2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี เศียรพระพทุ ธรูป ศิลปะคนั ธาระ พระพทุ ธรูปสมยั ราชวงศค์ ุปตะ ไดร้ ับอิทธิจากศิลปะแบบเฮเลเนสติกของกรีก จากเมืองสารนาถ ประเทศอินเดีย 217
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี อิทธิพลของศิลปะภายนอกดงั กล่าวไดพ้ ฒั นามาสู่ศิลปกรรมสมยั ราชวงศเ์ มารยะ ซ่ึง เป็ นศิลปะสมยั แรกที่มีหลกั ฐานปรากฏชดั เจน ในช่วงสมยั น้ีพระพุทธศาสนาเป็ นแรง บนั ดาลใจสาคญั ในการสร้างสรรคศ์ ิลปกรรม และยงั มีความสาคญั ต่อสกลุ ศิลปะในสมยั ตอ่ มา ในสมยั ราชวงศค์ ุปตะ ศิลปะแขนงต่าง ๆ ไดพ้ ฒั นาไปมากจนกระทงั่ ไดก้ ่อกาเนิดยคุ ทองทางศิลปะของอินเดีย จนกระทง่ั หลงั คริสตศ์ ตวรรษที่ 12–13 แบบอยา่ งของศิลปะ อิสลามแพร่ขยายอยา่ งกวา้ งขวาง ขณะท่ีศิลปะในพระพุทธศาสนาสูญสิ้นไป และศิลปะ ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเสื่อมโทรมเป็ นเวลานานหลายศตวรรษ 218
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี สถาปัตยกรรม สมยั ก่อน • มีมาเกือบ 5,000 ปี มาแลว้ ประวตั ิศาสตร์ • เมืองโมเฮนโจดาโร–ฮารัปปา มีการวางผงั เมือง เนน้ ประโยชน์ใชส้ อย สมยั ราชวงศ์เมารยะ • รับอิทธิพลศิลปะจากเปอร์เซีย สร้างสถูป เสาหิน ฐานรากของ พระราชวงั เป็นสถาปัตยกรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนา สมยั ราชวงศ์กษุ าณะ– • เกิดศิลปะสาคญั 3 รูปแบบ คือ ศิลปะแบบคนั ธาระ แบบมถุรา และ ราชวงศ์มธุรา แบบอมราวดี เป็นศิลปะในพระพทุ ธศาสนา สมยั ราชวงศ์คุปตะ– • สร้างข้ึนในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพระพทุ ธศาสนา หลงั คุปตะ • สร้างท้งั สถปู เจดีย์ และเทวสถาน สมยั มุสลมิ • ผสมระหวา่ งอินเดีย–ฮินด–ู เปอร์เซีย • สถาปัตยกรรมท่ีมีชื่อเสียง คือ สุสานตาชมะฮลั (Taj Mahal) 219
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี พระสถปู สาญจี สมยั ราชวงศเ์ มารยะ เทวสถานเอลโลวา สมยั ราชวงศค์ ุปตะ 220
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี ภาพแกะสลกั พทุ ธประวตั ิ สมยั คุปตะ 221
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี (Taj Mahal) ซ่ึงเป็นสถาปัตยกรรม หินอ่อนท่ีมีชื่อเสียงมาก สร้างใน สมัยพระเจ้าชาห์จะฮาน (Shah Jahan ค.ศ. 1628–1658) กษตั ริย์ ราชวงศ์มุคัล เพื่อเป็ นท่ีระลึกถึง พระนางมุมตาซ มะฮลั (Mumtaz Mahal) มเหสีของพระองค์ 222
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี ประติมากรรม สมยั ราชวงศ์เมารยะ • ประติมากรรมลอยตวั ขนาดใหญ่ สลกั จากหิน รูปร่างหนกั แขง็ กระดา้ ง • นิยมสร้างรูปสตรี ภาพสลกั นูนต่าพทุ ธประวตั ิ ชาดกประดบั ร้ัว ซุม้ ประตู สมยั ราชวงศ์ • ศิลปะแบบคนั ธาระ–รับอิทธิพลจากกรีก ริ้วจีวรเป็นแบบกรีก กุษาณะ–ราชวงศ์ • ศิลปะแบบมถุรา–รับอิทธิพลของศิลปะคนั ธาระ + ลกั ษณะพ้ืนเมือง เศียร มธุรา พระพทุ ธรูปเกล้ียง พระพกั ตร์กลม จีวรห่มเฉียง สมยั ราชวงศ์ • ศิลปะแบบอมราวดี–ผสมอิทธิพลศิลปะกรีก พระพกั ตร์ของพระพุทธรู ป คุปตะ–หลงั คุปตะ ค่อนขา้ งยาว พระเกตุมาลาปรากฏชดั เจน • คุปตะ–เป็ นศิลปะอินเดียแบบแท้จริ ง มีท้ังพระพุทธรูปและเทวรูปใน พระพทุ ธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • หลังคุปตะ–สร้างตามกฎเกณฑ์ ไม่เป็ นธรรมชาติ พบมากที่ถ้าอชันตะ เกาะลงั กา และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 223
พระศิวนาฏราชประติมากรรม 224 รูปพระศิวะร่ายรากลางเปลวเพลิง
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี จิตรกรรม สมยั ราชวงศ์ • ปัจจุบนั ภาพส่วนใหญ่สูญหายไปหมดแลว้ เมารยะ • จิตรกรรมที่ยงั คงเหลืออยใู่ นปัจจุบนั พบที่เพดานถ้าโยคีมารา ใน ทิวเขารามคฤหะ ภาคตะวนั ออกของอินเดีย วาดดว้ ยสีดา ขาว และแดง เป็นภาพเขียนอยา่ งง่าย ๆ คอ่ นขา้ งหยาบ สมยั ราชวงศ์ • ศิลปะแบบอมราวดี–ภาพจิตรกรรมที่ถ้าอชนั ตะ วาดดว้ ยความ กษุ าณะ– อ่อนชอ้ ย จดั วางภาพบุคคลและลวดลายเครื่องประดบั มีลกั ษณะ ที่ชดั เจน ราชวงศ์มธุรา สมยั ราชวงศ์ • เป็ นสมยั ที่รุ่งเรืองสุดของงานจิตรกรรมอินเดีย ปรากฏอย่อู ยา่ ง คุปตะ– จานวนมาก ท่ีสาคัญคือ ถ้ าอชันตะ ปรากฏภาพเขียนใน หลงั คุปตะ พระพุทธศาสนาเล่าเรื่องชาดกราว 30 เรื่อง ภาพชีวิตประจาวนั ของประชาชนและชีวิตในราชสานกั 225
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี จิตรกรรมผนงั ถ้าอชนั ตะ (Ajanta) 226 เป็นภาพพระโพธิสัตวป์ ัทมปาณี
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี นาฏศิลป์ และ สงั คีตศิลป์ เป็นศิลปะช้นั สูง เป็นส่วนหน่ึงใน พธิ ีกรรมเพอ่ื บูชาเทพเจา้ ตามคมั ภีร์ บทสวดสรรเสริญเทพเจา้ พระเวท เก่ียวขอ้ งกบั วถิ ีชีวติ ของ ถือเป็ นแบบแผนการร้อง ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในสังคีตศิลป์ คนอินเดียท้งั ดา้ นศาสนาและ ชีวติ ประจาวนั ของอินเดีย มีกาเนิดมาจากวดั ราชสานกั และ เครื่องดนตรีที่ใชบ้ รรเลง ทอ้ งถิ่นพ้ืนบา้ น ประกอบบทสวดและการร่าย ราที่สาคญั คือ วณี าหรือพิณ คริสตศ์ ตวรรษท่ี 1–2 นาฏศิลป์ มี ใชส้ าหรับดีด เวณุหรือขลุ่ย แบบแผน ปรากฏตารานาฏยศาสตร์ และกลอง เรียบเรียงโดยภรตมุนี 227
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี ภารตนาฏยมั กถกฬิ การฟ้ อนราประกอบเรื่องราว การฟ้ อนราในวดั ของฮินดู เป็นนาฏศิลป์ ที่นิยมกนั มากทางภาคใต้ ของประเทศอินเดีย 228
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี วรรณกรรม วรรณกรรม พฒั นาการทางวรรณกรรม วรรณกรรมอินเดียเน้นหนัก ไปทางด้านศาสนา แม้ว่า ของอินเดียเริ่มจากการเป็ น บทสวดในพิธีบูชาเทพเจา้ ซ่ึง ภายหลัง เน้ื อหาจะขยาย ขอบเขตออกไปหลาย ท่องจาดว้ ยปากเปล่าถ่ายทอด ประเภท แต่วรรณกรรม สืบต่อกนั มานบั พนั ปี เหล่าน้ันก็ยังอ้างเรื่ องราว ทางศาสนาอยเู่ สมอ 229
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี วรรณกรรมอินเดียแบ่งตามพฒั นาการทางภาษาออกเป็น 4 กลุม่ คือ ใชภ้ าษาสนั สกฤตโบราณของพวกอารยนั ประกอบดว้ ย ฤคเวท แต่งเป็นบท ร้อยกรองสาหรับใชส้ วดสรรเสริญเทพเจา้ ถือเป็นวรรณกรรมเร่ิมแรกที่สุด วรรณกรรมภาษาพระเวท ยชุรเวท เป็นบทร้อยแกว้ วา่ ดว้ ยแบบแผนการประกอบพธิ ียญั กรรมและพธิ ี บวงสรวง สามเวท เป็นบทร้อยกรองสวดในพธิ ีถวายน้าโสมแก่พระอินทร์และขบั กล่อม เทพเจา้ องคอ์ ื่น อาถรรพเวท เป็นบทท่ีรวบรวมเวทมนตร์คาถาอาคม 230
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี รูปแบบคาประพนั ธเ์ ป็นร้อยกรอง เรียกวา่ โศลก วรรณกรรมตนั ติสนั สฤต วรรณคดีซ่ึงใชภ้ าษา มหาภารตะ และ รามายณะ ถือเป็ นมหา หรือวรรณกรรมสันสกฤต สนั สฤตพฒั นามาจาก กาพย์สาคญั ท่ีสุดของอินเดีย มหากาพย์ ภาษาเก่าของพระเวท ท้งั สองเร่ืองน้ีมีเรื่องราวสะท้อนให้เห็น แบบแผน ลกั ษณะสังคม การเมือง ศาสนา และชีวิต ความเป็ นอยู่ของชาวอินเดียในช่ วง ระยะเวลาประมาณระหว่าง 1,000–500 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช ซ่ึงเรียกวา่ ยคุ มหากาพย์ วรรณกรรมสันสกฤตที่แต่งเป็ นบทละคร มีหลายเรื่อง บทละครท่ีมีชื่อเสี ยงมาก ไดแ้ ก่ เร่ือง ศกนุ ตลา แต่งโดยกาลิทาส กวี เอกสมยั คุปตะ 231
2.5 ศิลปกรรมอนิ เดยี วรรณกรรมอนิ เดยี วรรณกรรมสันสกฤตผสม วรรณกรรมภาษาอนื่ ๆ • ใชเ้ ขียนหลกั ธรรมและเร่ืองราว • วรรณกรรมภาษาบาลี–เขียนวรรณกรรมพุทธศาสนานิกาย ทางพระพทุ ธศาสนา เถรวาท เขียนเป็ นร้อยแก้วอธิ บายหลักคาสอนทาง พระพทุ ธศาสนา เช่น พระไตรปิ ฎก ชาดก • เป็นงานร้อยแกว้ • งานที่สาคญั และมีช่ือเสียง คือ • วรรณกรรมภาษาทมิฬ–ดัดแปลงจากวรรณกรรมภาษา สันสกฤต คือ มหาภารตะ รามายณะ และคมั ภีร์ปรุ าณะ พทุ ธจริต ของอศั วโฆษ 232
2.6 ความก้าวหน้าทางวทิ ยาการของอนิ เดยี วิทยาการสาขาต่าง ๆ ของอินเดียท่ีบนั ทึกเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรมีความสมบรู ณ์นอ้ ย มาก มกั จะพบหลกั ฐานอยนู่ อ้ ยและกระจดั กระจาย ภาษาศาสตร์ มีการแต่งหนงั สือศพั ทานุกรม หรือโกศะข้ึน หลายเล่ม เมื่อมุสลิมเติร์กเขา้ ปกครองอินเดียตอน ภาษาสนั สฤตเป็นภาษา เหนือ ไดน้ าเอาภาษาสันสกฤต ภาษาอารบิก และ ท่ีมีความสาคญั ต่ออารยธรรม ภาษาเปอร์เซียมาผสมกันเป็ นภาษาใหม่ เรียกว่า อินเดียมาก เป็นภาษาใชอ้ ยใู่ น ภาษาอูรดู (Urdu) ซ่ึงเป็ นภาษาที่มุสลิมใช้พูดกัน คมั ภีร์พระเวท มีความ ในอินเดียปัจจุบนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ ใชแ้ ต่งตาราวา่ ดว้ ยไวยากรณ์ 233
2.6 ความก้าวหน้าทางวทิ ยาการของอนิ เดยี ธรรมศาสตร์ • เป็ นท้งั กฎหมาย ศาสนบญั ญตั ิ จารีตประเพณี ศีลธรรม และหน้าที่ ซ่ึงมีพ้ืนฐานมาจากธรรมสูตร เป็ นส่วนหน่ึง ของคมั ภีร์พระเวท หนงั สือเล่มแรกที่รวบรวมกฎและหนา้ ท่ีเก่ียวกบั ฆราวาส คือ มนูสมฤติ หรือมานวธรรมศาสตร์ เขียนข้ึนระหว่าง 200 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช ถึง ค.ศ. 200 กล่าวถึงการสร้างโลก กฎหมายแพ่ง–อาญา หน้าที่ของ วรรณะต่าง ๆ ชีวิตของคฤหัสถ์ การออกบวช ชีวิตในภพหน้า และการเข้าถึงโมกษะ เป็ นการแสดงให้เห็น ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทพเจา้ กบั มนุษย์ สังคมมนุษย์ และอุดมคติสูงสุดของมนุษยภ์ ายใตก้ ฎเกณฑ์และหนา้ ที่ที่ รวมกนั เรียกวา่ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์หรืออรรถศาสตร์ • เป็ นศาสตร์ท่ีว่าดว้ ยการปกครอง การบริหารบา้ นเมืองเพื่อความรุ่งเรืองมงั่ คง่ั งานเขียนเล่มสาคญั ที่สุด คือ อรรถศาสตร์ ของเกาฏิลยะ เขียนข้ึนราว 400 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช เป็นการวางหลกั เกณฑเ์ ก่ียวกบั การปกครอง บา้ นเมือง โดยไม่เกี่ยวกบั ศาสนา เน้ือหากล่าวถึงหน้าที่ของกษตั ริย์ วินัยขององค์รัชทายาท คุณสมบตั ิของ ผปู้ กครองประเทศ การปกครองรัฐ การอุตสาหกรรม กฎหมายแพง่ –พาณิชย์ กฎหมายอาญา การทหาร การเมือง เงินเดือนของขา้ ราชการ วธิ ีเอาชนะสงคราม 234
2.6 ความก้าวหน้าทางวทิ ยาการของอนิ เดยี แพทยศาสตร์ ในจารึกของพระเจา้ อโศกมหาราชกล่าวถึงโรงพยาบาลสาหรับรักษาผเู้ จ็บป่ วย และ ในบนั ทึกของเมกัสเธนีส ทูตกรีกที่เข้ามายงั กรุงปาฏลีบุตรในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ กล่าวถึงเรื่องการแพทย์ นอกจากน้ีมีหนังสือหลายเล่มกล่าวถึงวิชาการแพทย์ เช่น อรรถศาสตร์ ระบุถึงการใชย้ าพิษ หนงั สือ มหาภาสนะ ของปตญั ชลี มีศพั ทว์ า่ ไวทยกมั ซ่ึง หมายถึง อายรุ เวทหรือแพทยศาสตร์น่ันเอง คัมภีร์ บาลี ของฝ่ ายพระพุทธศาสนากล่าวถึง ชีวกะ แพทยผ์ มู้ ีช่ือเสียง ตาราทางอายรุ เวทของอินเดียโบราณที่สาคญั อีกหลายเล่ม เช่น จรกะสังหิตา ของจรกะ เขียนข้ึนราวคริสตศ์ ตวรรษที่ 1 กล่าวถึงเรื่องยารักษาโรค อาหาร กายวิภาค และชีววทิ ยา วา่ ดว้ ยสัตวแ์ รกเกิด อาการของโรค การศึกษาเกี่ยวกบั อายรุ เวททวั่ ไป และตารา สุศรุตสังหิตา แต่งโดยสุศรุต กล่าวถึงเร่ืองศลั ยศาสตร์ และแปลเป็นภาษาอาหรับในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 8 235
2.6 ความก้าวหน้าทางวทิ ยาการของอนิ เดยี ชโยตษิ (ดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ และคณิตศาสตร์) ชโยติษเป็ นศาสตร์ท่ีใชป้ ระกอบกบั คมั ภีร์พระเวท ในระยะแรกหมายถึงดาราศาสตร์เพ่ือใช้ ประกอบยญั กรรมและพิธีกรรมตามคมั ภีร์พระเวท ในการประกอบพิธี ฤกษย์ ามมีความสาคัญมาก จึงตอ้ งอาศยั วิถีโคจรของดวงอาทิตย์ ดวงดาวที่โคจรมาอยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ ในแต่ละช่วงเวลา การโคจรของดวงดาวยงั มีอิทธิพลต่อชีวิตท้งั หลาย ทาให้ชโยติษในความหมายของดาราศาสตร์ เขา้ ไวด้ ว้ ย การคน้ หาตาแหน่งต่าง ๆ ของดวงดาวทาให้เกิดศาสตร์ทางคานวณหรือคณิตศาสตร์ ซ่ึง รวมถึงเรขาคณิต พีชคณิต และตรีโกณมิติ อินเดียโบราณไดพ้ ฒั นาวิทยาการทางดา้ นคณิตศาสตร์ มาก ชาวอนิ เดยี เป็ นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์เลข 0 ขนึ้ ใช้ ทาใหม้ ีหลักหน่วย หลกั สิบ หลักร้อย หลัก พัน ในการคานวณไดโ้ ดยไม่สับสน ต่อมาพวกอาหรับรับเลขศูนยไ์ ปใชแ้ ละถ่ายทอดให้กบั ชาว ยโุ รปอีกต่อหน่ึง ส่วนเรขาคณิต พีชคณิต และตรีโกณมิติ ชาวอินเดียไดร้ ับอิทธิพลจากกรีก 236
เรื่องน่ารู้.... “นักรบราชพฒุ ” นกั รบราชพุฒเป็ นนกั รบท่ีมีลกั ษณะเหมือนซามูไรของญ่ีป่ ุน พวกราชพุฒเป็น นกั รบท่ีอยตู่ อนเหนือของอินเดีย มีความสามารถในการต่อสูแ้ ละการใชอ้ าวธุ อาวุธสาคญั ท่ีใช้ คือ ดาบโค้งทัลวาร์จักราม ซ่ึงมีลกั ษณะคลา้ ยจานบิน, อาราหรือดาบแส้, ดาบคนั ดาหรือดาบยาวสองคม และมดี กาต้าร์ นกั รบราชพุฒมีอยู่ในอินเดียมาแลว้ ต้งั แต่ศตวรรษที่ 6 จนถึงช่วง ค.ศ. 1800 หรือช่วงท่ีองั กฤษเขา้ มาปกครอง 237
สรุปความรู้ ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์กบั การต้งั ถ่ินฐาน • ทิศเหนือ มีภูเขาหิมาลัยขนานยาวเป็ นพรมแดน อารยธรรม ทางภาคเหนือ อินเดีย • ตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีท่ีราบลุ่มแม่น้าคงคาและ แม่น้าสาขา • ทิศใต้ มีลุ่มน้าสินธุเป็นบริเวณท่ีราบสูงกวา้ งใหญ่ ทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ มีท่ีราบลุ่มน้าสินธุและ ทะเลทรายธาร์ อารยธรรมอินดียสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ • พบบริเวณลุ่มน้าสินธุ • เมืองโบราณท่ีสาคญั คือ เมืองฮารัปปา (Harappa) เมืองโมเฮนโจดาโร (Mohen jodaro) 238
สรุปความรู้ อารยธรรมอินดียสมยั ประวตั ิศาสตร์ • สมยั มหากาพย์ อารยธรรม • สมยั จกั รวรรดิ (600 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราชถึงปลาย อินเดีย คริสตศ์ ตวรรษที่ 10) • สมยั มุสลิม (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ ศตวรรษท่ี 19) สงั คมและวฒั นธรรมอินเดียแบ่งเป็น • ระบบวรรณะ ปรัชญาและลทั ธิศาสนาของสังคม อินเดีย • เทพเจา้ อินเดีย • สมยั มุสลิม (ปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 10 ถึงคริสต์ ศตวรรษท่ี 19) 239
สรุปความรู้ ศิ ล ป ก ร ร ม ข อ ง อิ น เ ดี ย จ ะ เ กี่ ย ว ข้อ ง กับ ศ า ส น า มี ท้ัง สถาปั ตย กรรม ประติ มากรรม จิ ตรกรรม นาฏศิ ลป์ อารยธรรม และสงั คีตศิลป์ และวรรณกรรม อินเดีย ความกา้ วหน้าทางวิทยาการของอินดียซ่ึงมีการบนั ทึกไวเ้ ป็ น ลายลกั ษณ์อกั ษร พบอยกู่ ระจดั กระจาย คือ • ภาษาศาสตร์มีท้งั ภาษาบาลีและสนั สกฤต • ธรรมศาสตร์และนิติศาสตร์มีท้งั กฎหมาย ศาสนาบญั ญตั ิ จารีตประเพณี ศีลธรรม หนา้ ท่ี กฎหมายเก่ียวกบั การเมือง การปกครอง • แพทยศาสตร์ สมยั พระเจา้ อโศกมหาราชมีโรงพยาบาล สาหรับรักษาผปู้ ่ วย มีการเขียนตาราแพทยเ์ กิดข้ึนหลายเล่ม • ชโยติษ (ดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ และคณิตศาสตร์) เป็น ศาสตร์ที่ใชป้ ระกอบกบั คมั ภีร์พระเวท 240
Search