Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บท1

บท1

Published by 6032040052, 2018-09-02 21:43:33

Description: บท1

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 1การสอ่ื สารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เบอื้ งตน้ เสนอ ครู เพยี รวทิ ย์ ขามณี จดั ทาโดย น.ส.ศริ วิ รรณ์ เรอื งทพิ ย์ ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ (ม.6) เลขท่ี 8

ความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกับเครอื ข่าย การประดิษฐ์คอมพวิ เตอร์ในสมัยแรกมีจุดประสงค์ เพือ่ จะให้คอมพวิ เตอร์ทางานบางอยา่ งแทนมนุษย์ เชน่ การคานวณเลข เพราะคอมพิวเตอรส์ ามารถคานวณได้เร็วกวา่ อกี ท้งั ยงั มคี วามแมน่ ยาและมคี วามผิดพลาดนอ้ ยกว่ามนษุ ย์การทางานน้นั ถา้ จะใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสงู จะต้องทาเป็นหมคู่ ณะ หรือทมี เวิร์ค(Teamwork) คอมพวิ เตอร์ก็เชน่ กันหากทาการเชือ่ มตอ่ กนั เปน็ เครอื ข่าย ก็ย่อมมปี ระสิทธิภาพมากกวา่ การทางานแบบเด่ยี ว ๆ การทางานเป็นกลมุ่ ของคอมพวิ เตอรน์ จี้ ะเรยี กวา่ “เครอื ข่าย” (Network)

ความหมายของเครอื ขา่ ย และการสอ่ื สารการสอ่ื สาร(communication) หมายถงึ กระบวนการถ่ายทอดหรอืแลกเปลี่ยนสารหรือสอ่ื ระหว่างผสู้ ง่ กบั ผูร้ ับโดยสง่ ผา่ นช่องทางนาสารหรอื สื่อเพือ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกันการสอ่ื สารข้อมูล(datacommunication) หมายถึงกระบวนการหรือวธิ ีถา่ ยทอดข้อมลู ระหว่างผูใ้ ชก้ บั คอมพวิ เตอร์ท่มี กั จะอย่หู ่างไกลกัน และจาเปน็ ตอ้ งอาศัยระบบการสื่อสารโทรคมนาคม (telecommunication) เปน็ สือ่ กลางในการรบั สง่ ข้อมูลเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) หมายถงึ การเชอ่ื มโยงระหวา่ งเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ตัง้ แต่ 2 เครือ่ งขน้ึ ไป เพ่อื ให้สามารถส่อื สารและแลกเปลีย่ นข้อมูล รวมทงั้ สามารถใช้อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ภายในเครอื ขา่ ยรว่ มกนั ได้ เช่น ฮารด์ ดิสก์ เครอื่ งพิมพ์ เป็นตน้

สว่ นประกอบของระบบสือ่ สาร ขอ้ มลู 1. ผ้สู ง่ (Sender) เป็นอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการสง่ ข่าวสาร (Message) เปน็ ตน้ ทางของการสอ่ื สารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสรา้ งข้อมลู เชน่ ผูพ้ ูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นตน้ 2. ผู้รบั (Receiver) เปน็ ปลายทางการสื่อสาร มหี น้าทร่ี ับข้อมลู ท่ีส่งมาให้ เชน่ผฟู้ งั เครื่องรับโทรทัศน์ เครอื่ งพิมพ์ เป็นต้น 3. สอ่ื กลาง (Medium) หรือตวั กลาง เปน็ เส้นทางการสอ่ื สารเพื่อนาขอ้ มูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สอื่ ส่งขอ้ มูลอาจเปน็ สายคู่บิดเกลยี ว สายโคแอกเชยี ล สายใยแก้วนาแสง หรอื คลน่ื ทีส่ ง่ ผา่ นทาง 4. ขอ้ มูลขา่ วสาร (Message) คือสญั ญาณอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ี่ส่งผา่ นไปในระบบสื่อสาร ซ่ึงอาจถกู เรยี กว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบง่ เปน็ 5รูปแบบดงั น้ี 4.1 ข้อความ (Text) ใชแ้ ทนตัวอกั ขระตา่ ง ๆ ซง่ึ จะแทนด้วยรหัสตา่ ง ๆเชน่ รหสั แอสกี เป็นต้น 4.2 ตวั เลข (Number) ใช้แทนตัวเลขตา่ ง ๆ ซง่ึ ตวั เลขไมไ่ ด้ถกู แทนดว้ ยรหัสแอสกแี ต่จะถกู แปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง 4.3 รปู ภาพ (Images) ข้อมลู ของรูปภาพจะแทนด้วยจดุ สีเรียงกันไปตามขนาดของรปู ภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสยี งจะแตกตา่ งจากข้อความ ตวั เลข และรปู ภาพเพราะขอ้ มูลเสียงจะเป็นสัญญาณตอ่ เนื่องกันไป 4.5 วดิ ีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลือ่ นไหว ซึง่ เกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วธิ กี ารหรอื กฎระเบียบทีใ่ ช้ในการสอ่ื สารขอ้ มูลเพอื่ ใหผ้ ้รู ับและผ้สู ่งสามารถเข้าใจกันหรอื คยุ กนั รู้เรื่อง โดยทัง้ สองฝงั่ ทั้งผู้รบั และผู้ส่งไดต้ กลงกนั ไว้ก่อนล่วงหนา้ แล้ว

การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารขอ้ มูล ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการส่ือสาร ทาให้เราหันมาให้ความสาคัญต่อการติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถติดต่อเช่ือมโยงข้อมูลถึงกันได้ทั่วโลก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของอินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ ก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ เป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจต่าง ๆส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการติดต่อสื่อสารส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันท่ีต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง จากจุดเริ่มแรกทาให้มีการใช้บริการด้านการส่ือสารโทรคมนาคมเพม่ิ มากข้ึน ไมว่ ่าจะเป็นการใช้งานผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเวบ็ ไซตเ์ พอ่ื การพาณชิ ย์ตา่ ง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลกั ดนั ในการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่อสารแบบอนาล็อกเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิทัล ทาให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้น และส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ลดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลซ่ึงสามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียง และวิดีโอ ไปพร้อม ๆกนั อกี ทั้งการใชด้ าวเทยี มสอื่ สารทาใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ภาพและเสียงข้ามซกี โลกได้อย่างรวดเรว็ รวมทัง้ การใช้เซลลูลาห์หรอื เครือข่ายไรส้ ายอ่นื ๆ

ประโยชนข์ องเครือข่าย คอมพิวเตอร์1. ความสะดวกในการจดั เก็บข้อมูล การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ซงึ่ อยูใ่ นรูปของสัญญาณอเิ ล็กทรอนิกสส์ ามารถจัดเกบ็ ไวใ้ นแผน่ บนั ทกึ ท่มี คี วามหนาแนน่ สูงได้2. ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติมกี ารสง่ ขอ้ มลู ดว้ ยสญั ญาณอิเลก็ ทรอนิกสจ์ ากจดุ หนง่ึ ไปยงั อีกจุดหน่ึงด้วยระบบดิจทิ ัล3. ความเรว็ ของการทางาน สัญญาณทางไฟฟา้ จะเดนิ ทางดว้ ยความเร็วเทา่ความเรว็ แสงทาใหก้ ารใช้คอมพวิ เตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึง่ ไปยงั อีกซกี โลกหนงึ่4. ประหยดั ตน้ ทนุ ในการสอื่ สารข้อมูล การเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอร์กันเป็นเครือข่าย เพือ่ สง่ หรอื สาเนาขอ้ มลู ไม่สูงนัก เมอ่ื เทียบกับการจัดส่งแบบวธิ อี ืน่5. สามารถเกบ็ ขอ้ มลู เป็นศนู ย์กลาง สามารถมขี ้อมลู เพยี งชุดเดียวในระบบเครอื ขา่ ยซึง่ ถอื เป็นขอ้ มูลสว่ นกลาง โดยในแตล่ ะแผนกในบริษทั สามารถดงึ ไปใชไ้ ดจ้ ากทเ่ี ดียวกัน6. การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ ในระบบเครอื ข่ายนนั้ จะทาใหส้ ามารถใชอ้ ปุ กรณ์คอมพวิ เตอรร์ ว่ มกนั ได้ โดยทอี่ ุปกรณต์ ัวนนั้ อาจต่ออย่กู ับเครอื่ งใดเคร่อื งหน่งึในเครอื ขา่ ย7. การทางานแบบกลมุ่ สามารถใช้ระบบเครอื ขา่ ยในการทางานในแผนกหรือกลุ่มงานเดียวกนั ได้เป็นอยา่ งดี

การส่อื สารโทรคมนาคม การสอ่ื สารโทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถงึ การตดิ ตอ่ ส่ือสารดว้ ยการรบั ส่งขอ้ มลู ขา่ วสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผา่ นสอ่ื กลางทเ่ี ชือ่ มตน้ ทางและปลายทางท่หี า่ งกัน โดยใช้อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์หลายรปู แบบ ตามกฎเกณฑ์ หรือระเบยี บวิธีการที่กาหนดขนึ้ ในแตล่ ะอปุ กรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถงึ การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอรต์ ง้ั แตส่ องเครอ่ื งขนึ้ ไป เพ่ือขยายขดี ความสามารถท่ีมจี ากัด ทาใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนข้อมูล หรือแบง่ ปนั ทรพั ยากรให้มกี ารใช้งานร่วมกัน โปรโตคอล (Protocol) หมายถงึ ระเบยี บวิธีการ มาตรฐาน หรอืกฎเกณฑใ์ นการตดิ ตอ่ ส่อื สาร ระหวา่ งกนั ของเคร่อื งมืออปุ กรณค์ อมพวิ เตอรต์ ่างๆ หรือ วิธที ีถ่ กู กาหนดขนึ้ เพ่ือการส่อื สารข้อมูล ซง่ึ ผู้ส่งขอ้ มลู จะต้องสง่ ขอ้ มลู ในรปู แบบตามวธิ ีการสอ่ื สารทตี่ กลงไวก้ บั ผู้รบั ขอ้ มลู จงึ จะสามารถสือ่ สารข้อมลู กันได้ อนิ เทอร์เนต็ (Internet) หมายถึง การเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์เขา้ ด้วยกนั ตามโครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet =Advanced Research Projects Agency Network) เปน็ หนว่ ยงานสงั กัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense -DoD) ถูกกอ่ ตง้ั เม่อื ประมาณ ปคี .ศ.1960(พ.ศ.2503) และไดถ้ กู พัฒนาเรอ่ื ยมา

ความน่าเชอ่ื และมาตรฐาน เครือข่าย ความน่าเชื่อถอื ของระบบเครอื ข่าย สามารถประเมนิ ไดจ้ ากความถขี่ องความล้มเหลวเครอื ขา่ ยทกุ ระบบมโี อกาสลม่ ได้เสมอ อยา่ งไรกต็ ามเครอื ขา่ ยที่ไดร้ บั การออกแบบท่ีดี หากเครือขา่ ยเกิดขอ้ ขดั ขอ้ งหรือล้มเหลวด้วยประการใดก็ตาม ควรสง่ ผลกระทบต่อผใู้ ชง้ านใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ เท่าทเี่ ปน็ ไปได้และหากเครอื ขา่ ยมีความถใี่ นการลม้ เหลวอยูบ่ ่อยครง้ั นัน่ หมายถึงเครอื ข่ายน่ันมคี วามน่าเชอื่ ถอื ตา่ระยะเวลาในการกู้คนื ระยะเวลาในการกู้คืนระบบ กรณีเครอื ข่ายลม่ หรอื เกดิข้อขดั ข้องใด ๆ หากการกู้คืนระบบสามารถแกไ้ ขได้ดว้ ยระยะเวลาอนั สั้น ย่อมดกี วา่ การกู้คนื ระบบทต่ี อ้ งใชร้ ะยะเวลายาวนาน โดยการกู้คืนหมายถงึ การกรู้ ะบบใหก้ ลบั คนื สภาพเดิมทส่ี ามารถใช้งานได้ รวมถงึ การกคู้ นื ขอ้ มลู กรณที ี่ข้อมลู เกดิความสูญเสยี ความคงทนตอ่ ข้อผิดพลาดเครอื ขา่ ยทีด่ ีจะต้องมรี ะบบป้องกนั ภยั ตา่ ง ๆ ทอี่ าจเกิดข้นึ จากเหตุการณใ์ ด ๆ ที่ไมค่ าดคิดได้เสมอไม่ว่าจะเป็นระบบไฟฟา้ รวมถึงภัยธรรมชาติที่ไมส่ ามารถคาดการณ์ลว่ งหนา้ ได้ ดังนนั้ ระบบเครอื ข่ายที่ดจี งึ ตอ้ งไดร้ บั การออกแบบใหม้ ีระบบสารองข้อมลู ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื รวมถึงอุปกรณ์สาคัญของระบบ หากทางานขดั ขอ้ ง อปุ กรณ์ตวั แทนสารถทางานแทนไดท้ ันที เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook