ประวตั ิศาสตร์สากล ม. 4–6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พฒั นาการของยุโรปสมยั ใหม่ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14 การปฏิวตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์และการปฏวิ ตั ิ อตุ สาหกรรมยุคภูมธิ รรมและแนวคดิ ประชาธิปไตย ศิลปวฒั นธรรมสมัยใหม่ เวลา 1 ชั่วโมง 527
ปัจจัยใดทที่ าให้เกดิ การปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร์และ การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม คนมีความคิดที่ทนั สมยั ข้ึนและมีความเจริญ กา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี 528
5. การปฏิวตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์และการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม 5.1 การปฏวิ ตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Revolution) โยฮันเนส กเู ตนเบิร์ก ชาวเยอรมนั ประดิษฐ์เครื่องพิมพส์ าเร็จใน ค.ศ. 1454 ทาใหม้ ีการพิมพ์ หนงั สือเผยแพร่ความรู้และวิทยาการต่าง ๆ นอกจากน้ีการคน้ พบดินแดนโพน้ ทะเล ยงั เพ่ิม ความเชื่อมน่ั ในสติปัญญาใหก้ บั ชาวตะวนั ตก กระตุน้ ให้เกิดการคิดดว้ ยการหาเหตุผล การสังเกต และการทดลอง การพฒั นาวิธีการศึกษาแบบวทิ ยาศาสตร์จึงเป็นรากฐานสาคญั ของการแสวงหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ก่อใหเ้ กิดความเจริญกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็วในการศึกษาคน้ ควา้ ดา้ นวิทยาศาสตร์ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 17 ซ่ึงนกั ประวตั ิศาสตร์เรียกกนั ว่า การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวตั ิ ดงั กล่าวน้ีส่งผลกระทบต่ออารยธรรมตะวนั ตก และทาใหช้ าติตะวนั ตกเจริญกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็ว จนเป็ นประเทศมหาอานาจมาจนถึงปัจจุบนั 529
5.1 การปฏวิ ตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Revolution) สภาพภมู ิหลงั ของการปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ งานดา้ นวทิ ยาศาสตร์เป็นท่ี วธิ ีการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ คริสตศ์ ตวรรษที่ 17 รัฐบาล สนใจของชาวตะวนั ตก ทาใหป้ ระชาชนตอ้ งการ ประเทศต่าง ๆ ส่งเสริมและ หาคาตอบใหก้ บั ความล้ลี บั สนบั สนุนใหเ้ กิดการพฒั นา มาต้งั แต่สมยั กลาง ทางธรรมชาติ ทางวิทยาศาสตร์ วิชาดาราศาสตร์ กลศาสตร์ กระตุน้ ใหเ้ กิดการพฒั นาเครื่องมือ โดยการจดั ต้งั สถาบนั ทาง ถกู นามาบรรจุในหลกั สูตร ท่ีใชใ้ นการวดั และคานวณอยา่ งมี วทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื แลกเปลี่ยน การสอนมหาวิทยาลยั ต้งั แต่ ประสิทธิภาพ ทาใหก้ ารเดินเรือ คริสตศ์ ตวรรษที่ 12–13 ขอ้ มลู การวิจยั ทาง มีประสิทธิภาพและปลอดภยั วทิ ยาศาสตร์ คริสตศ์ ตวรรษท่ี 14–17 มีการคน้ พบคุณสมบตั ิ ทาใหง้ านวิทยาศาสตร์และ ความรู้ทางดา้ นกายวิภาค- ของเลนส์ ซ่ึงใชท้ ากลอ้ งส่อง เทคโนโลยขี องชาวตะวนั ตก ศาสตร์ถกู นามาใชใ้ นงาน จิตรกรรมและประติมากรรม ดูดาว มีประโยชน์ในการ ขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว เดินเรือ 530
5.1 การปฏิวตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Revolution) นกั วทิ ยาศาสตร์ นิ โ ค เ ล า ส์ โ ค เ พ อ ร์ นิ คั ส ( Nicolaus Copernicus ค.ศ. 1473–1543) ชาวโปแลนด์ เป็ นคนแรกท่ี มีคุณู ปการต่อการปฏิ วัติ วทิ ยาศาสตร์ ใน ค.ศ. 1543 ไดใ้ ชค้ วามรู้ทาง คณิตศาสตร์อธิบายระบบสุริยจกั รวาลวา่ โลก มิได้หยุดนิ่งหรือเป็ นศูนย์กลางของระบบ สุริยจกั รวาล แต่มีดวงอาทิตยเ์ ป็ นศูนยก์ ลาง ของระบบสุริยจกั รวาล (heliocentric) ทฤษฎี น้ีลบลา้ งคาสอนของศาสนจกั รในสมยั กลาง 531
5.1 การปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Revolution) นกั วทิ ยาศาสตร์ กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ (Galileo Galilei ค.ศ. 1564–1642) สามารถประดิษฐก์ ลอ้ งโทรทรรศน์เพ่อื สงั เกตดกู ารเคล่ือนไหว ของดวงดาว ทาใหน้ กั ดาราศาสตร์ไดข้ อ้ สรุปใหม่ ๆ เก่ียวกบั ความล้ีลบั ของจกั รวาลและการเคล่ือนตวั ของระบบสุริย- จกั รวาลตามทฤษฎีของโคเพอร์นิคสั นอกจากน้ียงั รวบรวมผลการสารวจของเขาพิมพเ์ ผยแพร่ เพ่ือโตแ้ ยง้ ความคิดเกี่ยวกบั จกั รวาลวทิ ยาของกรีก โดยช่ือหนงั สือวา่ Dialogue on the Two Chief Systems of the World ก่อใหเ้ กิดการตอบโตอ้ ยา่ งรุนแรงจากศาสนจกั ร 532
5.1 การปฏวิ ตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Revolution) นกั วทิ ยาศาสตร์ เซอร์ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon เรอเน เดการ์ต (Rene Descartes ค.ศ. 1561–1626) นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้ ค.ศ. 1596–1650) นักปรัชญาและ วางรากฐานและทัศนคติใหม่ในงานเขียน นักคณิตศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ได้นา กระตุ้นให้ชาวอังกฤษและรัฐบาลหันมาให้ หลกั การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ความสนใจและยอมรับความสาคญั ของงาน ม า ใ ช้ พิ สู จ น์ แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ จนในที่สุดไดเ้ ป็นแรงบนั ดาล ข้อเท็จจริ งของงานวิทยาศาสตร์ ใจให้มีการจัดต้ังราชบัณฑิตยสมาคม เพื่อ ร ว ม ท้ ัง ค า อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กับ ร ะ บ บ ส่งเสริมงานค้นควา้ ด้านวิทยาศาสตร์ข้ึนใน จกั รวาล ดว้ ยการเขียนหนงั สือเร่ือง ค.ศ. 1660 Discourse of Method 533
5.1 การปฏิวตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Revolution) นกั วทิ ยาศาสตร์ เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton ค.ศ. 1642– 1727) ชาวอังกฤษ นับเป็ นนักวิทยาศาสตร์ท่ีเด่นท่ีสุ ด เน่ืองจากคน้ พบกฎแรงดงึ ดูดของจักรวาล (Law of Universal Attraction) และกฎแห่งความโน้มถ่วง (Law of Gravity) โดยอาศยั หลกั คณิตศาสตร์ของเดการ์ตและแนวการศึกษา ของเคปเลอร์และกาลิเลโอ การค้นพบน้ี มี ความสาคัญในการศึ กษาประวัติ วิทยาศาสตร์ และมีอิทธิพลต่อประวตั ิศาสตร์ความคิดของ มนุษยชาติดว้ ย นอกจากน้ีการคน้ พบของนิวตนั ยงั เปิ ดโลกทศั น์ของนกั วิทยาศาสตร์ให้เขา้ ใจเร่ืองของ จกั รวาล สสาร พลงั งาน ตลอดจนการเคล่ือนท่ีของวตั ถุโดยอาศยั วิธีการทางคณิตศาสตร์เป็ น เคร่ืองมือในการหาคาตอบและทาความเขา้ ใจกบั สิ่งเหล่าน้ี ซ่ึงต่อมาไดเ้ ป็ นหัวใจของวิชา กลศาสตร์ 534
5.2 การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) ระบบอุตสาหกรรมนิยม (Industrialism) หรือเรี ยกอีกอย่างหน่ึงว่า การปฏิวัติ อุตสาหกรรม เกิดข้ึนในช่วงกลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 เนื่องจากเกิดการเปล่ียนแปลง วิธีการและระบบผลิตด้งั เดิมจากการใชแ้ รงงานคน สัตว์ และพลงั งานธรรมชาติ มาเป็ น การใชเ้ ครื่องมือและเครื่องจกั รกลในระบบโรงงานแทนระบบการจ่ายงานใหไ้ ปทาตาม บา้ น (putting out system) การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตและแบบแผนความ เป็นอยขู่ องมนุษยจ์ ากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมก่ึงเกษตรกรรม ก่ึงอุตสาหกรรม หรือ สังคมอุตสาหกรรม และส่งผลให้โลกเกิดการเปล่ียนแปลงในดา้ นประวตั ิศาสตร์ของ มนุษยชาติ ท้งั กายภาพ สิ่งแวดลอ้ ม และระบบนิเวศ 535
5.2 การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม (Industrial Revolution) สาเหตุของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในองั กฤษเป็นประเทศแรก •ทาใหอ้ งั กฤษมีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ •เกิดข้ึนเป็นที่แรกในองั กฤษ และมีอาหารอุดมสมบูรณ์ โดยการนาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ชกเ•ธถงถมปาชุรีือารวง้ั่็เนนจลกาคะติตวะ้ทคีติยจงั่วัเอทงวหือี่ดทพดงัาารีแ็น่ีจกรมใูปือละก้อหฤสรระปามษฐ้ะ้านมรรยเาชกรคีเะนเอกลา็ชจา้กมกียะขาส่ื้ออรทไรราูวงบตดทับยาสา่ อิงกเ้้คงคัไุปดเาปลวศวม็ขนชาา้ารร่อีพเมมะษสงมเเีฐยทปงั่กศลคิจี่ยง่ัขนอแงปตลนคเงขฉอุณอพงั สงกาชมะฤาตบษเวกวักตั ษาิ รตปตเยรศฏกดึลรรวิคาษรตัดรกมฐิอกขากรองากิจขรดงาครยตินทคาาล้ แายใ้าาใดตนดหนวั ตเส้หโ่าาพงมมเปมนา้เมาชะรล•ทราะส่นอด็ถปะเมงพทัสเรกคลกขับ่ศชืงกามทฤสนรไปานษ่ีมคดิรนสราีสปคดรัุ้่งคงคววเรรกสา้ลมดา้าับแาินือมงใรเลปรเคกหสเคะ็กวราพ้ส้ารเุงษแพคื่นอัะกลตญิ่มัดงธาะรหจรวุพ์ทสใากวหาืชานตา่งมทด้นว่อาี่ีขนกร้ึนถา5ร36
5.2 การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) อุตสาหกรรมทอผา้ กบั ความกา้ วหนา้ ของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมการทอผา้ เจริญ • ทอมสั นิวโคเมน สร้างเคร่ือง • เมื่อเกิดโรงงานทอ อยา่ งมากสามารถเพิ่ม จกั รไอน้าสูบน้าออกจาก ผลผลิตได้ 8 เท่าตวั เหมืองถ่านหิน ผา้ เป็นจานวนมาก จน • จอห์น เคย์ ปริมาณฝ้ ายไม่เพยี งพอกบั ความ ตอ้ งการ โดยเฉพาะเม่ือเอไล วติ นี ค.ศ. ไดป้ ระดิษฐก์ ี่กระตุก 1780– ค.ศ. 1721 (flying shuttle) ซ่ึงช่วยให้ สามารถประดิษฐเ์ คร่ืองจกั รกล 2000 คอตตนั ยนิ ท่ีแยกเมลด็ ฝ้ ายออก ช่างทอผลิตผา้ ไดม้ ากกวา่ เดิม จากใยไดส้ าเร็จใน ค.ศ. 1793 ค.ศ. 1769– ถึง 2 เท่า จนทาใหข้ าดแคลน ราคาตน้ ทุนของการผลิตฝ้ าย 1793 ค.ศ. 1733 เสน้ ดา้ ยสาหรับทอผา้ จึงมีราคาถูกลงอีก ค.ศ. 1769 ค.ศ. 1764 • ริชาร์ด อาร์คไรต์ ประดิษฐเ์ คร่ืองป่ันดา้ ยชนิดใหม่ เรียกวา่ • เจมส์ วตั ต์ ปรับปรุงเครื่องจกั รของนิวโคเมน วอเตอร์เฟรม (water frame) มี ใหใ้ ชใ้ นอุตสาหกรรมทอผา้ ไดส้ าเร็จ ประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน ทาใหเ้ กิด • เจมส์ ฮาร์กรีฟส์ สร้าง งานคิดคน้ ประดิษฐเ์ ครื่องจกั รกลต่าง ๆ โรงงานทอผา้ ตามริมฝ่ังแม่น้า เคร่ืองปั่นดา้ ยสปิ นนิงเจนนี ที่ต่อเน่ืองมาเกิดข้ึนเพ่อื ตอบสนอง ทว่ั ประเทศ ป่ันดา้ ยพร้อมกนั ทีละ 16 เส้น อุตสาหกรรมทอผา้ เท่าน้นั 537
5.2 การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) อุตสาหกรรมทอผา้ กบั ความกา้ วหนา้ ของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม เครื่องป่ันดา้ ยสปิ นนิงเจนนี ที่สามารถปั่นดา้ ยพร้อมกัน ไดท้ ีละหลายเสน้ 538
5.2 การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) การขยายตวั ของการปฏิวตั ิทางอุตสาหกรรม ตอนตน้ คริสตศ์ ตวรรษที่ 19 องั กฤษสามารถปรับปรุงคุณภาพเช้ือเพลิงและการ พฒั นาเคร่ืองกลจกั รไอน้า ทาให้อุตสาหกรรมเหล็กขององั กฤษสามารถขยาย ปริมาณการผลิตไดอ้ ยา่ งรวดเร็วจนมีปริมาณ 1 ลา้ นตนั เฮนรี คอร์ต (Henry Cort) สามารถคิดคน้ วธิ ีหลอมเหลก็ ใหบ้ ริสุทธ์ิและพฒั นา มาเป็นอาวธุ ท่ีสาคญั คือ ปื นใหญ่ และปื นคาบศิลา ตลอดจนยทุ โธปกรณ์ต่าง ๆ เกิดการปฏิวตั ิทางคมนาคมขนส่ง มีการสร้างและพฒั นาเรือกลไฟที่ใชพ้ ลงั ไอน้า ใหเ้ ป็นยานพาหนะสาคญั มีเสน้ ทางรถไฟท่ีเป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งระยะทาง รวม 1,280 กิโลเมตร ซ่ึงนาความเจริญไปสู่ชนบท และทาใหแ้ บบแผนชีวติ ของ ชาวชนบทดีข้ึน จนทาใหก้ ลายเป็นแรงกระตุน้ ใหป้ ระเทศอ่ืน ๆ หนั มาสนใจการ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม 539
5.2 การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) ผลกระทบของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม • จานวนประชากรเพ่ิมข้ึน • ระบบอุตสาหกรรมเจริญเติบโตและทาใหช้ าวชนบทจานวนมาก อยา่ งรวดเร็วทว่ั โลก ในยโุ รปช่วง หลง่ั ไหลเขา้ เมืองเพื่อขายแรงงานตามโรงงานต่าง ๆ ก่อใหเ้ กดิ ค.ศ. 1800 มีประชากรทว่ั ท้งั ทวปี ปัญหาสงั คมต่าง ๆ เช่น ชุมชนแออดั ประมาณ 187 ลา้ นคน แต่ใน ค.ศ. 1900 ระบบ ปัญหาความสกปรกและการแพร่กระจาย เพม่ิ จานวนเป็น 2 เท่า อุตสาหกรรม ของเช้ือโรค ปัญหาอาชญากรรม การใชแ้ รงงานเดก็ ปัญหา • สาเหตุสาคญั ของการเพมิ่ ประชากร ดา้ น สวสั ดิภาพคนงาน คือ ความกา้ วหนา้ ทางการแพทย์ ความอดุ มสมบรู ณ์ของอาหาร สงั คม ระบบ • ระบบสงั คมนิยมเกิดข้ึน การปรับปรุงสาธารณสุข และ สงั คม เน่ืองจากปัญหาสงั คม การดูแลสุขภาพอนามยั ที่ดีข้ึน ประชากร นิยม โดยคาร์ล มากซ์ (Karl Marx) ไดเ้ รียกร้องใหก้ รรมกรรวมพลงั ต่อสูโ้ ค่นลม้ ระบบทุนนิยม (capitalism) ซ่ึงเร่ิมมีบทบาทและ อิทธิพลมากข้ึนในการเมืองของยโุ รปในปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 เพ่ือสร้าง สงั คมใหม่ท่ีมีความเสมอภาคและปราศจากความเหล่ือมล้าทางเศรษฐกิจ 540
5.2 การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม (Industrial Revolution) ผลกระทบของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม คาร์ล มากซ์ ผนู้ าแนวคิดทางสงั คมนิยม ที่เรียกร้องใหก้ รรมกรรวมพลงั กนั ต่อสูร้ ะบบทุนนิยม 541
5.2 การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) ผลกระทบของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ด้านเศรษฐกจิ ค.ศ. 1776 แอดมั สมิท เพื่อใหร้ ัฐบาลเห็นดว้ ยวา่ ความ (Adam Smith) มน่ั คงของประเทศจะเกิดจากระบบ ศาสตราจารยแ์ ห่ง การคา้ แบบเสรี (laissez faire) ท่ี หลกั ของการคา้ เสรีแบบ มหาวทิ ยาลยั กลาสโกว์ ดงั กล่าวทาใหช้ นช้นั กลาง (Glasgow) ประเทศองั กฤษ รัฐบาลควรปล่อยใหเ้ อกชน ของประเทศต่าง ๆ หลาย พมิ พเ์ ผยแพร่งานเขียนชื่อ ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ ประเทศในยโุ รปมีบทบาทสูง ความมง่ั คงั่ ของประชาชาติ อยา่ งเสรีโดยปราศจากการควบคุม ทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม (Wealth of Nations) 542
5.2 การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) ผลกระทบของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ด้านการเมือง ชนช้ันกลางกลายเป็ นกลุ่มนักการเมืองที่ส่งเสริ มระบอบ ประชาธิปไตยในประเทศต่าง ๆ ส่วนพวกชนช้นั กรรมกรในโรงงานอุตสาหกรรม กไ็ ดร้ วมตวั กนั เรียกร้องสิทธิในการปกครองดว้ ย ในกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 19 กรรมกรในประเทศองั กฤษไดจ้ ดั ต้งั สหภาพ แรงงาน (Labour Union) ข้ึนเพื่อรักษาผลประโยชน์และใหค้ วามคุม้ ครองแก่พวกตน อีกท้งั เป็ นองคก์ รท่ีทาหนา้ ที่เป็ นตวั แทนของประชาชนคนธรรมดา จนในท่ีสุดใน ปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 กส็ ามารถเรียกร้องใหม้ ีการแกไ้ ขกฎหมายเลือกต้งั ใหเ้ ป็ น ประชาธิปไตยมากข้ึน ทาใหป้ ระชาชนทว่ั ไปมีสิทธิในการเลือกต้งั 543
6. ยุคภูมธิ รรมและแนวคดิ ประชาธิปไตย การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ท่ีเริ่มข้ึนในคริสตศ์ ตวรรษที่ 17 นาไปสู่การปฏิวัติทาง ภูมิปัญญา (Intellectual Revolution) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาวตะวนั ตกกลา้ ใช้ เหตุผลเพื่อแสดงความคิดเห็นทางสังคมและการเมืองมากข้ึน ตลอดจนเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพในการมีส่วนร่วมในการปกครอง ทาให้สังคมตะวนั ตกเป็ นสังคมท่ีรุ่งโรจน์ ในวิชาการต่าง ๆ ทาให้ผูม้ ีความรู้ มีสติปัญญาและความคิด ตลอดจนความสามารถ ไดร้ ับการยกย่องจากสังคมมากข้ึน และเป็ นพ้ืนฐานสาคญั ท่ีทาให้ชาวตะวนั ตกเขา้ สู่ ความเจริญในยุคใหม่ ดงั น้นั คริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 จึงไดร้ ับสมญาวา่ เป็ น ยุคภูมิธรรม (Age of Enlightenment) 544
6.1 นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes ค.ศ. 1588–1679) นัก ทอมสั ฮอบส์ ปรัชญาชาวองั กฤษ เขียนหนังสือ ลีไวอาทัน (Leviathan) ซ่ึงมี ชาวองั กฤษผสู้ นบั สนุน แนวความคิดทางการเมืองท่ีนิ ยมระบอบกษัตริ ย์ แต่ก็มี การปกครองระบอบกษตั ริย์ แนวความคิดวา่ อานาจของกษตั ริยไ์ ม่ใช่อานาจของเทวสิทธ์ิหรือ อานาจอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ แทจ้ ริงแลว้ เป็ นอานาจท่ีประชาชนยินยอม 545 พร้อมใจมอบให้ ส่วนทางศาสนจกั รน้นั ฮอบส์มีความเห็นวา่ ไม่ควรเขา้ มายงุ่ เก่ียวกบั การปกครองของรัฐ และยงั โจมตีความเช่ือทางศาสนา ของมนุษยว์ ่าเป็ นเรื่องไร้เหตุผล แต่ก็มิได้ปฏิเสธพระเจ้า แต่ ปฏิเสธพธิ ีกรรมและผนู้ าทางศาสนา
6.1 นักปราชญ์การเมอื งแนวประชาธิปไตย จอห์น ลอ็ ก จอห์น ล็อก (John Locke ค.ศ. 1632–1704) ชาวองั กฤษผวู้ างรากฐาน นักปรัชญาชาวอังกฤษ เขียนหนังสือเรื่ อง Two ปรัชญาการเมืองแนวประชาธิปไตย Treatises of Government เสนอแนวความคิดว่า ประชาชนเป็ นที่มาของอานาจทางการเมืองและ มีอานาจในการจัดต้ังรัฐบาลขึ้นได้ รัฐและรัฐบาล มี ห น้ า ท่ี ป ก ค ร อ ง โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ สิทธิเสรีภาพของประชาชน อนั ไดแ้ ก่ ชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน รัฐบาลมีอานาจภายในขอบเขต ท่ีประชาชนมอบให้ รัฐไม่แทรกแซงกิจการของ ปัจเจกชน นอกจากในกรณีที่จาเป็ น เพ่ือรักษา เสรี ภาพและทรัพย์สินของผูน้ ้ัน แนวความคิดน้ี จึงเป็นรากฐานความคิดของประชาธิปไตยสมยั ใหม่ 546
6.1 นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de มองเตสกเิ ออร์ Montesquieu ค.ศ. 1689–1755) ขุนนางฝร่ังเศส เขียนหนงั สือเรื่อง วิญญาณแห่งกฎหมาย (The Spirit of Laws) ไดเ้ สนอแนวความคิดวา่ กฎหมายที่รัฐบาล แต่ละสังคมบัญญัติข้ึนต้องสอดคลอ้ งกับลกั ษณะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ เ ง่ื อ น ไ ข ท า ง ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ประเพณี วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ของแต่ละสังคม อานาจการปกครองควรแยกออกเป็ น 3 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายนิติบัญญัติ ฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายตุลาการ เพื่อ ตรวจสอบและถว่ งดุลอานาจซ่ึงกนั และกนั นกั เขียนและนกั ปรัชญารัฐศาสตร์ ชาวฝร่ังเศส 547
6.1 นักปราชญ์การเมืองแนวประชาธิปไตย วอลแตร์ (Voltaire ค.ศ. 1694–1778) เป็ นนักคิดและนักเขียนชาวฝรั่งเศส เขียน ห นัง สื อ เ ร่ื อ ง จ ด ห ม า ย ป รั ช ญ า ( The Philosophical Letters) เน้ือหาโจมตีสถาบนั และกฎระเบียบท่ีลา้ หลงั ของฝร่ังเศส และ เรี ยกร้องให้มีการปฏิรู ปประเทศฝร่ังเศสให้ ทนั สมยั เหมือนองั กฤษ แต่ก็ไม่ตอ้ งการให้มี การเปลี่ยนแปลงสังคมและการเมืองอย่าง ถอนรากถอนโคน วอลแตร์ นกั คิดและนกั เขียนคดั คา้ นการปกครอง แบบเผดจ็ การของฝร่ังเศส 548
6.1 นักปราชญ์การเมอื งแนวประชาธิปไตย รูโซ ผเู้ ขียนตาราทางการเมือง ชอง-ชาก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau เร่ือง สัญญาประชาคม ค.ศ. 1712–1778) เขียนหนังสือ สัญญาประชาคม (The Social Contract) เสนอแนวความคิดวา่ ควรมี การจัดทาขอ้ ตกลงหรือสัญญาประชาคม โดยให้ ประชาชนได้เขา้ มาพิจารณาตัดสินปัญหาต่าง ๆ ร่วมกนั รัฐบาลควรเกิดจากการเห็นชอบร่วมกัน ของประชาชนและปกครองให้ประชาชนได้รับ ความยุติธรรม หากรัฐบาลผิดสัญญาประชาชนก็มี สิทธิลม้ ลา้ งรัฐบาลได้ ซ่ึงเป็ นแนวความคิดที่มุ่ง ปฏิรู ปการเมืองและสังคมให้ปราศจากความ เหลื่อมล้า 549
6.2 การปฏวิ ตั ทิ างการเมืองการปกครองขององั กฤษ เกิดข้ึนใน ค.ศ. 1688 สมยั พระเจา้ วลิ เลียมที่ 3 แห่ง พระเจา้ เจมส์ที่ 2 เนื่องจาก ราชวงศอ์ อเรนจ์ นบั ถือนิกาย พระองคท์ รงชกั ชวนให้ การ โปรเตสแตนต์ มาปกครอง ประชาชนหนั มานบั ถือนิกาย ปฏิวตั ิ แทน โดยพระองคส์ ญั ญาวา่ จะ คาทอลิก และพยายามใช้ ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิวา่ อานาจอยา่ งสูงสุด ดว้ ยสิทธิพ้นื ฐานของพลเมือง การปฏิวตั ิในคร้ังน้ีทาใหร้ ะบอบราชาธิป- รัฐสภาองั กฤษไดอ้ อกกฎหมายใหส้ ิทธิ ไตยแบบเทวสิทธ์ิขององั กฤษสิ้นสุดลง เสรีภาพแก่ชาวองั กฤษ และไดร้ ับ และชาวโปรเตสแตนตม์ ีเสรีภาพ การยกยอ่ งวา่ เป็นประเทศแม่แบบของ ในการนบั ถือศาสนา การปกครองระบอบประชาธิปไตย 550
6.3 การปฏิวตั ิของชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 สหรัฐอเมริกาเคยอยู่ภายใตก้ ารครอบครองขององั กฤษ โดยใน ค.ศ. 1754 องั กฤษเขา้ มาก่อต้งั เขตอาณานิคมในดินแดนน้ี 3 เขต รวมอาณานิคม 13 แห่ง อาณานิคม 13 แห่ง เขตอาณานิคมนิวอิงแลนด์ คื อ ดิ น แ ด น ที่ อ ยู่ช า ย ฝั่ ง เขตอาณานิ คมภาคกลาง เ ข ต อ า ณ า นิ ค ม ภ า ค ใ ต้ มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประกอบดว้ ยดินแดนของ 4 ประกอบดว้ ยดินแดนของ 5 ประกอบด้วย 4 อาณานิคม อาณานิคม ได้แก่ เพนซิล- อาณานิคม ไดแ้ ก่ แมริแลนด์ ไ ด้ แ ก่ แ ม ส ซ า ชู เ ซ ต ส์ เวเนีย เดลาแวร์ นิวยอร์ก เวอร์จิเนีย นอร์ทแคโรไลนา โรดไอแลนด์ คอนเนตทิคตั และนิวเจอร์ซีย์ เซาทแ์ คโรไลนา และจอร์เจีย และนิวแฮมป์ เชียร์ 551
6.3 การปฏิวตั ิของชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 การปฏิวตั ขิ องชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 • เม่ือชาวองั กฤษอพยพมาต้งั ถิ่นฐานในสหรัฐอเมริกา แลว้ รวมตวั กนั ปกครองตนเองในรูปแบบ อาณานิคมข้ึนตรงต่อองั กฤษ • องั กฤษทาสงครามยืดเย้ือกบั ฝร่ังเศส ตอ้ งใชจ้ ่ายเงินจานวนมากเพื่อทาสงคราม จึงหนั มาขูดรีด อาณา นิคม และคุกคามสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของชาวอาณานิคม โดยรัฐสภาองั กฤษออกพระราชบญั ญตั ิ ควเิ บก (Quebec Act) ซ่ึงพระราชบญั ญตั ิน้ีองั กฤษมีสิทธ์ิที่จะยบั ย้งั สิทธิเสรีภาพของ ชาวอาณานิคม สร้างความไม่พอใจแก่ชาวอาณานิคมมาก • ในวนั ท่ี 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ชาวอาณานิคมจึงพร้อมใจกนั ประกาศอิสรภาพจากองั กฤษ องั กฤษ ส่งทหารมาปราบกลายเป็นสงคราม เรียกวา่ สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกนั 552
6.3 การปฏิวตั ขิ องชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 การปฏวิ ตั ิของชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 • ชาวอาณานิคมไดร้ ับความช่วยเหลือจากฝร่ังเศสและเป็นฝ่ายมีชยั ใน ค.ศ. 1783 ไดต้ ้งั เป็นประเทศ ใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข • เนื่องจากชาวอเมริกนั ส่วนใหญ่เป็นชาวองั กฤษ มีการศึกษา มีจิตใจยดึ มน่ั ในเร่ืองของสิทธิเสรีภาพ และอิสรภาพ ที่อพยพมาทวปี อเมริกากเ็ พื่อตอ้ งการอิสรภาพ ดงั น้นั ชาวอเมริกนั จึงมีความคิดและ จิตใจยดึ มน่ั ในระบอบประชาธิปไตย สามารถวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยไดอ้ ยา่ ง มนั่ คง • ประธานาธิบดีอเมริกนั ผมู้ ีชื่อเสียงในการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและความเสมอภาคในหมู่ ประชาชน คือ ประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอร์น (Abraham Lincoln ค.ศ. 1861–1865) ไดป้ ระกาศ เลิกทาสและใหค้ วามเสมอภาคแก่ชาวผวิ ดา • การปฏิวตั ิของชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 มีอิทธิพลต่อการปฏิวตั ิฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 มาก ฝรั่งเศสได้ ตวั อยา่ งการใหส้ ิทธิประชาชนทุกคนเท่าเทียมกนั ไม่มีการแบ่งชนช้นั ไม่มีการใหศ้ าสนาเขา้ มามี บทบาททางการเมือง 553
6.3 การปฏวิ ตั ขิ องชาวอเมริกนั ค.ศ. 1776 1 อพยพ อพยพ 5 ประกาศอิสรภาพ ประเทศ สหรัฐอเมริกา จากองั กฤษ ทาให้ องั กฤษ เกิดสงคราม 4 3 องั กฤษขดู รีดประเทศ องั กฤษตอ้ งการเงิน อาณานิคม 2 6 สงครามยดื เย้อื ใหค้ วามช่วยเหลือ ฝร่ังเศส สหรัฐอเมริกาจนไดช้ ยั ชนะ ค.ศ. 1783 554
6.4 การปฏิวตั ฝิ ร่ังเศส ค.ศ. 1789 การปฏิวตั ิฝร่ังเศส ค.ศ. 1789 เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง สาเหตุเกิดจาก การทาสงครามหลายคร้ังต้งั แต่สมยั พระเจา้ หลุยส์ท่ี 14 จนมาถึงสมยั ของพระเจา้ หลุยส์ที่ 16 สงครามคร้ังท่ีฝรั่งเศสสิ้นเปลืองมากท่ีสุด คือ การเขา้ ช่วยอาณานิคมรบกบั องั กฤษในสงคราม ประกาศอิสรภาพอเมริกนั ซ่ึงทาใหร้ ัฐบาลฝรั่งเศสมีหน้ีสินจานวนมาก ดา้ นสงั คม ฝรั่งเศสมีโครงสร้างสงั คมแบบชนช้นั ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการบริหารประเทศ 555
6.4 การปฏิวตั ฝิ ร่ังเศส ค.ศ. 1789 สงั คมแบบชนช้นั ของชาวฝรั่งเศสแบ่งออกเป็น 3 ฐานนั ดร • นกั บวชนิกาย ฐานนั ดรท่ี 2 • ชนช้นั กลาง ชาวนา โรมนั คาทอลิก • ขนุ นางและพวก และกรรมกร ฐานนั ดรท่ี 1 ผดู้ ีมีตระกลู ฐานนั ดรที่ 3 ฐานันดรที่ 1 และ 2 มีฐานะดี ไดร้ ับการยกเวน้ ภาษี ฐานนั ดรที่ 3 มีฐานะยากจนตอ้ งเสียภาษีอย่างเต็มท่ีเม่ือ ฝร่ังเศสกาลงั ลม้ ละลาย เสนาบดีคลงั เสนอใหเ้ ก็บภาษีที่ดินจากประชาชนทุกคน แต่ถูกต่อตา้ นจากฐานนั ดรท่ี 1 และ 2 556
6.4 การปฏวิ ตั ิฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 • เมื่อปัญญาชนฝร่ังเศสพยายามแกไ้ ขสถานการณ์ต่าง ๆ ในประเทศใหด้ ีข้ึน องั กฤษ ซ่ึงปกครองในระบอบกษตั ริยภ์ ายใตร้ ัฐธรรมนูญ กลายเป็ นแม่แบบและแรงบนั ดาลใจให้ กลุม่ ปัญญาชนหาหนทางใหป้ ระชาชนชาวฝรั่งเศสไดช้ ่ืนชมกบั เสรีภาพอยา่ งองั กฤษบา้ ง • นอกจากน้ีชาวฝรั่งเศสยงั มีความเชื่อว่าการปกครองแบบมีรัฐสภาหรือรัฐบาล ประชาธิปไตย จะนาความมง่ั คงั่ มาสู่ประเทศได้ • ดงั น้นั ในวนั ท่ี 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ชาวฝร่ังเศสจึงก่อการปฏิวตั ิคร้ังใหญ่เพ่ือ ลม้ ลา้ งอานาจการปกครองแบบราชาธิปไตย ต่อมาไดจ้ ัดต้งั ระบอบการปกครองแบบ สาธารณรัฐ ซ่ึงนับว่ามีผลอย่างมากต่อความคิดทางการเมืองของนานาประเทศทวั่ โลก ท้งั ในระยะส้ันและระยะยาว 557
6.4 การปฏิวตั ิฝร่ังเศส ค.ศ. 1789 การปฏิวตั ิฝร่ังเศส ค.ศ. 1789 เป็นปรากฏการณ์คร้ังแรกท่ีประชาชนเรียกรอ้ งเสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ ตามแนวทางของนกั ปราชญก์ ารเมืองของคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 ซ่ึงแนวคิดดงั กล่าวสะทอ้ นออกมาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรในรัฐธรรมนูญฉบบั แรก ของฝรั่งเศส คาประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองของฝร่ังเศสท่ีประกาศเม่ือวนั ท่ี 27 สิงหาคม ค.ศ. 1789 เป็นการนาเอาความคิดหลกั ของลอ็ ก มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ และรูโซ ยอ้ นกลบั มาใชอ้ ีกคร้ัง การปฏิวตั ิฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ส่งผลกระทบใหแ้ นวคิดเรื่องเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ แพร่กระจายไปทว่ั ยโุ รป โดยผา่ นการท่ีฝรั่งเศสทาสงครามยดึ ครอง ประเทศต่าง ๆ ในยโุ รปในช่วงปฏิวตั ิฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน ที่ฝรั่งเศสพา่ ยแพ้ 558
6.4 การปฏิวตั ฝิ ร่ังเศส ค.ศ. 1789 ประชาชนในประเทศต่าง ๆ ต่ืนตัวต่อแนวคิดของการปฏิวตั ิฝรั่งเศส นาไปสู่การต่อต้าน ผปู้ กครองตลอดช่วงเวลาคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 และ 20 เพ่ือเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในการปกครอง ตนเองของประชาชน แนวคิดประชาธิปไตยของล็อก มองเตสกิเออร์ วอลแตร์ และรูโซ มีผลในการปลุกเร้าจิตสานึก ทางการเมืองของชาวตะวนั ตกเป็นอนั มาก ก่อให้เกิดการต่อสู้เพื่อให้ไดม้ าซ่ึงประชาธิปไตยในประเทศต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องนับแต่ปลาย คริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 ถือเป็ นจุดเริ่มตน้ ของศกั ราชใหม่ของระบบการเมืองที่ประชาชนถือว่าตน เป็นเจา้ ของประเทศและมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ เหตุการณ์ปฏิวัติทางการเมืองโดยเฉพาะการปฏิวัติฝร่ังเศส ค.ศ. 1789 เป็ นแม่แบบให้ ชาวตะวนั ตกร่วมเรียกร้องสิทธิเสรีภาพทางการเมืองมากข้ึน 559
7. ศิลปวฒั นธรรมสมยั ใหม่ ศิลปะบารอก (Baroque) ลทั ธิคลาสสิกใหม่ (Neoclassicism) ลทั ธิจินตนิยม (Romanticism) ลทั ธิสัจนิยม (Realisticism) 560
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) ศิลปะบารอก แสดงอารมณ์พลุ่งพล่าน ดิ้นรน เคล่ือนไหว หรือสร้างให้มีรูปทรงบิดผนั จนเกินงามหรือ ประณีตบรรจงเกินไป ศิลปะแนวน้ีรุ่งเรืองมากในอิตาลีและกลุ่มประเทศคาทอลิก 1. จิตรกรรม มีการลวงตาดว้ ยเส้น สี แสง เงา และใชห้ ลกั ทศั นียวสิ ยั ทาใหเ้ ป็นภาพ 3 มิติ จิตรกรคน สาคญั คือ มีเกลนั เจโล ดา การาวจั โจ (Michelangelo da Caravaggio) ชาวอิตาลี เรมบรันต์ (Rembrandt) ชาวดตั ช์ และพเี ตอร์ พอล รูเบนส์ (Peter Paul Rubens) ชาวเฟลมิช 2. สถาปัตยกรรม นิยมสร้างใหด้ ูโอ่อ่า โอฬารเกินความจาเป็น เช่น พระราชวงั แวร์ซายของฝรั่งเศส สร้างในสมยั พระเจา้ หลุยส์ท่ี 14 3. ดนตรี มีท้งั เพลงศาสนาและไม่ใช่เพลงศาสนา ท้งั ร้องเด่ียวและร้องอุปรากร นักแต่งเพลงที่มี ช่ือเสียง ไดแ้ ก่ คลอดิโอ มอนเตเวอร์ดี (Claudio Monteverdi) ชาวอิตาลี 4. วรรณกรรม นิยมเขียนเรื่องท่ีเกินจริง 561
7.1 ศิลปะบารอก (Baroque) Doubting Thomas นา้ พุเทรวี ผลงานของมีเกลนั เจโล ผลงานของนิคโคโล แซลวี 562
7.2 ลทั ธิคลาสสิกใหม่ (Neoclassicism) ลทั ธิคลาสสิกใหม่ ไดร้ ับความนิยมในยโุ รปเม่ือคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 ถึงกลางคริสตศ์ ตวรรษ ที่ 19 เป็นยคุ ท่ีมนุษยเ์ ปล่ียนความคิด ความเช่ือและทศั นคติด้งั เดิมไปอยา่ งสิ้นเชิง 1. สถาปัตยกรรม สะทอ้ นเร่ืองราวของอารยธรรมโบราณ แสดงความสง่างามของ ทรวดทรง เนน้ เรื่องความสมดุลกลมกลืนไดส้ ัดส่วน 2. ประติมากรรมและจิตรกรรม เลียนแบบประติมากรรมกรีก–โรมนั จิตรกรรมเน้น เรื่องเสน้ มากกวา่ การใชส้ ี แสดงออกถึงความสง่างามและยงิ่ ใหญ่ในความเรียบง่าย 3. นาฏกรรม รับอิทธิพลมาจากการละครของกรีก แสดงความสมเหตุสมผลของเร่ือง และมุ่งมนั่ ที่จะสง่ั สอนนอกเหนือไปจากความเพลิดเพลิน 4. ดนตรี เน้ือเรื่องแสดงออกดา้ นความคิดเห็นในเร่ืองความเสมอภาคตามทศั นคติ ของนกั เขียนสมยั ภมู ิปัญญา การแตง่ เพลงท่ีมีอิสระมากข้ึน นกั ประพนั ธ์ท่ีมีชื่อเสียง ไดแ้ ก่ วอลฟ์ กงั อะมาเดอุส โมสาร์ต (Wolfgang Amadeus Mozart) ชาวออสเตรีย 563
7.2 ลทั ธิคลาสสิกใหม่ (Neoclassicism) ภาพการตายของมาราต คาสัตย์ปฏญิ าณแห่งโฮราตี โดย ชาก-ลุย ดาวดิ (The Oath of the Horatti) ผลงานของชาก-ลุย ดาวิด 564
7.3 ลทั ธิจนิ ตนิยม (Romanticism) ลทั ธิจินตนิยม ไดร้ ับความนิยมในยุโรประหวา่ งปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 กลาง คริสตศ์ ตวรรษที่ 19 เป็นศิลปะท่ีเนน้ อารมณ์ความรู้สึกภายใน เน่ืองจากเบื่อหน่ายการ ใชเ้ หตุผล และตอ้ งการกลบั ไปชื่นชมความงามของธรรมชาติ พอใจเร่ืองราวท่ีแตกต่าง ออกไปจากดินแดนต่าง ๆ โดยไม่คานึงถึงประเพณีนิยม ศิลปิ นจะสร้างงานโดยยดึ ถืออารมณ์ฝันและจินตนาการของตนเป็ นสาคัญและไม่ เห็นดว้ ยกบั การสร้างงานท่ียดึ ถือหลกั วิชาการและเหตุผล 1. สถาปัตยกรรม รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมแบบกอทิกมาดดั แปลงตาม จินตนาการเพื่อใหเ้ กิดผลทางดา้ นอารมณ์ 2. ประติมากรรม เนน้ การแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ศิลปิ นท่ีมีช่ือเสียง คือ ฟรองซัว รูเด (François Rude) ผปู้ ้ันประติมากรรมนูนสูง มาร์ซายแยส (Marseillaise) 565
7.3 ลทั ธิจนิ ตนิยม (Romanticism) Departure of the Volunteers of 1792 มรณกรรมของพระเจา้ ผลงานของฟรองซวั รูเด ประดบั อยทู่ ี่ประตชู ยั ซาดด์ าพาลสั ผลงานของ เดอ เลตรัวส์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เดอราครัวซ์ 566
7.3 ลทั ธิจนิ ตนิยม (Romanticism) 3. จิตรกรรม มีการจดั องคป์ ระกอบดว้ ย อิสรภาพนาประชาชน ของเออแชน เดอลากรัวซ์ เส้น สี แสงเงา และปริมาตรค่อนขา้ งรุนแรง สตรีท่ีถือธงเป็นสญั ลกั ษณ์แทนอิสรภาพ มุ่งสะเทือนอารมณ์ คลอ้ ยไปกบั จินตนาการ ชายสวมหมวกทอปแฮต มือถือปื นยาว ที่เต็มไปดว้ ยความเพอ้ ฝัน แปลกประหลาด อยทู่ างดา้ นซา้ ยของภาพคือผเู้ ขียนภาพเอง ต่ืนเต้น เร้าใจ ความรุนแรง และความน่า หวาดเสียว จิตรกรคนสาคญั ไดแ้ ก่ เออแชน เดอลากรัวซ์ (Eugene Delacroix) เขียนภาพ อิสรภาพนาประชาชน (Liberty Leading the People) เป็ นเหตุการณ์นองเลือด เมื่อชาว ฝร่ังเศสลุกฮือข้ึนโค่นบลั ลงั ก์ราชวงศ์บูร์บง ซ่ึงเกิดข้ึนใน ค.ศ. 1830 567
7.3 ลทั ธิจนิ ตนิยม (Romanticism) 4. ดนตรี มิไดแ้ ต่งข้ึนเพ่ือให้ฟังเพลิดเพลินอยา่ งเดียว แต่มีจุดมุ่งหมายท่ีจะเร้าความรู้สึก ทางจิตใจดว้ ย เช่น ความรู้สึกชาตินิยม นกั แต่งเพลงที่มีช่ือเสียง เช่น ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven) ฟรานซ์ ชูเบิร์ต (Franz Schubert) ชาวออสเตรีย 5. การละคร นิยมแสดงเรื่องที่ตวั เอกประสบปัญหา อุปสรรค การเขียนบทไม่เคร่งครัด ในระเบียบแบบแผน กาเนิดในเยอรมนี บทละครท่ีย่ิงใหญ่ท่ีสุด คือ เร่ือง เฟาสต์ (Faust) ของโยฮนั น์ วอลฟ์ กงั ฟอน เกอเทอ (Johann Wolfgang von Goethe) 6. วรรณกรรม เนน้ จินตนาการและอารมณ์ และถือวา่ ความตอ้ งการของผปู้ ระพนั ธ์สาคญั กวา่ ความตอ้ งการของคนในสังคม บทร้อยกรองประเภทคีตกานท์ (lyric) ไดร้ ับความนิยม มากในสมยั น้ี กวีคนสาคญั ไดแ้ ก่ วิลเลียม เวิดส์เวิร์ท (William Wordsworth) และแซมวล เทยเ์ ลอร์ โคลริดจ์ (Samuel Taylor Coleridge) 568
7.4 ลทั ธิสัจนิยม (Realisticism) ลทั ธิสัจนิยม เห็นวา่ โลกไม่ไดส้ วยงาม มีแนวคิดท่ีต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานความเป็นจริง ของชีวิต ลกั ษณะเด่นของสัจนิยม คือ การแสดงให้เห็นสภาพท่ีเป็ นจริงของสังคม เปิ ดโปงความชว่ั ร้ายของพวกนายทุน และความไม่ยตุ ิธรรมท่ีกลุ่มผใู้ ชแ้ รงงานไดร้ ับ ส่วนมากเป็ นรายละเอียดของชีวติ ประจาวนั ทุกดา้ น พวกสัจนิยมไม่มองโลกสวยงาม เหมือนจินตนิยม 1. สถาปัตยกรรม มีการสร้างโรงงานขนาดใหญ่ อาคารสานกั งานท่ีสูงหลาย ๆ ช้นั ใชว้ สั ดุจากเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น เหลก็ กลา้ เหลก็ หล่อ แผน่ กระจก อาคารมีลกั ษณะ เรียบง่ายสอดคลอ้ งกบั ประโยชน์ใชส้ อย 569
7.4 ลทั ธิสัจนิยม (Realisticism) 2. ประติมากรรม นิยมป้ันและ รูปป้ัน นกั คิด ประติมากรรมสาริดชิ้นเอกชิ้นหน่ึง หล่อรูปคนมีรูปร่างสัดส่วนเหมือน ของโอกสู ต์ โรแดง เม่ือป้ันออกมาใหม่ ๆ คนจริ ง ผิวของรูปป้ันหยาบและ ขรุขระ ไม่เนียนเรียบ เม่ือแสงส่อง นกั วจิ ารณ์และประชาชนไม่ค่อยสนใจ แต่ต่อมา กระทบจะแลเห็นกลา้ มเน้ือชดั เจน ศิลปิ นคนสาคญั คือ โอกสู ต์ โรแดง ไดร้ ับความนิยมมาก ทาใหโ้ รแดงทาซ้าข้ึนมาอีก หลายรูป รูปน้ีหล่อเม่ือประมาณ ค.ศ. 1910 (Auguste Rodin) ผลงานชิ้นเอก เช่น นกั คิด (The Thinker) 570
7.4 ลทั ธิสัจนิยม (Realisticism) ภาพการฝังศพท่ีออร์นองส์ 3. จิตรกรรม สะท้อนสภาพ ฝีมือกสู ตาฟ กรู ์เบ จิตรกรสัจนิยม ชีวิตของมนุษยใ์ นดา้ นลบ ศิลปะ ซ่ึงชอบเขียนภาพชีวติ ประจาวนั ของมนุษย์ สัจนิ ยม มี ก าเ นิ ดใ นป ระ เท ศ ฝร่ังเศส จากการริเริ่มของกสู ตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet) ยึดถือ หลกั การสร้างงานให้เหมือนจริง และเป็ นจริ งตามที่ตาแลเห็น 571
7.4 ลทั ธิสัจนิยม (Realisticism) 4. ดนตรี มีการแต่งเพลงในรูปแบบใหม่ ตามแนวความคิดท่ีวา่ ดนตรีไม่ใช่สิ่งที่ หล่อออกมาเป็ นแบบประเพณีหรือมีรูปแบบตายตวั นักแต่งเพลงที่มีช่ือเสียง ไดแ้ ก่ โคลด เดอบูซี (Claude Debussy) ชาวฝรั่งเศส และ อีกอร์ สตราวีนสกี (Igor Stravinsky) ชาวรัสเซีย 5. การละคร บทละครเขียนเป็ นร้อยแกว้ ผูบ้ ุกเบิกละครแนวใหม่น้ี คือ เฮนริก อิบเซน (Henrik Ibsen) นกั แต่งบทละครชาวนอร์เวย์ ผแู้ ต่งเร่ือง บา้ นตุก๊ ตา (A Doll’s House) 6. วรรณกรรม สะทอ้ นภาพการต่อสู้ดิ้นรนของมนุษย์ ความเห็นแก่ตวั วรรณคดี แนวสัจนิยมเกิดข้ึนในฝรั่งเศส นกั เขียนนวนิยายที่มีอิทธิพล ไดแ้ ก่ โอโนเร เดอ บลั ซกั (Honore de Balzac) และ กสู ตาฟว์ โฟลแบร์ (Gustav Flaubert) 572
บุคคลปริศนา ค้นหาผลงาน 573
บุคคลที่ 1 เลโอนาร์โด ดาวนิ ชี ใช้หลกั กายวภิ าค ค้นพบผวิ ขรุขระ สร้างสรรค์งานศิลปกรรม ของดวงจนั ทร์ เป็ นผู้คดิ ค้น กฎแห่งความโน้นถ่วง 574
บุคคลท่ี 2 นิโคเลาส์ โคเพอร์นิคสั ดาวพฤหัสมีดวงจนั ทร์ ดวงอาทติ ย์เป็ นศูนย์กลาง จานวนมากกว่าโลก ของระบบสุริยจกั รวาล โต้แย้งความคดิ เกยี่ วกบั จกั รวาลวทิ ยาของกรีก 575
บุคคลที่ 3 กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ สนับสนุนสมมุตฐิ านของ ประดษิ ฐ์กล้องโทรทรรศน์ อาริสโตเตลิ และโตเลมี ดูการเคลอื่ นไหวของดาว ประดษิ ฐ์เครื่องจักรกลทใ่ี ช้ ในอุตสาหกรรมการทอผ้า 576
Search