Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป PDF

แผนที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป PDF

Published by nujaree, 2020-07-21 23:55:58

Description: แผนที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป PDF

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ทวปี ยโุ รป แบง่ เป็ น 2 เรอื่ ง ลกั ษณะทางกายภาพของ ลกั ษณะทางสงั คม เศรษฐกิจ ทวีปยโุ รป และวฒั นธรรมของทวีปยโุ รป ทวปี ยโุ รป 1139

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ม. 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ทวปี ยโุ รป แผนการจัดการเรยี นรทู ้ ี่ 3 ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป เวลา 4 ชว่ั โมง 1140

1141

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป ทต่ี งั้ อาณาเขต และขนาด ทวปี ยโุ รป ตงั้ อยใู่ นซกี โลกเหนอื มพี นื้ แผน่ ดนิ ตดิ ตอ่ เป็ นผนื เดยี วกบั ทวปี เอเชยี จงึ เรยี กทวปี ทัง้ 2 นวี้ า่ ยเู รเชยี ทศิ เหนอื จดมหาสมทุ รอารก์ ตกิ ดนิ แดนทศิ เหนอื สดุ คอื แหลมนอรท์ เคป ทศิ ตะวันออกตดิ กับทวปี เอเชยี มเี ทอื กเขายรู ัล แมน่ ้ายรู ัล และทะเลแคสเปียนเป็ นพรมแดน ทศิ ใตต้ ดิ ตอ่ กบั ทวปี เอเชยี มเี ทอื กเขาคอเคซสั ทะเลดา และ ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นเป็ นพรมแดน ดนิ แดนทศิ ใตส้ ดุ คอื แหลมตารฟี า ในชอ่ งแคบยบิ รอลตาร์ สเปน ชอ่ งแคบยบิ รอลตาร์ ทศิ ตะวันตกจดมหาสมทุ ร แอตแลนตกิ ดนิ แดนทศิ ตะวนั ตก สดุ คอื แหลมโรกา โปรตเุ กส 1142

จงเตมิ คาตอบใหส้ มั พนั ธก์ นั ประเทศดงั ตอ่ ไปน้ี คอื หมายเลขใดในแผนที่ และมเี มอื งหลวงชอื่ วา่ อะไร โปแลนด์ 7 วอรซ์ อ เบลารสุ 3 มนิ สก์ ฝรั่งเศส 4 ปารสี นอรเ์ วย์ 9 ออสโล ยเู ครน 6 เคยี ฟ  ฟินแลนด์ 5 เฮลซงิ กิ ไอซแ์ ลนด์ 12 เรคยาวกิ สเปน 8 มาดรดิ บลั แกเรยี 1 โซเฟี ย ไอรแ์ ลนด์ 2 ดบั ลนิ เยอรมนี 10 เบอรล์ นิ สวเี ดน 11 สตอกโฮลม์ 1143

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป ประเทศ เนือ้ ท่ี ประชากร เมืองหลวง ทต่ี งั้ อาณาเขต และขนาด (ตร.กม.) (ล้านคน) ยุโรปตะวนั ออก ยโุ รป สาธารณรฐั เบลารุส 207,600 9.5 มนิ สก์ สาธารณรฐั บลั แกเรยี 110,912 7.3 โซเฟี ย เป็ นทวปี ทม่ี ขี นาดเลก็ เป็ นอนั ดบั สาธารณรฐั เช็ก 78,866 10.5 ปราก 2 ของโลก มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ สาธารณรฐั ฮงั การี 93,030 9.9 บดู าเปสต์ 5,984,350 ตารางกโิ ลเมตร สาธารณรฐั มอลโดวา 33,701 4.1 คีชีเนา (ไมร่ วมประเทศรัสเซยี ) มี สาธารณรฐั โปแลนด์ 312,758 38.5 วอรซ์ อ ประชากรประมาณ 737.5 โรมาเนีย 237,500 21.3 บคู าเรสต์ ลา้ นคน (พ.ศ. 2556) สหพนั ธรฐั รสั เซีย 17,075,383 143.5 มอสโก สาธารณรฐั สโลวกั 49,011 5.4 บราตสิ ลาวา ยเู ครน 603,701 45.5 เคียฟ 1144

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป ประเทศ เนือ้ ที่ ประชากร เมอื งหลวง ทต่ี ง้ั อาณาเขต และขนาด (ตร.กม.) (ล้านคน) ยุโรปเหนือ 1145 ราชอาณาจกั รเดนมารก์ 43,069 5.6 โคเปนเฮเกน สาธารณรฐั เอสโตเนีย 45,100 1.3 ทาลลนิ น์ สาธารณรฐั ฟินแลนด์ 337,032 5.4 เฮลซงิ กิ สาธารณรฐั ไอซแ์ ลนด์ 102,828 0.3 เรคยาวกิ ไอรแ์ ลนด์ 68,894 4.6 ดบั ลนิ สาธารณรฐั ลตั เวีย 63,701 2.0 รกี า สาธารณรฐั ลทิ วั เนีย 65,201 3.0 วิลนีอสั ราชอาณาจกั รนอรเ์ วย์ 400,906 5.1 ออสโล ราชอาณาจกั รสวีเดน 449,792 9.6 สตอกโฮลม์ สหราชอาณาจกั ร 244,110 64.1 ลอนดอน บรเิ ตนใหญ่และ ไอรแ์ ลนดเ์ หนือ

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป ประเทศ เนือ้ ท่ี ประชากร เมืองหลวง ทตี่ งั้ อาณาเขต และขนาด (ตร.กม.) (ล้านคน) ยุโรปใต้ 28,748 2.8 ตริ านา สาธารณรัฐโคโซโว เป็ นประเทศ สาธารณรฐั แอลเบเนีย 482 0.1 อนั ดอรร์ าลาเวลลา ราชรฐั อนั ดอรร์ า 3.8 ล่าสุดของทวปี ยุโรป ประกาศเป็ นรัฐ บอสเนียและเฮอรเ์ ซโกวีนา 51,129 4.3 ซาราเยโว สาธารณรฐั โครเอเชีย 56,537 11.1 ซาเกรบ็ เอกราชจากประเทศเซอร์เบียเมื่อ สาธารณรฐั เฮลเลนิก (กรซี ) 131,945 59.8 เอเธนส์ สาธารณรฐั อิตาลี 301,217 2.1 พ.ศ. 2551 มีเนื้อที่ 10,887 ตาราง- สาธารณรฐั มาซโิ ดเนีย 25,714 0.4 โรม สาธารณรฐั มอลตา 10.5 สโกเปีย กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.8 สาธารณรฐั โปรตเุ กส 246 0.03 วลั เลตตา สาธารณรฐั ซานมารโี น 91,462 7.1 ลิสบอน ล้านคน (พ.ศ. 2556) เมืองหลวงช่ือ สาธารณรฐั เซอรเ์ บีย 0.6 ซานมารโี น มอนเตเนโกร 62 2.1 เบลเกรด พริซตนี า 1146 สาธารณรฐั สโลวีเนีย 102,173 46.6 พอดกอรีตซา ราชอาณาจกั รสเปน 13,812 0.000826 ลบู ลิยานา นครรฐั วาตกิ นั 20,251 มาดรดิ 504,742 วาตกิ นั 0.438

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป ประเทศ เนือ้ ท่ี ประชากร เมอื งหลวง ทต่ี ง้ั อาณาเขต และขนาด (ตร.กม.) (ล้านคน) เวียนนา 1147 ยุโรปตะวนั ตกและยุโรปกลาง 8.5 บรสั เซลส์ 11.2 สาธารณรฐั ออสเตรยี 83,851 63.9 ปารสี 80.6 เบอรล์ นิ ราชอาณาจกั รเบลเยยี ม 30,513 0.04 ฟาดซุ สาธารณรฐั ฝร่งั เศส 551,458 0.5 ลกั เซมเบริ ก์ 0.04 สหพนั ธส์ าธารณรฐั 356,734 16.8 โมนาโก เยอรมนี อมั สเตอรด์ มั 8.1 ราชรฐั ลกิ เตนสไตน์ 161 เบริ น์ ราชรฐั ลกั เซมเบริ ก์ 2,587 ราชรฐั โมนาโก 1.95 ราชอาณาจกั ร 41,525 เนเธอรแ์ ลนด์ สมาพนั ธรฐั สวสิ 41,287 (สวิตเซอรแ์ ลนด)์

ทวปี ยโุ รป สบื คน้ ขอ้ มลู ของประเทศในทวปี ยโุ รปทก่ี าหนดให้ โดยใชแ้ ผนท่ี และตารางขอ้ มลู เนอ้ื ที่ จานวนประชากร และเมอื งหลวงของประเทศในทวปี ยโุ รป พ.ศ. 2556 ประเทศ ทต่ี ง้ั อาณาเขต และขนาด สเปน ตงั้ อยทู่ างตอนใตข้ องทวปี ยโุ รป ทศิ เหนือตดิ ตอ่ กบั ฝรั่งเศส ทศิ ตะวันออก ไอซแ์ ลนด์ ตดิ ตอ่ กับทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียน ทศิ ตะวันตกตดิ ตอ่ กับโปรตเุ กส ทิศใตข้ อง สเปนเป็ นจดุ ตา่ สดุ ของทวปี ยโุ รป คอื แหลมตารฟี า ในชอ่ งแคบยบิ รอลตาร์ ฮงั การี มีเนื้อที่ 504,742 ตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็ นอันดับ 1 ในยุโรปใต ้ เมอื งหลวงชอื่ มาดรดิ มปี ระชากร 46.6 ลา้ นคน ตัง้ อยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือ เป็ นส่วนหนึ่งของ ยุโรปเหนือ อยู่ระหว่างเกาะกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีอาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก ทิศใตต้ ิดต่อกั บ มหาสมทุ รแอตแลนตกิ เมอื งหลวงชอ่ื เรคยาวกิ มเี น้ือที่ 102,828 ตาราง- กโิ ลเมตร มปี ระชากรนอ้ ยทสี่ ดุ ในยโุ รปเหนอื ตัง้ อยู่ทางตะวันออกของทวปี ยุโรป มอี าณาเขตทศิ เหนือตดิ ตอ่ กับสโลวาเกยี ทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือตดิ ต่อกับยูเครน ทศิ ตะวันออกและ ทศิ ตะวันออก เฉียงใตต้ ดิ ตอ่ กับโรมาเนีย ทศิ ใตต้ ดิ ตอ่ กับเซอรเ์ บยี ทศิ ตะวันตกเฉียงใตต้ ดิ ตอ่ กบั โครเอเชยี และสโลวเี นีย ทศิ ตะวันตกตดิ ตอ่ กับประเทศออสเตรยี เมอื งหลวง ชอ่ื บดู าเปสต์ มเี นอื้ ท่ี 93,030 ตารางกโิ ลเมตร 1148

สงิ่ มหศั จรรย์ ในทวปี ยโุ รป สนามกฬี ากรงุ โรม Colosseum of Rome กรงุ โรม ประเทศอติ าลี สนามกฬี ากลางแจง้ แหง่ นเ้ี ป็ นสงิ่ กอ่ สรา้ งทม่ี ชี อื่ เสยี งของโลกอยา่ งหนง่ึ สรา้ งขน้ึ ในระหวา่ ง พ.ศ. 615–623 (ค.ศ. 72–80) ตวั สนามสรา้ งกอ่ ดว้ ยอฐิ และหนิ ขนาดใหญ่ วัดโดยรอบยาว 527 เมตร สงู 57 เมตร มี 4 ชนั้ ภายในมอี ัฒจันทรส์ าหรับคนดูจุไดป้ ระมาณ 80,000 คน ใตอ้ ัฒจันทรแ์ ละใตด้ นิ มหี อ้ งสาหรับ ขังนักโทษทร่ี อการประหารชวี ติ และสงิ โตหลายรอ้ ยหอ้ ง ใชเ้ ป็ นสถานทใ่ี หน้ ักโทษตอ่ สกู ้ ับสงิ โต ทอี่ ดอาหาร หากนักโทษฆา่ สงิ โตไดด้ ว้ ยมอื เปลา่ ก็รอดชวี ติ นอกจากนย้ี งั ใชเ้ ป็ นทปี่ ระลองฝี มอื ของทาสโดยใหต้ อ่ สกู ้ นั เอง ถา้ ฆา่ คตู่ อ่ สตู ้ ายไดก้ จ็ ะไดร้ ับ เกยี รตอิ ยา่ งสงู เมอ่ื อาณาจักรโรมนั เสอ่ื มลงสนามกฬี าแหง่ นจี้ งึ ถกู ขา้ ศกึ ทาลายหลายครัง้ หลายหนจนเหลอื แตซ่ ากอนั ใหญโ่ ตไวใ้ หช้ ม 1149

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ นกั เรยี นรหู้ รอื ไมว่ า่ 1. เขตหนิ เกา่ ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ภมู ปิ ระเทศแบง่ ได้ 4 เขต คาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ฟินแลนด์ มอี ะไรบา้ ง เป็ นเขตภมู ปิ ระเทศทเ่ี กดิ ในยคุ หนิ เกา่ เกดิ จากธารน้าแขง็ กดั เซาะ จนเทอื กเขาสงู สกึ กรอ่ น ลดระดบั ลงกลายเป็ น ทรี่ าบสงู ทาใหช้ ายฝั่ง เวา้ แหวง่ เป็ นอา่ วขนาดเล็ก มนี ้าลกึ เรยี กวา่ ฟยอรด์ เชน่ ชายฝั่งทะเลในนอรเ์ วย์ ภมู ปิ ระเทศแบบทส่ี งู เชน่ ทวิ เขาเชอเลน ในคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ทวิ เขาแกรมเปียน ในสกอตแลนด์ 1150

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 2. เขตทรี่ าบใหญต่ อนกลาง ตอนใตข้ องสหราชอาณาจักร ตะวนั ตกของฝร่ังเศส เบลเยยี ม เนเธอรแ์ ลนด์ เดนมารก์ ภาคเหนือ ของเยอรมนี โปแลนด์ ลทิ วั เนยี ลตั เวยี เอสโตเนยี ฟินแลนด์ และพน้ื ทสี่ ว่ นใหญข่ องรัสเซยี ตอนเหนอื ของทร่ี าบใหญ่ นอรเ์ วย์ ฟินแลนด์ ตอนกลาง เป็ นเปลอื กโลกหนิ เกา่ สวเี ดน เรยี กวา่ บอลตกิ ชลี ด์ ไดแ้ ก่ ชายฝั่งทะเลบอลตกิ ในฟินแลนด์ สวเี ดน และนอรเ์ วย์ เป็ นเขตทม่ี คี วามสาคญั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ประชากรอาศยั อยหู่ นาแน่น การคมนาคมทางบกสะดวก มแี มน่ ้าสายยาวไหลผา่ น ไดแ้ ก่ แมน่ ้าแซน ไรน์ เอลเบอ โอเดอร์ และวสิ ตลู า 1151

ทวปี ยโุ รป ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 3. เขตทรี่ าบสงู ตอนกลาง ทร่ี าบสงู ตอนกลางของฝร่ังเศส เรยี กวา่ มาซฟี ซองตราล ทร่ี าบสงู เมเซตา ตอนกลางของ ทรี่ าบสงู ภาคกลางและภาคใตข้ องเยอรมนี คาบสมทุ รไอบเี รยี ในโปรตเุ กสและสเปน เรยี กวา่ แบล็กฟอเรสต์ และทรี่ าบสงู โบฮเี มยี 1152 4. เขตภเู ขาหนิ ใหมต่ อนใต้ เกดิ จากการโกง่ ตัวของเปลอื กโลก เป็ นเขตภเู ขาหนิ ใหมท่ เ่ี ปลอื กโลก ยังไมส่ งบ ทาใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหวและ ภเู ขาไฟปะทบุ อ่ ยครัง้ ภเู ขาหนิ ใหมต่ อนใตเ้ ป็ นภเู ขาท่ี ตอ่ เนอื่ งกนั เป็ นแนวยาวและมคี วามสงู มาก เพราะมกี ารสกึ กรอ่ นพังทลายนอ้ ย ไดแ้ ก่ เทอื กเขาพเิ รนสี เทอื กเขาแอลป์ มยี อดเขาสาคญั คอื มงบล็อง เทอื กเขาแอเพนไนน์ เทอื กเขาไดนารกิ แอลป์ เทอื กเขาคารเ์ พเทยี น และเทอื กเขาคอเคซสั มยี อดเขาทส่ี งู ทส่ี ดุ ในทวปี ยุโรป คอื เมานตเ์ อลบรสุ สงู 5,642 ม.

สง่ิ มหศั จรรย์ ในทวปี ยโุ รป หอเอนเมอื งปิ ซา อติ าล:ี La Torre di Pisa, องั กฤษ: Leaning Tower of Pisa หอระฆงั ของครสิ ตศ์ าสนานกิ ายโรมนั คาทอลกิ ตัง้ อยทู่ เ่ี มอื งปิซา เป็ นหอทรงกระบอก 8 ชนั้ สรา้ งดว้ ยหนิ ออ่ น สขี าว สงู 55.86 เมตร น้าหนักรวม 14,500 ตัน มบี นั ได 293 ขนั้ แตเ่ อยี งทามมุ 3.97 องศา กาลเิ ลโอ ใชห้ อนท้ี ดลองเรอ่ื ง แรงโนม้ ถว่ ง โดยใชล้ กู บอล 2 ลกู ทน่ี ้าหนักไมเ่ ทา่ กนั ทงิ้ ลงมา เพอื่ พสิ จู นว์ า่ ลกู บอลนัน้ จะตกถงึ พน้ื พรอ้ มกนั ปี ค.ศ. 1934 เบนโิ ต มสุ โสลนิ ี พยายามจะทาใหห้ อกลับมาตัง้ ฉากดังเดมิ โดยเทคอนกรตี ลงไปที่ ฐาน แตก่ ลับทาใหห้ อยงิ่ เอยี งมากขนึ้ 27 กมุ ภาพันธ์ ค.ศ. 1964 รัฐบาลอติ าลพี ยายามใชเ้ หล็กรวมกวา่ 800 ตัน ค้าไวไ้ มใ่ หห้ อลม้ ลงมา ค.ศ. 1987 หอเอนเมอื งปิซาไดร้ ับการประกาศใหเ้ ป็ นมรดกโลก โดยเป็ นสว่ นหนงึ่ ของ Piazza Dei Miracoli และยงั เป็ น 7 สง่ิ มหศั จรรยข์ องโลกยคุ กลางอกี ดว้ ย 7 มกราคม ค.ศ. 1990 หอเอนเมอื งปิซาถกู ปิดเพอ่ื ความปลอดภยั อกี ทงั้ ยังขดุ ดนิ ของอกี ดา้ นหนง่ึ ออกเพอ่ื ใหส้ มดลุ ยง่ิ ขนึ้ และในวนั ท่ี 15 ธนั วาคม ค.ศ. 2001 หอเอนเมอื งปิซาไดเ้ ปิดให ้ นักทอ่ งเทยี่ วเขา้ ชมอกี ครัง้ และประกาศวา่ หอจะกลับสคู่ วามสมดลุ ไดใ้ นอกี 300 ปีตอ่ มา หลังจากเรมิ่ ทาการปรับปรงุ 1153

ทวปี ยโุ รป แหลง่ นา้ ในทวปี ยโุ รป นกั เรยี นรไู้ หมวา่ ...แหลง่ นา้ จดื ทสี่ าคญั ในทวปี ยโุ รปมกี สี่ าย แมน่ า้ แมน่ ้าสายสาคญั ของทวปี ยโุ รป สว่ นใหญเ่ กดิ จากเขตทสี่ งู และภเู ขา ภายในทวปี และไหลลงสทู่ ะเล มดี งั นี้ 1. แมน่ า้ วอลกา ยาวทส่ี ดุ ในทวปี ยโุ รป เกดิ จากเขตทส่ี งู ทาง ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของรัสเซยี ไหลลงทางใตส้ ทู่ ะเลแคสเปียน สามารถเดนิ เรอื ไดเ้ กอื บตลอดสาย 2. แมน่ า้ ดานบู ยาวเป็ นอนั ดบั 2 ของทวปี ยโุ รป ไหลจากตะวนั ตกไป ยงั ตะวนั ออก เกดิ จากเขตทสี่ งู ทาง ตะวนั ตกเฉยี งใตข้ องเยอรมนี ไหลลง สทู่ ะเลดา มที วิ ทศั นท์ ส่ี วยงาม 3. แมน่ า้ ไรน์ ในยโุ รปตะวนั ตก 4. แมน่ า้ นเี ปอร์ ในยโุ รปตะวนั ออก เกดิ บนภเู ขาทาง เกดิ บนเทอื กเขาแอลป์ ไหลลงสู่ ตะวนั ตกของกรงุ มอสโก ไหลลงสทู่ ะเลดา มเี ขอ่ื นผลติ ทะเลเหนอื สามารถใชเ้ ดนิ เรอื ได ้ กระแสไฟฟ้าและเพอื่ การชลประทานหลายแหง่ 1154

ทวปี ยโุ รป แหลง่ นา้ ในทวปี ยโุ รป ทะเลสาบนา้ จดื ไดแ้ ก่ ทะเลสาบทางภาคเหนอื 5. แมน่ า้ เอลเบอ ในยโุ รปกลาง ของทวปี ในคาบสมทุ ร เกดิ บนเขตทสี่ งู ในสาธารณรัฐเชก็ สว่ นใหญม่ ขี นาดเล็ก และเกดิ ไหลผา่ นเยอรมนลี งสทู่ ะเลเหนอื จากการกระทาของธารน้าแข็ง สแกนดเิ นเวยี ฟินแลนด์ รัสเซยี 6. แมน่ า้ ลวั ร์ ในฝร่ังเศส เกดิ บนทร่ี าบสงู มาซฟี ซองตราล ไหลลงสอู่ า่ วบสิ เคยใ์ นมหาสมทุ ร แอตแลนตกิ 7. แมน่ า้ วสิ ตลู า ในโปแลนด์ เกดิ บนเทอื กเขาคารเ์ พเทยี น ไหล ลงสทู่ ะเลบอลตกิ มกี ารขดุ คลองใช ้ ขนสง่ เชอ่ื มกบั แมน่ ้าโอเดอร์ 8. แมน่ า้ โอเดอร์ เกดิ บนเทอื กเขา ทางตะวนั ตกของสาธารณรัฐเชก็ เป็ นพรมแดนระหวา่ งโปแลนดแ์ ละ เยอรมนี ไหลลงสทู่ ะเลบอลตกิ ทะเลสาบในเขตภเู ขาและทส่ี งู ทาง ตอนกลางของทวปี เชน่ ทะเลสาบ ในสวติ เซอรแ์ ลนดแ์ ละอติ าลี 1155

จงตอบคาถาม แมน่ า้ ดงั ตอ่ ไปน้ี แมน่ า้ ทสี่ าคญั ในทวปี ยโุ รป มตี น้ กาเนดิ จากทใ่ี ด และไหลลงสทู่ ใ่ี ด แมน่ า้ วอลกา แมน่ า้ ดานบู ตน้ กาเนดิ : เขตทสี่ งู ทางตะวนั ตก ตน้ กาเนดิ :เขตทสี่ งู ทางตะวันตก เฉียงเหนอื ของรัสเซยี เฉียงใตข้ องเยอรมนี ไหลลงส:ู่ ทะเลแคสเปียน ไหลลงส:ู่ ทะเลดา แมน่ า้ ไรน์ แมน่ า้ นเี ปอร์ ตน้ กาเนดิ : เขตเทอื กเขาแอลป์ ตน้ กาเนดิ :เขตภเู ขาทางตะวนั ตก ในสวติ เซอรแ์ ลนด์ ของกรงุ มอสโก ไหลลงส:ู่ ทะเลเหนอื ไหลลงส:ู่ ทะเลดา แมน่ า้ เอลเบอ แมน่ า้ ลวั ร์ ตน้ กาเนดิ : เขตทสี่ งู ในสาธารณรัฐเชก็ ตน้ กาเนดิ : ทร่ี าบสงู มาซฟี ซองตราล ไหลลงส:ู่ ทะเลเหนอื ไหลลงส:ู่ อา่ วบสิ เคย์ แมน่ า้ วสิ ตลู า แมน่ า้ โอเดอร์ ตน้ กาเนดิ : เทอื กเขาทางตะวันตก ตน้ กาเนดิ : เทอื กเขาคารเ์ พเทยี น ของสาธารณรัฐเชก็ ไหลลงส:ู่ ทะเลบอลตกิ ไหลลงส:ู่ ทะเลบอลตกิ 1156

สงิ่ มหศั จรรย์ ในทวปี ยโุ รป กองหนิ ประหลาดสโตนเฮนจ์ Stonehenge สโตนเฮนจ์ ตงั้ อยกู่ ลางทงุ่ ราบกวา้ งใหญต่ อนใตข้ องเกาะองั กฤษ มที งั้ หมด 112 กอ้ น ตงั้ เรยี งกนั เป็ นวงกลมซอ้ นกนั 3 วง คาดวา่ ถกู สรา้ งขนึ้ เมอ่ื 5,000 ปีทแี่ ลว้ นักวทิ ยาศาสตรแ์ ละนักประวัตศิ าสตรต์ า่ งสงสยั วา่ คนสมยั กอ่ นยกแทง่ หนิ ทหี่ นักกวา่ 30 ตนั ขนึ้ ไปวางเรยี งกนั ไดอ้ ยา่ งไร และทน่ี ่าแปลกคอื บรเิ วณ ทร่ี าบดงั กลา่ วไมม่ กี อ้ นหนิ ขนาดมหมึ านี้ จงึ สนั นษิ ฐานวา่ ตอ้ งใชก้ ารชกั ลากแทง่ หนิ ทงั้ หมดมา จากทอ่ี น่ื ซงึ่ น่าจะมาจากบรเิ วณ \"ทงุ่ มารล์ โบโร\" ทไ่ี กลออกไปประมาณ 40 กโิ ลเมตร มผี สู ้ นั นษิ ฐานถงึ วัตถปุ ระสงคใ์ นการสรา้ งสโตนเฮนจห์ ลายประเดน็ แตท่ ไี่ ดร้ ับความเชอ่ื ถอื มากทส่ี ดุ คอื เป็ นสญั ลกั ษณถ์ งึ อวยั วะเพศหญงิ เป็ นสถานทส่ี าหรับทาพธิ กี รรมทางศาสนาของ ลทั ธดิ รอู ติ รองลงมาคอื ความเชอ่ื ทร่ี ะบวุ า่ ใชใ้ นการสงั เกตปรากฏการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ บนทอ้ งฟ้า สโตนเฮนจจ์ ัดเป็ นเจ็ดสง่ิ มหศั จรรยข์ องโลกยคุ กลาง 1157

ทวปี ยโุ รป ภมู อิ ากาศ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ สภาพภมู อิ ากาศ ทตี่ งั้ ทศิ ทางของลมประจา 1158 ทวปี ยโุ รปตัง้ อยรู่ ะหวา่ งละตจิ ูด 36 มลี มประจาตะวนั ตกพัดจาก กบั 71 องศาเหนอื หรอื อยใู่ นเขต มหาสมทุ รแอตแลนตกิ เขา้ ละตจิ ดู กลางถงึ เขตลจิ ดู สงู หาก สทู่ างตะวนั ตกของทวปี พด้ พจิ ารณาเฉพาะทตี่ ัง้ แลว้ เนอ้ื ทส่ี ว่ น พาความชน้ื จากมหาสมทุ ร ใหญข่ องยโุ รปอยใู่ นเขตอบอนุ่ สว่ น เขา้ สแู่ ผน่ ดนิ ทาใหย้ โุ รป นอ้ ยอยใู่ นเขตหนาว ตะวนั ตกมฝี นตกชกุ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ เป็ นทวปี ทมี่ ชี ายฝั่งเวา้ แหวง่ ดนิ แดนทางตอนใตข้ องทวปี จงึ อยู่ ไมห่ า่ งจากทะเล เป็ นทวปี เดยี วทไี่ ม่ มภี มู อิ ากาศแหง้ แลง้ แบบทะเลทราย พนื้ ทแี่ หง้ แลง้ ทสี่ ดุ สว่ นใหญอ่ ยหู่ ลัง แนวเทอื กเขาหรอื ลกึ เขา้ ไปในทวปี กระแสนา้ กระแสน้าทมี่ อี ทิ ธพิ ลมากทส่ี ดุ คอื กระแสน้าอนุ่ กลั ฟ์ สตรมี ในมหาสมุทร แอตแลนตกิ เรยี กวา่ กระแสน้าอนุ่ แอตแลนตกิ เหนอื ไหลเขา้ สชู่ ายฝั่ง ของเกาะ เกรตบรเิ ตน เกาะไอซแ์ ลนต์ และประเทศนอรเ์ วย์

ทวปี ยโุ รป ภมู อิ ากาศ เขตภมู อิ ากาศ แบง่ เป็ น 7 เขต ตน้ เชอรร์ ีในฝร่ังเศส ทงุ่ หญา้ กง่ึ ทะเลทราย ใช้ในการหมักทาไวน์ (BS) ป่ าไม้ผลัดใบ ปรมิ าณฝนคอ่ นขา้ งนอ้ ย ผสมป่ าสนในอิตาลี พชื พรรณธรรมชาตเิ ป็ นไมพ้ มุ่ เตยี้ เรยี กวา่ สเตปป์ เป็ นเขตปลกู ขา้ วสาลแี ละขา้ วโพด ทสี่ าคญั ของยโุ รป เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น (Cs) ชนื้ ภาคพนื้ ทวปี อบอนุ่ ชนื้ อากาศอบอนุ่ ในฤดหู นาว (Da) (Ca) และอากาศรอ้ นจัดในฤดรู อ้ น มปี รมิ าณฝนปานกลาง และตกใน ภมู อิ ากาศอบอนุ่ ฤดหู นาวแหง้ ฤดรู อ้ นมอี ากาศรอ้ น ไดร้ ับ ฤดหู นาวเพราะอทิ ธพิ ลของ แลง้ และคอ่ นขา้ งหนาว ฤดรู อ้ นมี อทิ ธพิ ลความชน้ื ตลอดปี มฝี นตก ลมตะวนั ตก พชื พรรณธรรมชาติ ตลอดปี พชื พรรณธรรมชาตเิ ป็ น ไดแ้ ก่ คอรก์ โอก๊ และไมพ้ มุ่ ฝนตกและอากาศอบอนุ่ พชื พรรณธรรมชาตเิ ป็ นป่ าไมผ้ สม ป่ าไมผ้ ลัดใบผสมกบั ป่ าสน มหี นาม สม้ องนุ่ มะกอก 1159

ทวปี ยโุ รป ภมู อิ ากาศ เขตภมู อิ ากาศ กงึ่ ขวั้ โลกหรอื ไทกา แบง่ เป็ น 7 เขต (Dc) ภาคพนื้ สมทุ รชายฝ่งั ตะวนั ตก ภมู อิ ากาศหนาวเย็น ฤดรู อ้ นมอี ากาศ (Cb) คอ่ นขา้ งหนาว ปรมิ าณฝนนอ้ ย สว่ นใหญต่ กเป็ นหมิ ะ พชื พรรณ มอี ากาศอบอนุ่ ชน้ื ฤดหู นาวไมห่ นาว จัด เพราะไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากกระแส ธรรมชาตเิ ป็ นป่ าสน เรยี กวา่ ป่ าไทกา น้าอนุ่ แอตแลนตกิ เหนอื อยใู่ นเขตลม ประจาตะวนั ตกพัดผา่ น ทาใหฝ้ นตก ชกุ ตลอดปี พชื พรรณธรรมชาตเิ ป็ น ป่ าไมผ้ ลดั ใบ ป่ าสน และป่ าไมผ้ สม ทนุ ดรา 1160 (ET) มอี ากาศหนาวเย็นมาก ฤดหู นาว ยาวนานถงึ 10–11 เดอื น ฤดรู อ้ นมี เพยี งปีละ 1–2 เดอื น ฝนตกในรปู หมิ ะและมปี รมิ าณนอ้ ยมาก พชื พรรณธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สาหรา่ ย ตะไครน่ ้า

หนาวทสี่ ดุ ในโลก! หมบู่ า้ นไซบเี รยี อณุ หภมู ิ -67 องศา เมอื งเล็ก ๆ แถบไซบเี รยี ของรสั เซยี เป็ นเมอื งทมี่ อี ากาศหนาวทส่ี ดุ ในโลก อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ตา่ กวา่ เกณฑท์ กี่ าหนดไว้ คอื -60 องศาเซลเซยี ส! เมอื งโอมยี าคอน ตัง้ อยเู่ หนอื ระดับน้าทะเล 750 เมตร มปี ระชากรประมาณ 500 คน แมว้ า่ สภาพ อากาศจะเลวรา้ ยเพยี งใด แตก่ ารใชช้ วี ติ ของประชาชนก็ไมไ่ ดร้ ับผลกระทบมากนัก โรงเรยี นจะปิ ดเรยี นก็ตอ่ เมอ่ื อุณหภูมลิ ดลงตา่ กวา่ -54 องศาเซลเซยี สเทา่ นน้ั ประชาชน ยังคงใชฟ้ ืนหรอื ถา่ นหนิ เป็ นเชอ้ื เพลงิ และใหค้ วามอบอนุ่ อาหารสว่ นใหญท่ ามาจากเนอื้ มา้ และกวางเรนเดยี รเ์ ป็ นหลัก เมอื งนอี้ ากาศหนาวจัดจนกระท่ังทางการตอ้ งทาป้ ายทมี่ คี าวา่ “Oymyakon, the Pole of Cold” หรอื “โอมยี าคอน ขวั้ แหง่ ความหนาว” ชว่ งฤดหู นาวในเดอื นธันวาคมทนี่ ม่ี ชี ว่ งกลางวนั เพยี ง 3 ชวั่ โมง ขณะทใ่ี นฤดรู อ้ นชว่ งกลางวันจะยาวนานถงึ 21 ชวั่ โมง 1161 1161

ทวปี ยโุ รป ทรพั ยากรธรรมชาติ ดนิ ดนิ ทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ในทวปี ยโุ รป ไดแ้ ก่ บรเิ วณ ยโุ รปตะวนั ออก ยโุ รปกลาง และยโุ รปใต ้ แตพ่ น้ื ทที่ ด่ี นิ ไมค่ อ่ ยอดุ มสมบรู ณ์ของทวปี ก็สามารถเพาะปลกู ใหผ้ ลผลติ สงู ได ้ เพาะเกษตรกรชาวยุโรปมกี ารใชป้ ๋ ยุ บารุงดนิ อย่างเหมาะสม และในเขตทส่ี งู หรอื ทุ่งหญา้ ทด่ี นิ ไมค่ อ่ ยอดุ มสมบรู ณก์ ็ใชท้ งุ่ หญา้ เลย้ี งสตั ว์ ป่ าไม้ เขตภมู อิ ากาศแบบไทกาในสวเี ดน ฟินแลนด์ รัสเซยี เป็ นพน้ื ทปี่ ่ าไมส้ น เป็ นแหลง่ ไมเ้ นอ้ื ออ่ นทส่ี าคญั ของโลก ยโุ รปตะวันตก ยโุ รปกลาง และยโุ รปตะวนั ออก ป่ าไม ้ สว่ นใหญม่ เี ฉพาะในเขตเทอื กเขา ไมท้ สี่ าคญั ไดแ้ ก่ โอก๊ และบชี ยโุ รปใต ้ มพี ชื พรรณธรรมชาตแิ บบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นจาพวกไมพ้ มุ่ ขนาดเล็ก เชน่ คอรก์ โอก๊ มะกอก และสนซดี าร์ 1162

ทวปี ยโุ รป ทรพั ยากรธรรมชาติ สตั วใ์ นธรรมชาติ มสี ตั วใ์ นธรรมชาตอิ ยนู่ อ้ ยมาก เพราะไมม่ ที อี่ ยอู่ าศยั และถกู ลา่ เพอื่ ใชห้ นัง ขน และเนอ้ื ทม่ี อี ยแู่ ละสาคญั ไดแ้ ก่ สนุ ัขจง้ิ จอก กวางเรนเดยี ร์ นก กระตา่ ย และ กวาง ปลามที งั้ น้าจดื และน้าเคม็ แตป่ ัจจบุ ันประสบ ปัญหามลพษิ ทางน้า และการจับปลามากเกนิ ไป ปลาทมี่ ชี อื่ เสยี ง คอื ปลาสเตอรเ์ จยี น จากทะเลแคสเปียนซง่ึ นาไขม่ าทาเป็ นคาเวยี ร์ 1163

ทวปี ยโุ รป ทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน ถา่ นหนิ นวิ เคลยี ร์ เป็ นแหลง่ พลงั งานทสี่ าคญั สว่ นใหญพ่ บ ประเทศทใี่ ชพ้ ลงั งานนวิ เคลยี รม์ าก ไดแ้ ก่ มากในสหราชอาณาจักร ฝร่ังเศส เยอรมนี ฝร่ังเศส เยอรมนี สหราชอาณาจักร สวเี ดน ยเู ครน โปแลนด์ และโรมาเนยี และรัสเซยี นา้ มนั ดบิ และกา๊ ซธรรมชาติ พลงั งานนา้ แหลง่ ทะเลเหนอื ไดแ้ ก่ สหราชอาณาจักร ประเทศทใี่ ชพ้ ลงั งานน้าผลติ ไฟฟ้า ไดแ้ ก่ นอรเ์ วย์ เดนมารก์ และเนเธอรแ์ ลนด์ สวเี ดน สวติ เซอรแ์ ลนด์ ออสเตรยี ฝร่ังเศส ทะเลดา ไดแ้ ก่ โรมาเนยี และรัสเซยี และรัสเซยี แร่ ทวปี ยโุ รปมแี รไ่ มม่ ากนัก จงึ ตอ้ งนาเขา้ มาจากทวปี อนื่ แรท่ ผี่ ลติ ไดม้ าก ไดแ้ ก่ แรเ่ หล็กจากสวเี ดนและฝร่ังเศส แรอ่ น่ื ๆ ทผี่ ลติ ได ้ ไดแ้ ก่ แรท่ องแดง ตะกวั่ สงั กะสี บ็อกไซต์ ถา่ นหนิ และเงนิ 1164

สงิ่ มหศั จรรย์ ในทวปี ยโุ รป หอไอเฟล Eiffel Tower ประเทศฝร่ังเศส หอไอเฟล สญั ลกั ษณ์ของนครปารสี สรา้ งขนึ้ ใน ค.ศ. 1887–1889 ออกแบบโดยกสุ ตาฟ ไอเฟล (Gustave Eiffel) เพอื่ เป็ นสญั ลกั ษณก์ ารจัดงาน แสดงสนิ คา้ โลกในปี ค.ศ. 1889 ฉลองครบรอบ 100 ปีแหง่ การปฏวิ ัติ อตุ สาหกรรม ทาขน้ึ จากโลหะ 15,000 ชน้ิ หนักถงึ 7,000 ตนั ยดึ ตอ่ ดว้ ยนอต 3,500,000 ตวั สที าทงั้ หมด 35 ตนั สงู 1,050 ฟตุ ใชเ้ งนิ 7,799,401 ฟรังก์ เสยี เวลาสรา้ ง 1 ปี มลี ฟิ ตพ์ าชมววิ ไดถ้ งึ ยอดหอซง่ึ มรี า้ นอาหารทสี่ ามารถน่ัง ชมววิ ไดท้ วั่ ทงั้ กรงุ ปารสี และชมความงามของแมน่ ้าแซนดว้ ย หอนเี้ คยเป็ นอาคารสงู ทส่ี ดุ ในโลกสมัยแรก จนกระทั่งตกึ เอ็มไพรส์ เตท สรา้ งเสร็จในปี ค.ศ. 1931 1165

ทบทวนบทเรยี นแลว้ ตอบคาถาม 1. เพราะเหตใุ ดพน้ื ทใ่ี นทวปี ยโุ รปสว่ นใหญไ่ ดร้ ับน้าฝนอยา่ งทวั่ ถงึ แนวเทอื กเขาสว่ นใหญม่ ที ศิ ทางในแนวทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื –ตะวันตกเฉียงใต ้ ไมก่ ดี ขวางทศิ ทางลมประจาตะวันตกทนี่ าความชน้ื มาจากมหาสมทุ รแอตแลนตกิ 2. กระแสน้าทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ทวปี ยโุ รปมากทสี่ ดุ คอื กระแสน้าอนุ่ กลั ฟ์ สตรมี ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ 3. เขตภมู อิ ากาศแบบใดสง่ ผลใหเ้ ชอรร์ เี จรญิ เตบิ โตไดด้ ี เขตภมู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น 4. แหลง่ ไมเ้ นอ้ื ออ่ นทส่ี าคญั ของโลกอยทู่ ป่ี ระเทศใด ประเทศสวเี ดน ฮอลแลนด์ และรัสเซยี 5. แหลง่ ผลติ น้ามนั ดบิ และกา๊ ซธรรมชาตทิ ส่ี าคญั ของทวปี ยโุ รป แหลง่ ทะเลเหนอื 1166

สรปุ ทวปี ยโุ รป เป็ นดนิ แดนทม่ี นุษยเ์ ขา้ ไปตงั้ ถน่ิ ฐาน 30,000 ปีเศษมาแลว้ ทต่ี งั้ จนกระทั่งในสมยั กรกี และโรมนั ไดส้ รา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมของตนเองและ อาณาเขต พัฒนาขนึ้ จนกลายเป็ นศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ และวัฒนธรรมของโลก และขนาด ลกั ษณะ แหลง่ นา้ ใน ภมู ปิ ระเทศ ทวปี ยโุ รป ทศิ เหนอื สดุ ทแี่ หลมนอรท์ - แบง่ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศได ้ 4 เขต ดังน้ี แมน่ า้ แมน่ ้าสายสาคัญของ เคป ในนอรเ์ วย์ เขตหนิ เกา่ ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ทวปี ยโุ รปสว่ นใหญเ่ กดิ จาก ทศิ ตะวนั ออก มเี ทอื กเขายรู ัล คาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ฟินแลนด์ เขตทสี่ งู และภเู ขาภายใน แมน่ ้ายรู ัล และทะเลแคสเปี ยน เขตทรี่ าบใหญต่ อนกลาง ทวปี แลว้ ไหลออกสทู่ ะเลทกุ เป็ นแนวพรมแดน ทรี่ าบอนั กวา้ งใหญข่ องทวปี ยโุ รป ทศิ ทาง มดี ังน้ี ทศิ ใต้ สดุ ทแ่ี หลมตารฟี า เปลอื กโลกยคุ หนิ เกา่ เรยี กวา่ แมน่ า้ วอลกา แมน่ ้าสายยาว ชอ่ งแคบยบิ รอลตาร์ ในสเปน บอลตกิ ชลี ด์ ทส่ี ดุ ของทวปี ยโุ รป ทศิ ตะวนั ตก สดุ ทแ่ี หลมโรกา เขตทร่ี าบสงู ตอนกลาง แมน่ า้ ดานบู ในโปรตเุ กส ทร่ี าบสงู เมเซตา ทรี่ าบสงู โบฮเี มยี แมน่ า้ ไรน์ ยโุ รปเป็ นทวปี ทม่ี ขี นาดเล็ก ทรี่ าบสงู มาซฟี ซองตราล แมน่ า้ นเี ปอร์ เป็ นอนั ดับ 2 ของโลก มเี นอื้ ท่ี เขตภเู ขาหนิ ใหมต่ อนใต้ แมน่ า้ เอลเบอ 10,354,636 ตร.กม. (รวมเนอ้ื เทอื กเขาพเิ รนสี เทอื กเขาแอลป์ แมน่ า้ ลวั ร์ ทปี่ ระเทศรัสเซยี ในทวปี ยโุ รป เทอื กเขาแอเพนไนน์ แมน่ า้ วสิ ตลู า 4,370,286 ตร.กม.) เทอื กเขาไดนารกิ แอลป์ แมน่ า้ โอเดอร์ เทอื กเขาคารเ์ พเทยี น ทะเลสาบนา้ จดื สว่ นใหญม่ ี เทอื กเขาคอเคซสั ขนาดเล็ก เกดิ จากธารน้าแข็ง 1167

สรปุ ทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ สภาพภมู อิ ากาศของ ดนิ ดนิ ทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณข์ องทวปี ยโุ รป คอื ทวปี ยโุ รป คอื ทต่ี ัง้ แนวเทอื กเขา ระยะหา่ ง ดนิ รว่ นสดี า ใชป้ ลกู ขา้ วสาลี และดนิ ในเขตลมุ่ น้า จากทะเล กระแสน้า และทศิ ทางของลมประจา ป่ าไม้ สวเี ดน ฟินแลนด์ และรัสเซยี มปี ่ าไมส้ น เขตภมู อิ ากาศ แบง่ ได ้ 7 เขต ไดแ้ ก่ เป็ นแหลง่ ไมเ้ นอ้ื ออ่ นทสี่ าคัญของโลก แบบทงุ่ หญา้ กง่ึ ทะเลทราย (BS) สตั วใ์ นธรรมชาติ สนุ ัขจง้ิ จอก กระตา่ ย นก แบบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น (Cs) กวางเรนเดยี ร์ ปลามที งั้ ปลาน้าจดื และปลาน้าเค็ม แบบอบอนุ่ ชนื้ (Ca) พลงั งาน ถา่ นหนิ น้ามนั ดบิ และกา๊ ซธรรมชาติ แบบอบอนุ่ ชนื้ ภาคพน้ื ทวปี (Da) นวิ เคลยี ร์ พลังงานน้า แบบภาคพนื้ สมทุ รชายฝั่งตะวนั ตก (Cb) แร่ แรท่ ผี่ ลติ ไดม้ าก คอื เหล็ก จากสวเี ดนและ แบบกงึ่ ขวั้ โลกหรอื ไทกา (Dc) ฝร่ังเศส แรอ่ น่ื ๆ ไดแ้ ก่ ทองแดง ตะกวั่ สงั กะสี แบบทนุ ดรา (ET) บ็อกไซต์ ถา่ นหนิ และเงนิ 1168


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook