพาด โดยไมเคราจะทํามุม 30 องศาเซลเซียส กับ แนวดิ่งของเสาเมื่อต้ังแลว ปลายไมเคราท่ีจะยึดกับหลักควรเสมอกับระดับดิน ดังน้ันปลายไมเคราอาจจะ ยาวเกินหัวเสาที่บากประมาณ 2.00 เมตร เมื่อเสาตอมอสูงจากดิน 1.00 เมตร ทําการยกเสาโดยใชชางยก เสาจํานวน 5 คน ยกหัวเสาไมสวนท่ีจะตอกับหัวเสาตอมอมาอยูใกลกับเสาท่ีจะตอ โดยใหชาง 2 คนกดหัว เสาไมไวกับท่ี ชางจับด่ิง และตอกหลักชวยกันพยุงเสาใหปลายเสาดานที่จะยกใหสูงข้ึน ขณะยกเสาข้ึน ไมเคราใหแยกดันเสาไว ปลายไมเคราครูดอยูกับดินเสมอ เล็งแนวเสนเชือกของลูกดิ่งท่ีผูกไวกับไมระแนง 1 × 1 น้ิว หรือ 1 1 × 1 1 น้ิว เพ่ือดูแนวเสาใหตรง เมื่อต้ังเสาไดตรงใหกดไมเคราลงกับพื้นดินไมใหเสา 2 2 ขยับ จากนั้นตอกยึดกับไมหลักหมุดท่ีตอกลงบนพ้ืนดิน โดยไมหลักหมุดใชไมเคราขนาด 1.00–1.50 เมตร นําไมม าเส้ียมปลายไมใ หแ หลม ตอกเฉยี งลงดินทาํ มมุ 45 องศา– 60 องศา กับแนวนอน ดังรปู ท่ี 5.3

123 รปู ที่ 5.3 การประกอบแบบและการตดิ ต้งั เสาไม (ท่มี า : http://www.gotoknow.org/blogs) การประกอบตดิ ตงั้ เสาเหล็กกบั หัวฐานเสาตอมอ คอนกรตี เนอื่ งจากคอนกรีตสามารถทนหนวยแรงได นอ ยกวาเหลก็ มากตอพน้ื ที่หนาตัดทเี่ ทา ๆ กัน การถายแรงกดจากเสาเหลก็ ผา นไปยงั ฐานรากซ่ึงเปน ค.ส.ล. จําเปนตองลดขนาดหนวยแรงโดยการกระจายผานไปยังแผนเหล็ก (Base Plates) เมื่อขนาดหนวยแรง ลดลง ฐานราก ค.ส.ล. จึงจะสามารถทนแรงกดได แผนเหล็กตองมีความหนาพอสมควร เพื่อใหแรงกระจาย ไดในพน้ื ทีท่ ่มี ากกวา กรณมี ีแรงเฉือนในแนวระนาบท่ีถายมาจากเสา แผนเหล็กควรมีสวนท่ียื่นเปนเดือยเขา ไปในเนื้อคอนกรีต เพ่ือถายแรงในแนวระนาบได โดยเฉพาะในกรณีท่ีมีแรงดัดเกิดในเสา การออกแบบ Hinge ที่ฐานเสาจะใชในกรณีท่ีตองการลดแรงดัดท่ีอาจถายไปยังฐานราก เสาจะโยกไดโดยอิสระใน ลักษณะของ Hinge หรือ Pinned End ที่ฐาน เน่ืองจากจะตองมีการเชื่อม Flanges กับแผนเอวท่ีตัดให ปลายแหลมจําตองมีแผนเหล็กยึดที่รอยตอดวย ในการตอเสาเหล็กรูปพรรณที่มีขนาดความยาวมาตรฐาน วิธีการตอเสา คือ การตอปลายชนกัน (Butt Joint) โดยอาศัยการเชื่อม การตอลักษณะนี้ตองการลดความ หนาของเสาลง หรือวิธีการใชแผนเหล็กเชื่อมมาจากโรงงานพรอมเจาะรูสําหรับรอยน็อตเสร็จ ทําใหการ ประกอบทาํ ไดไ มค าดเคลื่อน การตดิ ตง้ั เสาเหล็กโดยการยดึ แผนเหล็กกบั ฐานราก การติดต้ังเสาเร่ิมจากจะตองตรวจสอบตําแหนงของเสา โดยการทําจุดศูนยกลางเสาไวท่ีฐานราก ตรวจสอบการไดดิ่งของเสา โดยตองตรวจสอบท้ังสองแกน และตรวจสอบตําแหนงของแผนเหล็ก ฐานเสา จะมีเหล็กเดือยเปนตัวยึด ในการเชื่อมแผนเหล็กที่เสากับแผนเหล็กท่ีฐานรากใหเวนชองไว 2 ชอง เพื่อเท

124 กาวอีพอกซ่ีเช่ือมประสานระหวางใตแผนเหล็กเสากับแผนเหล็กฐานราก เม่ือกาวไหลออกมาจากชองวาง แสดงวากาวอีพอกซี่ไดเขาไปเต็มท่ีใตแผนเหล็ก ใหทําการเจาะเสียบเหล็ก ∅ 6 มิลลิเมตร โดยมีระยะหาง 20 เซนตเิ มตร ทาํ การเทคอนกรีตหุมสวนทีเ่ หลือดวย Lean Concrete เม่ือเทคอนกรีตหุมโคนเสาเสร็จรอจน ไดอ ายุจึงกลบดว ยทรายหยาบ เพื่อสะดวกและงายตอการบดอัดใหแนน ดงั รูปท่ี 5.4 และรปู ที่ 5.5 รปู ท่ี 5.4 การประกอบแบบและการตดิ ตั้งเสาเหลก็ บนพืน้ คอนกรีต (ทมี่ า : http://www.windsor.co.th/product.php) รูป 5.5 การประกอบแบบและการติดต้งั เสาเหลก็ (ท่ีมา : http://www.eatc.co.th/content,43,1.html)

125 5.5.1 การเตรียมไมแ บบและเคร่ืองมอื เสาสําหรับอาคารบานพักอาศัย สวนมากมีขนาดหนาตัดเสา 0.20 × 0.20 เมตร ความสูง และระยะของชวงเสาสามารถอานจากแบบแปลน โดยวัดระยะความสูงจากชวงหลังคานคอดินถึงใตคาน ชวงบน ไมแบบท่ีใชจะเปนไมกระบาก ขนาด 1” × 8” ความยาวตองเผ่ือ 5–10 เซนติเมตร เพื่อแกปญหาที่ เกดิ กรณกี ารเทคอนกรีตคานคอดินต่ํา ไมเคราที่ใชทําไมเพลาะแบบมีขนาด 1 1/2” × 3” สมมติเสามีความยาว 2.70 เมตร ไมเครา เพลาะแบบจะมีระยะหางกัน 0.45 เมตร และจะใชไมเคราแบบจํานวน 6 อัน เสาหน่ึงตนใชไมแบบขนาด 1” × 8” ใชทั้งหมด 4 แผน แตตองเพลาะไมขนาดความกวาง 0.25 เมตร หน่ึงคูเสา ความกวางของแบบ ขนาด 0.25 เมตร ตองใชไมแบบ 1\" × 8\" 1 ทอน และ 1\" × 6\" 1 ทอน ไมแบบ 1\" × 6\" จะตองโกรกใหได ความกวาง 0.05 เมตร และเพลาะไมติดกันระหวางไมแบบ 1\" × 8\" และ1\" × 2\" จะไดความกวางของไม เทากับ 0.25 เมตร เคร่ืองมือการตั้งเสาจะตองเช็คแนวดิ่งของเสา เพราะฉะนั้นเคร่ืองมือมีดังน้ี ลูกด่ิง คอน เชือก ไมระแนง เปน ตน 5.5.2 การสรางแบบเสา การสรางแบบเสามีขัน้ ตอนดังตอ ไปนี้ แบงไมเคราท่ีเพลาะออกเปนสองชุด ชุดแรก เปนเคราท่ีจะใชกับแบบที่มีความกวาง 0.25 เมตร โดยนําไม 1\" × 6\" น้ิว กับไมที่ซอย 2 นิ้ว จะไดความกวางของหนาไมมากกวา 0.25 เมตร กําหนดวิธี ตัดไมเคราโดยวัดระยะ 0.25 เมตร ลงตอนกลางของเคราท่ียาว 0.45 เมตร ใหขีดเสนตั้งฉากกับความยาว ตลอดหนาตัดไมเครา และวัดระยะ 0.25 เมตร หัวใหออกไป 0.05 เมตร ทําท้ังสองขาง เพื่อใชลิ้นในการ ประกอบแบบเสา นําขอขดี แบงไมท่ีขีดออก ใชส ่วิ ตอกตามแนวทข่ี ีด สว นเครา อีกชดุ ความยาว 0.45 เมตร เทากัน การประกอบไมแบบ 1\" × 8\" ขนาดความกวาง 0.20 เมตร การวัดความกวางลงในสวนบนของเครา วัดจากจุดแบงออกไปทั้งสองขางดานละ 0.10 เมตร แลวขีดเสนท่ีชองกวาง 0.20 เมตร วัดเสนน้ีออกไป 0.025 เมตร และ 0.05 เมตร รวมเปนระยะ 0.075 เมตร จะเหลือระยะตอนปลายขางละ 0.05 เมตร แบงครึ่งไมเครา 0.05 เมตร ตัดไมจนครบจํานวนท่ีกลาวไว ขางตน

126 ใหวัดระยะลงไมแผนยาว 2.70 เมตร โดยวัดจากตีนแบบข้ึนมา 0.05 เมตร ขีดเสนจากไม แบบ และจากปลายแบบเสาใหวัดลงมา 0.10 เมตร ใหเฉล่ียระยะใหหางเทา ๆ กันจะไดประมาณ 0.51 เมตร ของไมแ บบแตตองไมลมื วาตอ งเปนคานหลังของไมแบบท่สี ัมผัสคอนกรีต เคราไมแบบกวาง 0.25 รองใตไมแบบหงายดานสัมผัสคอนกรีตขึ้นทาบมุม ตามแนวท่ีขีดไว ใหตรงกับริมของไมเครา ไมแบบหนา 8\" ตอกตะปู 2 ตัว ขนาด 2\" ลงบนหนาไม ใหยึดติดกับเคราทุกตัวท่ี รองตามแนวที่แบงท้ังหมด ริมไมจะพอดีกับรอยตัด ระยะของแบบเสาอาจจะลดลง ตองระวังการตอกตะปู ไมใหยึดติดกับเคราทุกตัวท่ีรองตามแนวท่ีแบงทั้งหมด ตองเช็คขนาดของแบบชัดเจน เพราะจะทําใหเสียท้ัง ของและเวลา จากนั้นใหทําการตอกไมเคราประกบลงในไมแบบขนาด 0.20 เมตร นําเคราแบบอีกชุด ประกบศูนยกลางไมแบบเหลานี้จะนาํ มาประกอบกัน การทําลิ่ม หน่ึงตนใชล่ิม 24 ตัว โดยใหความหนาตอนกลางของล่ิมประมาณ 0.010 เมตร โดยตัดจากไมเครา 1 1\" × 3\" ใหเอียงตามความตองการ การใชล่ิมเพื่อบังคับไมใหมีการเลื่อน และเปน 2 ตวั ลอ็ คไมใหแบบขยบั หลังจากเทคอนกรีตสามารถถอดแบบไดโ ดยงาย ดงั รปู ที่ 5.6 แบบ 2 ชน้ิ ประกอบกนั 0.25 0.20 1คร1า/2ว\"เพxล3า\"ะ@แบ0บ.60 1คร1า/ 2ว\"เพxล3า\"ะ@แบ0บ.60 0.10 แบบ 2 ชนิ้ ประกอบกนั 1คร1า/2ว\"เพxล3า\"ะ@แบ0บ.60 เหลก็ แกนเสา ลมิ่ สอด 2 ทาง เหลก็ ปลอก ซอยไมแ บบ 4\" แลว เพลาะ ผกู ลกู ปนู 4 ดา น 2.50 คานทห่ี ลอ แลว ไมแ บบ 1\" x 6\" คานค.ส.ล. ทหี่ ลอ แลว ไมแ บบ 1\" x 8\" 0.025 A/2 (ความหนาไมแ บบ) A A/2 0.025 0.05 0.05 เสน แบง ครง่ึ ตอกตะปตู ดิ กอ น ขศนดูี เยสก น ลลางงมเสาาขา งคาน 0.05 (โผลห วั 1 ซม.แลว พบั เพอื่ ถอนเมอ่ื ถอดแบบ) 0.45 0.05 0.05 0.05 0.05 สอดลม่ิ สอด 2 ทางทกุ มมุ 1 0.25 0.45 3 2 รูปที่ 5.6 การสรา งแบบเสา

127 5.5.3 การเสรมิ เหล็กในเสาคอนกรตี แบบตางๆ เหล็กถูกนํามาใชเปนสวนประกอบของโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก คุณสมบัติของเหล็ก โดยทว่ั ไปสามารถรบั ไดท ้งั แรงดงึ และแรงกด เสาคอนกรีตจะมเี หลก็ เสรมิ อยูเ พื่อชวยรบั แรงกด เพราะเหล็ก รับแรงกดไดมากกวาคอนกรีต การใสเหล็กในเสาจะทําใหหนาตัดของเสาเล็กลง หนวยวัดคุณสมบัติของ เหล็กเปน แรง/พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปนกิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร โดยเหล็กเสนกลมเรียกวาเหล็ก RB 24 คอื เหล็กรับแรงดงึ ได 2,400 กิโลกรมั /ตารางเซนติเมตร สว นเหล็กขอออ ย เรยี กวา เหล็ก SD 30 หรือ SD 40 รับแรงดึงได 3,000 และ 4,000 กโิ ลกรัม/ตารางเซนตเิ มตร 1. การเรียงเหล็กแกนเสา การเรียงเหล็กแกนเสาควรทําความสะอาดเหล็กกอนมิใหมีสนิมหรือสารเคลือบตาง ๆ ท่ี ทําใหมีผลตอการยึดหนวงระหวางเหล็กกับคอนกรีต จากน้ันเรียงเหล็กใหถูกตองตามแบบ ชองหางของ เหล็กท่ีวางตองมีระยะตามท่ีกําหนด และสามารถใหหินผสมคอนกรีตผานได ซ่ึงมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนด ไมนอยกวา 25 มิลลิเมตร โดยปกติเหล็กแกนเสาจะตองหักงอปลายเหล็ก การงออาจงอเหล็กเปนมุม 60º และมุม 90º โดยรัศมีการงอโคงภายในเทากับ 2D และระยะจากจุดโคงถึงปลาย 4D – 6D ใหถือวา D เปน ขนาดของเหล็กเสริม สว นทตี่ ดั กนั จะตองทําการยดึ แนน อยา งดี ระยะหางระหวางแบบหลอ กับเหล็กเสริม ให ถูกตองตามแบบของระยะหุมคอนกรีต หลังทําเสร็จใหวิศวกรตรวจสอบความเรียบรอยของงานทุกข้ันตอน และไมควรปลอยเหล็กไวนานอาจทําใหเหล็กเปนสนิม ควรเทคอนกรีตหลังจากผูกเหล็กเสร็จ ดังรูปที่ 5.7 และ รปู ที่ 5.8 รูปท่ี 5.7 การงอเหล็กกลมและเหลก็ ขอ ออ ย (ท่มี า : http://www.prelimdesign.com)

128 รปู ท่ี 5.8 การงอเหลก็ ปลอก (ที่มา : http://www.prelimdesign.com) 2. การตอทาบเหลก็ การเสริมเหลก็ เสาจะตอ งมีการตอทาบระหวางชนั้ ตองเผอื่ เหลก็ ใหเ พยี งพอตอการตอ ทาบในกรณที ม่ี กี ารดุง เหล็กความลาดชนั ไมค วรเกิน 1 : 6 ดงั รูปท่ี 5.9 รปู ที่ 5.9 การตอทาบเหลก็

129 3. เหล็กปลอกเสา เหล็กปลอกเสาที่รัดรอบแกนเสาแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก เหล็กปลอกเด่ียวและเหล็ก ปลอกเกลียว โดยเหล็กปลอกเกลียวนิยมใชกับเสารูปรางกลม เสาปลอกเกลียวสามารถรับน้ําหนักได มากกวาเสาปลอกเดีย่ ว เน่อื งจากเหล็กปลอกเกลียวที่พนั โดยรอบชว ยตานทานการแตกของคอนกรีตภายใน ไดมากกวา เหลก็ ปลอกเดย่ี ว ดงั รปู ท่ี 5.10 รปู ที่ 5.10 เหล็กปลอกเสา 5.5.4 การตดิ ตงั้ ประกอบแบบเสาคอนกรีตเสริมเหลก็ ขั้นตอนการกอสรางเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ตรวจสอบในแบบเพื่อใหทราบขนาด ความยาว ความสูงของเสา เสริมเหล็กแกนเสาและเหล็กปลอกใหไดตามแบบกอสรางระบุไว ตองจัดใหมุมของเหล็ก ปลอกยึดเหล็กแกนเสาตามมุมทุกมุม โดยที่เหล็กแกนเสาไมหนีศูนย ในการตอทาบเหล็กแกนเสาจะตอง เปน ไปตามแบบกอ สรา งหรือมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนด เสาเหล็กแกนจะผูกลูกปูนติดเสา เพื่อบังคับใหเหล็ก อยูในแบบเสาระยะหุมของคอนกรีต 2.5 เซนตเิ มตร เม่อื เสริมเหลก็ เสร็จเรียบรอยแลวทําการติดต้ังแบบหลอ เสา การตัง้ แบบมกี รรมวิธีเปน ลาํ ดบั ขัน้ ตอนดังน้ี 1. ทาํ การแบงศูนยเ สา ขีดเสนกรอบเสาตามขนาดและขีดเสนแบงศูนยกลางเสาทุกตน ตองใหเสนลากเลย ออกมาปรากฏท่ีขางของคาน เหล็กย่ืนเสาถามีปญหาของการประกอบแบบไมควรแกโดยการกระทุงเหล็ก เพราะจะมปี ญหาเก่ยี วกบั การรับกําลัง กรณีน้ีจะตองใชชา งเหล็กแกไข โดยการผูกเหลก็ พยายามใหไดขนาด และแนว เพอ่ื ปองกันไมใหเ หลก็ แกนออกนอกแบบได ดงั รูปท่ี 5.11

130 เหล็กแกนเสา เหล็กปลอกเสา เหล็กบน ดุงเหล็กทั้ง 4 เสน ลูกปูน ใหตรงตําแหนง เเสพน่ือตทั้งี่ขแีดบหบาเศสูนายเ สา เหล็กลาง เสนขอบเสา เหล็กคอมา คาน ค.ส.ล. ที่หลอแลว เหล็กบน เหล็กปลอก ฐานรากครอบเสาเข็ม ค.ส.ล. เหล็กตองอยูใน ตาํ แหนงตลอดคาน เหล็กแกนลาง เหล็กคอมา รปู ท่ี 5.11 การประกอบเหลก็ แกนเสา เหล็กปลอก และการหยดุ เทคอนกรีตในคาน 2. ยึดเสาแบบ ตั้งเสาใหตรงศูนยและแนวของเสาโดยการท้งิ ดงิ่ ใชช า งไมอยา งนอย 3 คน ทงิ้ ด่งิ เสาใหไ ด แนว นําไมเครา 1 1\" × 3\" นํามาตอกหลัก ตีขาทรายติดกับแบบเสา นําไมเครา 1 1\" × 3\" ตีเคราชิดแบบ 2 2 ประกบแบบเสาดานบน ทําการเสียบเหล็กที่แบบหลอ หรือเสียบภายหลังถอดแบบหลอ แตตองอุดดวยปูน grout ยาวออกจากเสาประมาณ 30–40 เซนติเมตร เพื่อปองกันการราวเมื่อกอผนัง เช็คดิ่งทุกครั้งเพ่ือไมให เสามีขนาดผิดไปจากแบบ จากมาตรฐาน ว.ส.ท. ยอมใหขนาดของเสาคลาดเคลื่อนไปจากแบบในทางลบ ไมเ กนิ 6 มลิ ลิเมตร ในทางบวกไมเ กนิ 12 มลิ ลเิ มตร ดงั รูปท่ี 5.12

ตง้ั แบบเสาใหไ ดด งิ่ ทง้ั สองเหลย่ี มเสาแลว ยดึ ดว ยเครา 131 ครา วรดั ปากแบบ 1 1/2\" x 3\" ประกบั แบบเสา ครา วรดั ปากแบบ 1 1/2\" x 3\" ประกบั แบบเสา เหลก็ แกนเสา ครา วรดั ประกบปากแบบตลอดแนว แบบเสาไดด ง่ิ แลว ยดึ แนน ครา วรดั แบบเสา คานคอดนิ ค.ส.ล. คานคอดนิ ค.ส.ล. ครา วยดึ แบบชว งบน ไมพ น้ื วางพาดเพอื่ ยนื ครา วยดึ ตนี แบบ เทคอนกรตี ไดส ะดวก หลกั ยดึ ครา วตอกแนน กบั ดนิ กดปลายไมล งดนิ หลกั ยดึ ครา ว รูปที่ 5.12 การตัง้ แบบเสาประกอบดว ยการอดั แบบเสาใหไ ดดงิ่ และการรดั ปากแบบเพอื่ การยดึ และการเทคอนกรีตไดสะดวก

132 5.6.1 การหาระดับเทคอนกรีต การหาระดับเทคอนกรีต ทําโดยการเทียบจากระดับอางอิงในกรณีที่เปนเสาช้ัน 1 หากเปน เสาที่มีการกอสรางพื้นเสร็จแลวอาจเทียบระดับไดจากระดับพ้ืน การถายระดับควรเริ่มจากเสาตนหน่ึงโดย ใชสายยางพลาสติกใสใสนํ้าแลวถายระดับไปยังเสาตนอื่น ตอกตะปูจากดานนอกใหตะปูทะลุแบบเขาไป ภายในแบบเสา เสาทุกตนจะมีระดับหัวเสาเทากันหมด และราดน้ําสะอาดลงไปในแบบหลอใหชุม เพ่ือลด อณุ หภูมิ และปอ งกนั มใิ หแบบดดู น้ําจากคอนกรตี และชวยใหเ น้ือคอนกรีตเทไหลลงไดง ายข้ึน 5.6.2 วสั ดแุ ละการผสมของคอนกรตี คอนกรีตประกอบดวยวัสดุตาง ๆ ผสมกัน กําลังของคอนกรีตขึ้นอยูกับตัวประกอบหลาย อยาง เชน อัตราสวนการผสม การผสม การบม การเท ตลอดจนคุณภาพของปูนซีเมนต นํ้า และวัสดุผสม สวนผสมของคอนกรตี ประกอบดว ยสง่ิ ตาง ๆ ดงั น้ี 1. ปูนซีเมนต ปูนซีเมนตเปนสวนผสมสําคัญในการผลิตคอนกรีต เปนวัสดุท่ีใชในการ เคลือบวัสดุละเอียดและวัสดุหยาบใหเปนเน้ือเดียวกัน คอนกรีตยังแบงตามประเภทของปูนซีเมนตปอรต แลนดท ัง้ 5 ประเภท ดงั นี้ (1) ปูนซีเมนตปอรตแลนดธรรมดา สําหรับทําคอนกรีตท่ีไมตองการคุณภาพพิเศษกวา ธรรมดา ใชส าํ หรบั การกอสรา งตามปกตทิ ่วั ไป ไดแก ปนู ตราชา ง ตราพญานาคสเี ขียว ตราเพชรเม็ดเดียว (2) ปูนซีเมนตปอรตแลนดสําหรับทําคอนกรีต ท่ีเกิดความรอน และทนซัลเฟตไดปาน กลาง ไดแก ปนู ตราพญานาคเจด็ เศยี ร (3) ปูนซีเมนตปอรตแลนดแข็งเร็ว ใหกําลังสูงในระยะแรก ไดแก ปูนตราเอราวัณ ตรา พญานาคสแี ดง ตราสามเพชร (4) ปนู ซีเมนตป อรต แลนดเ กดิ ความรอ นตา่ํ นยิ มใชในการกอสรางคอนกรตี หลา (5) ปูนซีเมนตปอรตแลนดท นซลั เฟตไดสูง มีระยะการแข็งตวั ชา กวาปูนซีเมนตประเภทที่ หนง่ึ 2. วัสดุผสมหยาบ วัสดุหยาบโดยมากเปนหินยอย กรวด สามารถแบงประเภทของงาน ตามลกั ษณะของหนิ ไดดังนี้ (1) หินหนึ่ง มีขนาด 1\" – 3\" ใชสําหรับงานเทคอนกรีตในท่ีแคบ หรือบริเวณท่ีเหล็กเรียง 2 4 ถี่ ๆ เชน ครีบ พืน้ เสา และคาน

133 (2) หินสอง มขี นาด 3\" – 1\" ใชสําหรับคอนกรตี ทว่ั ๆ ไป 4 3. วัสดุผสมละเอียด วัสดุละเอียดจะใชทราย ทรายจะตองเปนทรายนํ้าจืด เม็ดคมและ สะอาด ทรายทใี่ ชใ นงานคอนกรีตเปน ทรายหยาบ คือสว นทีล่ อดผานตะแกรงเบอร 4 ท้งั วัสดผุ สมหยาบ และ ละเอียดนัน้ ตอ งสะอาด ปราศจากสารอนิ ทรยี  4. นํ้า นํา้ เปน สารท่ีทาํ ปฏกิ ริ ิยาเคมกี บั ปูนซีเมนตทําใหเ กดิ ความรอ น ผงปนู กลายเปนวุนเขา ยดึ เกาะวสั ดุหยาบและละเอยี ด ทําใหเ กิดความเหลวสามารถเทและกระทงุ ได นาํ้ ทใ่ี ชควรเปนน้ําสะอาดหรือ สามารถดื่มได จาํ นวนนาํ้ ท่ีใชขน้ึ อยกู บั สวนผสม และคุณสมบัติของปูนซีเมนต และวัสดุผสมอ่ืน ทั้งนี้ควรให มีความเหมาะสม ไมขนและเหลวจนเกินไป ปริมาณนํ้าท่ีใชจะบอกเปนอัตราสวนของน้ําตอซีเมนตโดย นํ้าหนัก โดยจะตองไมนอยกวา 0.35 ของน้ําหนักปูนซีเมนต หรือใชนํ้าประมาณ 14 – 21% ของปริมาตร คอนกรตี ท้ังหมด 5. ตัวเติมคอนกรีต เปนสารท่ีใชผสมลงไปในคอนกรีต เพื่อใหคอนกรีตใชงานไดดีข้ึน (Workability) ตามประเภทหรอื คุณสมบัติของสารท่ีเตมิ ลงไป ดงั น้ี 6. แคลเซียมคลอไรด (Calcium Chloride) เปนตัวตานทานอากาศหนาวเย็น ทําใหเกิด การกอตัวไดเร็วข้ึน ทั้งเปนตัวชวยบมในระยะตนดวย ควรใชแคลเซียมคลอไรดจํานวน 2% โดยนํ้าหนักของ ปูนซเี มนต ในอากาศหนาวจัดอาจเพ่มิ เปน 4% 7. สารผสมที่จะทําใหเกดิ การทาํ งานทีด่ ี (Workability Admixtures) เปนผง ประกอบขึ้น ดว ย Hydrated Lime, Diatomaceous Earth, Bentonite และ Fly Ash นาํ ผสมในโมหรอื ผสมกบั ปนู ซีเมนต แหง 8. ตัวเติมดูดอากาศ (Air–Entraining Agent) เปนตัวทําใหเกิดปฏิกิริยาเปนแก็ส โดยดึง อากาศเขาไปในสวนน้ันประมาณ 30–60% ใชประโยชนในการเปนฉนวนกันความรอน แตไมเหมาะเปน วัสดุโครงสราง ตัวเตมิ นี้ ไดแ ก ยางธรรมชาติ ไขสัตว สบซู ัลฟอเนท นา้ํ มัน ผงอลูมเิ นยี ม สังกะสี เปนตน 9. ตัวหนวง (Retarders) ใชในชวงการทํางานท่ีมีอากาศรอน ชวยใหคอนกรีตเกิดความ รอนขึ้นชา ๆ เพ่ือไมใหคอนกรีตที่เทในชวงแรกแข็งตัวกอนการเทครั้งตอไป โดยเฉพาะงานคอนกรีตหลา (Mass–Concrete) วิธีการผสมคอนกรีตมี 2 วิธี คือ การผสมดวยแรงมนุษย (Hand Mixing) และการผสมดวย เครอื่ ง (Machine Mixing) ในการผสมดวยแรงมนุษยจะใชกําลังคลุกสวนผสมใหเขากัน ซ่ึงใชเวลามากท่ีจะ ใหสวนผสมเขากันไดดี โดยนําทรายเกลี่ยบนกะบะแลวนําซีเมนตใสเกลี่ยทับลงไป คลุกจนเปนสีเดียวกัน จากนั้นนําหินหรือกรวดที่ลางแลวเททับหนาลงไป เกล่ียโดยเฉลี่ยใหความหนาเทากัน ใสนํ้าลงไปสวนใด

134 คลุกสวนนั้นใหเขากัน เม่ือไดที่ตักใสภาชนะไปเทยังท่ีตองการ ขอเสีย คือ มีความเหลวที่ตางกัน สวนการ ผสมดวยเคร่ืองใชโมในการผสมคอนกรีต หากโมผสมหมุนชามาก กําลังจะลดลง การผสมวัสดุลงโม ควร ทยอยใสมวลหยาบและน้ําลงไปกอน จึงคอยเติมมวลละเอียดและซีเมนตลงไป เวลาที่ใชสําหรับการผสม 1 นาที สําหรับเครื่องผสมธรรมดาที่จุ 1 ลูกบาศกหลา หรือนอยกวา และเพ่ิมข้ึนทุก 15 วินาที เม่ือสวนผสม เพ่ิม 1 ลกู บาศกห ลา สวนขนาดของเคร่อื งมตี ้ังแต 3 ลบ.ฟุต – 6 ลบ.หลา การผสมคอนกรีตเสาจะผสมเหลวกวาคอนกรีตท่ีเทลงคานหรือลงพื้น โดยงานกอสรางทั่ว ๆ ไปกําหนดใชคอนกรีต 1 : 2 : 4 แตการผสมคอนกรีตเสาอาจตองลดอัตราสวนของหินลง ใชอัตราสวน 1 : 2 : 3 ความขนเหลวควรใหคอนกรีตความยุบตัวไมเกิน 5 น้ิว ถามีความยุบตัวเกินจากนี้ คอนกรีตจะรับกําลัง ต่ํา สําหรบั สวนผสมในการเทเสาคอนกรีตที่มีขนาดใหญและใชเคร่ืองเขยา ความขนเหลวในการยุบตัวของ คอนกรีตไมเกินกวา 3 นวิ้ 5.6.3 การเทคอนกรตี เสา การข้นึ ไปเทและการสงคอนกรีตจะตีไมรัดแบบคูสามารถใชเปนท่ียื่นเทคอนกรีตได ระยะการ ตไี มร ัดแบบเสาควรตาํ่ ลงมาจากปากแบบเสาประมาณ 0.40–0.60 เมตร จะสามารถยืน่ เทคอนกรีตความสูง กําลังพอเหมาะ ใชคนงานเทคอนกรีตเสาอยางนอย 2 คน คนหนึ่งเทคอนกรีตลงบนเสา อีกคนกระทุง สวน การสงปูนใหคนเทคอนกรีตใสกระปองแลวโยนข้ึน จึงควรทํานั่งรานแลวใหคนสงปูนย่ืนบนน่ังรานเปนระยะ ควรเทปูนซีเมนตผสมกับทรายลงไปจํานวนหนึ่งกอน เพื่อท่ีเคลือบผิวแบบหลอและเหล็กเสริม เทคอนกรีต อาจเทโดยถังปูน กระบะ (Buckets) หรือเทผานทอผาใบ ซึ่งสามารถลดการแยกตัวของคอนกรีต อาจหยุด เทคอนกรีตที่ระดับตํ่ากวาทองคานประมาณ 2.50 เซนติเมตร เพื่อสะดวกตอการวางทองคาน และควร กระทุงการเทคอนกรีตเพื่อใหคอนกรีตมีความอัดแนน ขนาดของเหล็กที่ใชในการกระทุงควรใชเสนผาน– ศนู ยก ลาง 12 มลิ ลเิ มตร ปลายมน ระหวางเทคอนกรตี เคาะขา งแบบใหค อนกรตี ขยบั ตวั ลงแทรกใหเต็มแบบ เสา การกระทุงควรระวังอยาใหโดนเหล็กปลอก ถาแบบเสาแตกระหวางการเทควรรีบเปดแบบออก และทํา การลางแบบโดยใชนํ้าฉีดเขาไปแบบเสา เอาคอนกรีตออกจากแบบเสาใหหมด และทําการประกอบแบบ ใหม ดงั รปู ที่ 5.13

135 รปู ที่ 5.13 การเทคอนกรีตเสา (ทม่ี า : http://school.obec.go.th/nm_pb1/news.html) 5.6.4 การถอดแบบ เม่ือคอนกรีตแข็งตัวแลวประมาณ 3–5 วัน สามารถถอดแบบขางเสาไดซ่ึงอาจจะเร็วกวา ข้ึนอยูกับคอนกรีตผสมท่ีใช และจะทําการบมคอนกรีตทันที การถอดแบบใหคลายลิ่มรอบ ๆ งัดไมท่ียันขาง แบบจากดานบนลงมาขางลาง คอย ๆ เคาะแบบใหหลุดจากคอนกรีต เสาท่ีมีหนาตัดแคบ ๆ ไมควรใชแรง มากจะมีปญหาเกิดขึ้น เชน ไมควรใชไมงัดโคนเสาเพราะจะทําใหโคนเสาแตกราวได ถาถอดแบบเสาแลว เห็นโพรงโดยมองเหน็ เหล็กแกนเสา ใหชางทําการทุบท้ิงเสีย และประกอบเทคอนกรีตใหม เมื่อถอดแบบเสา แลวใหเ ก็บไวในทีไ่ มม คี วามช้ืนควรรวมอุปกรณต า ง ๆ ไวท ่เี ดยี วกัน จะไดสะดวกในการติดตัง้ ใหม 5.6.5 การบม คอนกรตี การบมคอนกรีตเปนการควบคุมและปองกันมิใหนํ้าในคอนกรีตระเหยออกจากคอนกรีตที่ แข็งตัวแลวเร็วเกินไป เน่ืองจากนํ้าเปนองคประกอบสําคัญที่สุดสําหรับปฏิกิริยาไฮเดรชั่น ซึ่งจะสงผลตอ กําลังของคอนกรีตโดยตรง จะตองบมคอนกรีตใหมีความช้ืนอยูเสมอเปนเวลาอยางนอย 7 วัน กําลังของ คอนกรีตจะคอย ๆ เพิม่ ขึ้น วิธีการบมคอนกรีตจะข้ึนอยูกับสภาพของงานคอนกรีตน้ัน ๆ เปนหลัก ลักษณะของการบม คอนกรีตสามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ การเพ่ิมความช้ืนใหคอนกรีต การปองกันการเสียน้ําของคอนกรีต และการเรง กาํ ลงั

136 1. การบมโดยการเพ่ิมความชื้นใหคอนกรีต การบมลักษณะนี้จะเพิ่มความช้ืนใหกับผิว คอนกรีตโดยตรง เพ่ือทดแทนการระเหยของน้ําออกจากคอนกรีต การบมลักษณะนี้สามารถทําไดหลายวิธี ดังตอไปนี้ (1) การขงั หรอื หลอ น้าํ เปนการทาํ นบกน้ั น้ําไมใ หน ้ําไหลออกจะใชก ับงานทางระดับ เชน พ้นื หรือถนน เปน ตน วัสดทุ ใ่ี ชทํานบอาจจะเปนดินเหนียวหรืออิฐ ขอควรระวังสําหรับวิธีน้ี คือ ตองระวังอยา ใหท ํานบก้นั นาํ้ พัง และหลงั จากบม เสรจ็ จะตองทําความสะอาดผวิ หนาคอนกรีต (2) การฉีดนํ้าหรือรดนํ้า เปนการฉีดน้ําใหผิวคอนกรีตเปยกอยูเสมอวิธีนี้ใชไดกับงาน คอนกรตี ท้ังในแนวดงิ่ แนวระดับ หรือแนวเอียง ขอควรระวงั คอื ตอ งฉดี นํา้ ใหท ัว่ ถึงทกุ สว นของคอนกรีต และ แรงดันน้ําตองไมแรงเกินไปจนชะเอาผิวหนาคอนกรีตที่ยังไมแข็งตัวดีออก วิธีน้ีสิ้นเปลืองนํ้ามาก และตอง อาศัยท่ที มี่ ีแรงดันน้ํามากพอ (3) การคลุมดวยวัสดุเปยกชื้น เปนวิธีท่ีใชกันมาก เพราะสะดวก ประหยัด และสามารถ ใชไ ดก บั งานทั้งแนวระดบั แนวดิ่ง และแนวเอยี ง วสั ดุทใ่ี ชคลมุ อาจจะใช ผาใบ กระสอบ หรือวัสดุอื่นท่ีอมน้ํา ขอ ควรระวัง คือวสั ดุท่คี ลุมตองเปยกชุม อยูเสมอ การคลุมตองคลุมใหวัสดุคลุมเหล่ือมกัน วัสดุที่ใชคลุมตอง ปราศจากสารท่ีเปนอันตรายตอคอนกรีตหรือทําใหคอนกรีตดาง สําหรับการคลุมงานคอนกรีตในแนวด่ิง ตองยึดวสั ดุคลมุ ใหแนน หนา ไมเลื่อนหลนลงมาได โดยเฉพาะเวลาทร่ี าดนา้ํ ซงึ่ จะตอ งทาํ เปน ประจาํ 2. การบมโดยการปองกันการเสียนํ้าจากเน้ือคอนกรีต วิธีการน้ีใชการผนึกผิวของ คอนกรีต เพ่ือปองกันมิใหความชื้นจากคอนกรีตระเหยออกจากเน้ือคอนกรีต การบมลักษณะน้ีสามารถ กระทําไดหลายวิธีดงั นี้ (1) การบมในแบบหลอ แบบหลอไมที่เปยกและแบบหลอเหล็ก สามารถปองกันการ สูญเสียความช้ืนไดดี วิธีน้ีจัดไดวางายที่สุด เพียงแคทิ้งแบบหลอใหอยูกับคอนกรีตท่ีหลอไวใหนานท่ีสุด เทาทจ่ี ะทาํ ได และคอยดูแลใหผ ิวดา นบนคอนกรตี มนี าํ้ อยู โดยนํา้ นน้ั สามารถไหลซมึ ลงมาระหวางแบบหลอ กับคอนกรีตได (2) การใชกระดาษกันนํ้าซึม เปนการใชกระดาษกันน้ําซึมปดทับผิวคอนกรีตใหสนิท เปน เวลาอยางนอ ย 3 วนั วิธีนีม้ กั นิยมใชก บั งานคอนกรีตแนวระดับ กระดาษกันนํ้าซึมน้ีเปนกระดาษเหนียว สองชั้นยึดติดกันดวยยางมะตอย และเสริมความเหนียวดวยใยแกว มีคุณสมบัติในการยึดหดตัวไมมากนัก เวลาที่เปยกและแหง ขอควรระวังในการใชกระดาษ คือ บริเวณรอยตอระหวางแผนจะตองผนึกใหแนนดวย กาวหรือเทป และกระดาษตอ งไมม ีรอ ยรอยฉีกขาดหรือชาํ รดุ

137 (3) การใชแผนผาพลาสติกคลุม สามารถใชกับงานโครงสรางทุกชนิด ขอควรระวัง คือ รอยตอและการชํารุดฉีกขาด และเนื่องจากมีนํ้าหนักเบาจึงตองระวังเรื่องการผูกยึด ปองกันลมพัดปลิว ดงั รูปท่ี 5.14 รูปที่ 5.14 การบม คอนกรีตดวยแผน พลาสตกิ (ทีม่ า : http://www.foremanblog.com/2011/09/home-construction.html) (4) การใชส ารเคมีเคลอื บผิวคอนกรีต เปนการพนสารเคมีลงบนผิวคอนกรีตเปนเย่ือบาง ๆ คลุมผิวคอนกรีตปองกันการระเหยออกของนํ้าในคอนกรตี ได การบมวิธีน้ีสะดวกและรวดเร็วแตคาใชจาย สงู การพนสารเคมีตอ งกระทาํ ในขณะท่ีผวิ คอนกรีตยังช้นื อยแู ละตอ งพนใหท ่ัวถึง ขอ ท่ีควรทราบ คือสารเคมี ประเภทน้ีจะทําใหการยึดเหนี่ยวระหวางคอนกรีตเดิมกับคอนกรีตท่ีจะเทใหมเสียไป จึงไมควรใชกับงาน คอนกรีตท่ีตองตอเติมหรือฉาบปูนในภายหลัง และหากใชสารเคมีฉีดพนแลวไมควรฉีดนํ้าซ้ํา เพราะน้ําจะ ไปชะลา งสารเคมอี อก 3. การบมดว ยการเรง กําลงั เปนการบมคอนกรีตดวยไอนํ้า โดยใหความชื้นและความรอน กับคอนกรีตที่หลอเสร็จใหม ๆ วิธีน้ีจะทําใหคอนกรีตมีกําลังสูงข้ึนโดยรวดเร็ว ชวยลดการหดตัว และเพิ่ม ความตานทานตอสารเคมที ี่เปนอันตรายตอคอนกรีต การบมคอนกรีตดวยวิธีน้ีสามารถทําไดสองวิธี คือการ บมดวยไอนํ้าที่มีความดันตํ่า และการบมดวยไอน้ําที่มีความดันสูง การบมดวยการเรงกําลัง นิยมใชกันใน งานอตุ สาหกรรมคอนกรีตสําเร็จ

138 เสา เปนสวนประกอบท่ีตอข้ึนมาจากฐานราก สวนใหญต้ังในแนวดิ่ง มีหนาตัดกลม สี่เหล่ียม หรือ อื่น ๆ โดยวัสดุท่ีใชทําเสาอาจเปนคอนกรีต เหล็ก ไม หรือผสม เชน คอนกรีตและเหล็กรูปพรรณ เสาจะถาย นํ้าหนักบรรทุกต้ังแตชั้นหลังคาของอาคารลงสูฐานราก โดยเสาจะเชื่อมตอกับคานถายน้ําหนักบรรทุกจาก คานลงสูฐานราก สําหรับอาคารบานพักอาศัย สวนมากมีขนาดหนาตัดเสา 0.20 × 0.20 เมตร ความสูง และ ระยะของชวงเสาสามารถอานจากแบบแปลน โดยวัดระยะความสูงจากชวงหลังคานคอดินถึงใตคานชวงบน การติดตงั้ เสาแตล ะประเภท จะตองตรวจสอบตําแหนงของเสาใหถูกตองตามรูปแบบที่กําหนด โดยการทําจุด ศูนยก ลางเสาไวที่ฐานราก เพอ่ื ตรวจสอบการไดดิ่งของเสา

139 คําส่งั จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. เสาแบงออกเปน กปี่ ระเภท อะไรบาง 2. หนา ทขี่ องเสาคืออะไร 3. วธิ ีการหาศูนยเสาโดยใชด ง่ิ มีวิธีอยางไร 4. แบบเสาใชไมแบบขนาดเทา ไร 5. ระยะการตีไมรัดแบบเสาควรตาํ่ ลงมาจากปากแบบเสาประมาณเทา ไร 6. เสาสั้นคืออะไร 7. เสายาวคืออะไร 8. เหลก็ แกนเสาจะตอ งหกั งอปลายเหลก็ ทาํ มุมก่อี งศา 9. รศั มกี ารงอโคง ภายในของเหลก็ แกนประมาณเทา ไร 10. การหยุดเทคอนกรีตเสา สามารหยุดเททร่ี ะดับต่ํากวา ทอ งคานประมาณเทาไร

140 คาํ ชี้แจง 1. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม ศึกษาคนควาขอมูลเก่ียวกับการประกอบแบบและการติดต้ังเสา แตล ะประเภท แลว สงตัวแทนกลมุ ออกมานําเสนอ พรอมแสดงรูปภาพประกอบตามกลุม ดงั นี้ กลมุ ที่ 1 เสาไม กลุมที่ 2 เสาเหล็ก กลุม ที่ 3 เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 2. ใหนักเรียนนําประสบการณเกี่ยวกับการดําเนินงานกอสรางการประกอบแบบและการติดตั้งเสาแตละ ประเภทที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน มาเลาใหเพ่ือนฟงหนาช้ันเรียน เพ่ือแลกเปลี่ยนการเรียนรูกัน พรอม ชวยระดมความคดิ เพอ่ื นําเทคโนโลยีใหมม าพฒั นาใหง านกอ สรา งอาคารมคี วามกาวหนา ทนั สมยั

141 แบบประเมนิ ผลกิจกรรมสงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คลและรายกลุม เสา ช่ือเร่ือง 2. หัวขอ อภิปราย 4. ชอ่ื กลุม 6. สมาชกิ กลุม 1. 3. 5. รายการประเมิน คะแนนเต็ม ผลคะแนน หมายเหตุ 1. การเตรยี มความพรอ มในการนาํ เสนอ 10 2. การมอบหมายหนา ทีก่ ลุม 10 3. ความรบั ผดิ ชอบ 10 ผล/คะแนน 4. การทาํ งานเปน ทมี 10 ดีมาก = 80–100 5. การแตง กาย/บคุ ลกิ ภาพ 10 ดี = 70–79 6. ความชัดเจนในการนําเสนอ 10 ปานกลาง = 60–69 7. การอภปิ รายกลมุ 10 พอใช = 50–59 8. ความชดั เจนในการนําเสนอ 10 ปรบปรุง = 0–49 9. การตอบขอซักถาม 10 คะแนนเตม็ 10. การจดั เกบ็ เครอื่ งมือ อปุ กรณ 10 รวม 100 คะแนน รวมคะแนนทไี่ ด

142 คาํ ส่ัง จงเลอื กคําตอบท่ถี ูกตองทส่ี ดุ เพียงขอเดียวจากคําถามตอ ไปนี้ 1. โครงสรางใดทําหนา ท่ีรองรับน้ําหนกั ในแนวดง่ิ ก. พ้ืน ข. เสา ค. คาน ง. ตง 2. ขอ ใดกลา วถกู ตอ ง ก. เสาปลอกเดยี่ วรับน้ําหนกั ไดด ีกวา เสาปลอกเกลยี ว ข. เสาปลอกเกลียวรบั นํ้าหนกั ไดด ีกวาเสาปลอกเดี่ยว ค. เสาปลอกเดย่ี วและเสาปลอกเกลยี วรับนาํ้ หนักไดเทากนั ง. ผิดทกุ ขอ 3. เสารปู ทรงใดประหยัดแบบหลอสงู สดุ ก. สี่เหล่ียมจัตรุ สั ข. สเ่ี หลีย่ มผืนผา ค. วงกลม ง. แบบเหลีย่ ม 4. สวนใหญอ าคารบา นพักอาศยั หนา ตดั เสานิยมใชข นาดเทาไร ก. 0.20 × 0.20 เมตร ข. 0.60 × 0.60 เมตร ค. 0.60 × 0.80 เมตร ง. 0.25 × 0.25 เมตร 5. การถอดแบบเสาควรเริ่มถอดแบบจากสว นใดกอน ก. จากสว นบน ข. จากสว นกลาง ค. จากโคนเสา ง. ถูกทกุ ขอ

143 6. ขนาดเลก็ สุดของเหลก็ แกนเสาเทา กับเทา ไร ก. 6 มลิ ลิเมตร ข. 9 มลิ ลเิ มตร ค. 12 มลิ ลเิ มตร ง. 15 มลิ ลิเมตร 7. ขนาดเหล็กปลอกทใี่ ชกับงานเสาคอนกรีตเสริมเหล็กบานพักอาศัยทัว่ ไปใชข นาดเทา ไร ก. 6 มลิ ลเิ มตร ข. 5 มิลลิเมตร ค. 11 มลิ ลเิ มตร ง. 13 มิลลเิ มตร 8. ระยะการตอมาตรฐานท่ใี ชในงานเหลก็ ท่วั ไปการตอ ของเหลก็ จะใชขนาดเทาไร ก. 40 เซนติเมตร ข. 5 เซนติเมตร ค. 55 เซนตเิ มตร ง. 10 เซนตเิ มตร 9. การตอทาบเหลก็ ควรเลอื กตอทจ่ี ดุ ใด ก. จดุ ท่ีเกิดโมเมนตต ่ําสดุ ข. จดุ ท่ีเกิดโมเมนตส ูงสดุ ค. จุดท่เี กิดแรงเฉอื นสูงสุด ง. จุดทีเ่ กดิ แรงดงึ สงู สดุ 10. การเทคอนกรีตเสาใชอตั ราสวนผสมเทา ไร ก. 1 : 2 : 2 ข. 1 : 2 : 3 ค. 1 : 2 : 4 ง. 1 : 2 : 5

144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook