Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่ 7 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ฯ

แผนที่ 7 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ฯ

Published by nujaree, 2020-12-05 03:28:35

Description: แผนที่ 7 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ฯ

Search

Read the Text Version

ประวตั ศิ าสตร์สากล ม. 4–6 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อารยธรรมตะวนั ตกสมัยโบราณ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 อารยธรรมล่มุ นา้ ไนล์และชนชาตเิ ก่าแก่บางกลุ่ม ในเอเชียไมเนอร์และดนิ แดนใกล้เคยี ง เวลา 2 ช่ัวโมง 292

สถานทแ่ี ห่งนีเ้ กยี่ วข้องกบั อารยธรรมใด และอยู่ในสมยั ใด • อารยธรรมลุ่มน้าไนล์ สมยั ราชอาณาจกั รเก่าซ่ึงเจริญรุ่งเรืองดา้ นวทิ ยาการ 293

2. อารยธรรมล่มุ นา้ ไนล์ 2.1 ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์กบั การต้งั ถิน่ ฐาน อารยธรรมลุ่มน้าไนล์ หรืออารยธรรมอียิปต์ โบราณกาเนิ ดข้ึนบริ เวณสองฝั่ งแม่น้ าไนล์ท่ี มี ลกั ษณะเป็นแนวยาว ต้งั แต่ปากแม่น้าไนลซ์ ่ึงเป็ น ตอนปลายสุดของแม่น้าไปจนถึงตอนเหนือของ ประเทศซูดานในปัจจุบนั 294

2.1 ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์กบั การต้งั ถนิ่ ฐาน สภาพภูมปิ ระเทศของลุ่มนา้ ไนล์แบ่งล่มุ แม่นา้ เป็ น 2 บริเวณ อียปิ ตล์ า่ ง (Lower Egypt) อียปิ ตบ์ น (Upper Egypt)  ต้งั อยทู่ ี่ราบปากแม่น้าไนล์  บริเวณท่ีแม่น้าไนล์ มีลกั ษณะเป็นรูปพดั ไหลผา่ นหุบเขา  ชาวกรีกโบราณเรียกวา่  เป็นที่ราบแคบ ๆ เดลตา ขนาบดว้ ยหนา้ ผา และทะเลทราย  อารยธรรมโบราณของ อียปิ ตเ์ จริญข้ึนบริเวณน้ี 295

2.1 ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์กบั การต้งั ถน่ิ ฐาน ลกั ษณะภูมิอากาศของดินแดนอียิปต์เป็ นทะเลทราย มีความแห้งแลง้ และฝนตกน้อยมาก มีอุณหภูมิเฉลี่ยประจาปี สูงและปริมาณฝนน้อย บางปี ไม่มีฝนเลย ส่วนบริเวณชายฝ่ังทะเล เมดิเตอร์เรเนียนมีสภาพภูมิอากาศเป็ นแบบเมดิเตอร์เรเนียน คือ จะมีภูมิอากาศในช่วงดดูหนาว มีฝนตกเลก็ นอ้ ย และดดรู ้อนจะมีอากาศร้อนและแหง้ แลง้ ชาวอียิปตโ์ บราณจึงตอ้ งอาศยั แม่น้าไนล์หล่อเล้ียงชีวิต นัก ประวตั ิศาสตร์ชาวกรีกโบราณ ไดก้ ล่าวถึงอียิปตไ์ วว้ ่า “อียิปต์ เป็ นของขวัญของแม่น้าไนล์ (Egypt is the gift of the Nile)” 296

2.2 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ สมยั หินเก่า เป็ นพวกเร่ร่อน พกั อาศัยตาม ชุมชนที่อาศยั อยใู่ นอียปิ ตบ์ น ชะง่อนหิน ล่าสัตวแ์ ละตกปลา เป็ นอาหาร ส่วนใหญ่เป็ นบริเวณที่ราบลุ่ม ชุมชนท่ีอาศยั อยใู่ นอียปิ ตล์ ่าง หนองบึง จะสร้างท่ีพกั หยาบ ๆ โดยใชด้ ินเหนียวและตน้ ออ้ สมยั หินใหม่ ชาวอียปิ ตส์ ามารถใชป้ ระโยชน์จากธรรมชาติ รู้จกั การเพาะปลกู ขา้ วบาร์เลย์ ขา้ วสาลี ขา้ วฟ่ าง ฝึ กสัตวใ์ หเ้ ช่ืองและนามาใชแ้ รงงาน 297 ทาเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ท่ีมีประสิทธิภาพข้ึน รู้จักสร้าง พาหนะ คือ เรือแคนู เพื่อใชล้ อ่ งไปตามแม่น้าไนล์

2.2 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์  พฒั นาการของอียิปตโ์ บราณมีปัจจยั สาคญั จากลกั ษณะภูมิประเทศ และ ธรรมชาติ  ชาวอียิปตร์ ู้จกั นาความรู้เก่ียวกบั ธรรมชาติมาใชเ้ ป็ นประโยชน์ เช่น การ ทาการชลประทาน ทานบก้นั น้า ระบบระบายน้า การขุดคูคลองส่งน้า เขา้ ไปในท่ีดินท่ีห่างจากฝ่ังแม่น้า จนสามารถเพาะปลูกในท่ีดินที่อยู่ ห่างไกลได้  ต่อมามีการจัดระเบียบสังคม เกิดชนช้ันผู้ปกครอง การขยายพ้ืนที่ เพาะปลูกทาให้ประชากรมีจานวนมากข้ึน ขยายตวั ออกเป็ นรัฐเล็ก ๆ เรียกวา่ โนมิส (Nomes) ต่อมาไดม้ ีการรวมกนั เป็นอาณาจกั รใหญ่ 2 แห่ง คือ อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง จนกระท่ัง 3,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช กษตั ริยเ์ มนิส (Menes) จากอียิปตบ์ นไดร้ วมอาณาจกั รท้งั สองเขา้ เป็ น อาณาจกั รเดียวกนั และสถาปนาราชวงศข์ ้ึนปกครองอียปิ ตเ์ ป็นคร้ังแรก 298

2.2 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ เทพเจ้าทส่ี าคญั ของชาวอยี ปิ ต์  สุริยเทพหรือเทพเจา้ เร (Re) เป็น เทพเจา้ สูงสุด  โอไซริส (Osiris) เทพแห่งแม่น้า ไนล์  ไอซิส (Isis) เทพแี ห่งพ้นื ดิน  ชาวอียิปตย์ กยอ่ งเทพเจา้ ว่ามีพระเมตตาต่ออียิปต์ และยกฟาโรห์องค์ประมุขสูงสุดให้เป็ น เทพเจา้ พระองคห์ น่ึง คาส่งั ของพระองคจ์ ึงถือเป็นคาประกาศิตและกฎหมาย  งานสร้างสรรคต์ ่าง ๆ ของชาวอียิปตแ์ ละปรัชญาในการครองชีพจึงมีลกั ษณะที่สอดคลอ้ ง กบั ความเชื่อและสภาพแวดลอ้ มของอียปิ ต์ เช่น อียปิ ตน์ ิยมสร้างงานสถาปัตยกรรมถวายแก่ ฟาโรห์ เช่ือในความสุข การมีชีวติ อมตะ การรู้จกั รับผดิ ชอบ ความมีคุณธรรมและอื่น ๆ 299

2.2 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ วทิ ยาการทส่ี าคญั ของชาวอยี ปิ ต์  ในระยะแรกชาวอียปิ ตน์ ิยมสร้างสุสานฝังพระศพของ ฟาโรห์ ตลอดจนพระราชวงศ์และขุนนางที่เรียกว่า พรี ะมิด (pyramid) มากกวา่ การสร้างสถาปัตยกรรมอื่น  โดยพระศพจะถูกนาไปชาระให้สะอาดและผ่าน กรรมวิธีที่สลบั ซับซ้อนก่อน แลว้ พนั หรือห่อดว้ ยผา้ ขาว สภาพศพจะแห้งและไม่เน่าเปื่ อย เรียกว่า มัมมี่ (mummy) 300

2.2 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ การสร้างพรี ะมดิ นิยมกนั มากในสมัยราชอาณาจักรเก่า (The Old Kingdom 2,630–2,151 ปี ก่อนคริสต์ศักราช)  มหาพีระมิดแห่งเมืองกิเซ (The Great Pyramid of Giza) ประกอบดว้ ยพรี ะมิด 3 องค์  สร้างเม่ือ 2,600 ปี ก่อน คริสตศ์ กั ราช  องคท์ ่ีใหญ่ท่ีสุด คือ พรี ะมิดที่ เป็ นสุสานของฟาโรห์คีออปส์ (Cheops) หรือคูฟู (Khufu) 301

2.3 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ชาวอียปิ ตไ์ ดป้ ระดิษฐอ์ กั ษรภาพท่ีเรียกวา่ ไฮโรกลิฟิ ก (hieroglyphic) เพอ่ื บนั ทึกเร่ืองราวต่าง ๆ ทางศาสนาและวทิ ยาการ การเขียนตวั หนังสือ ช่วงแรก ๆ เป็ นการ แกะสลักบนฝาผนัง โบสถแ์ ละสุสานที่ฝัง พระศพของฟาโรห์ 302

2.3 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมยั ประวตั ศิ าสตร์  อกั ษรไฮโรกลิฟิ กของอียิปต์ได้รับการดัดแปลง เป็นอกั ษรตวั หวดั ที่เรียกวา่ ไฮแรติก (hieratic) แต่ ก็ยงั มีลกั ษณะเป็ นอกั ษรที่เขียนเคร่ืองหมายแทน ความหมายต่าง ๆ และได้วิวฒั นาการเป็ นอกั ษร แอลฟาเบต (alphabet)  อกั ษรไฮโรกลิฟิ กไม่มีใครอ่านออก จนกระทั่ง ชอง ฟรังซัว ชองโปลิยอง (Jean François Champollion) นกั ปราชญช์ าวฝร่ังเศส สามารถ อ่านอกั ษรไฮโรกลิฟิ กในจารึกโรเซตตา (Rosetta Stone) ไดใ้ นคริสตศ์ ตวรรษที่ 19  การอ่านจารึกโรเซตตาช่วยเปิ ดเผยให้โลกได้ ทราบถึงประวัติศาสตร์และเร่ื องราวที่ล้ีลับ เกี่ยวกบั อียปิ ตโ์ บราณเป็นอนั มาก 303

2.3 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมยั ประวตั ศิ าสตร์ บทบาทของฟาโรห์ทม่ี ผี ลต่อการดาเนินชีวติ ของชาวอยี ปิ ต์ สมยั อาณาจกั รใหม่ สมยั ปลายราชวงศ์  ฟาโรห์ไดท้ านุบารุงเศรษฐกิจ  อานาจฟาโรห์ลดนอ้ ยลง ศิลปกรรม วรรณคดี และ  ฟาโรห์แอคนาตนั พยายามกอบกศู้ กั ด์ิศรีของสถาบนั โดยเฉพาะสถาปัตยกรรม ฟาโรห์กลบั คืน โดยการเปลี่ยนแปลงประเพณีการ  มีการส่งเสริมการค้าขายกับ นบั ถือศาสนา ซ่ึงฟาโรห์และเช้ือพระวงศเ์ ท่าน้นั ที่มี พวกซีเรี ย ปาเลสไตน์ และ สิทธิในการเคารพบชู าเทพเจา้ อะตนั ประชาชนทว่ั ไป เกาะครีต ตอ้ งเคารพบชู าฟาโรห์  เ ป็ น ส มัย ที่ อี ยิ ป ต์ มี ค ว า ม  การเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดความเกลียดชงั และโกรธ เจริญรุ่งเรืองมาก เรียกว่าเป็ น แค้นแก่ผู้นับถือเทพเจ้าหลายองค์จนทาให้อียิปต์ ยคุ ทองแห่งอียปิ ต์ ทรุดโทรมลง 304

2.3 อารยธรรมอยี ปิ ต์สมัยประวตั ศิ าสตร์  ในช่วง 620 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช อียปิ ตส์ ูญเสียอานาจให้แก่พวกอสั ซีเรียซ่ึง ยดึ ครองไดไ้ ม่นานนกั ก่อนที่จะสูญเสียอียิปตใ์ หแ้ ก่พวกเปอร์เซีย กรีก และ โรมนั  ต่อมาอียิปตเ์ ปลี่ยนไปนบั ถือศาสนาอิสลาม ดงั น้นั อียปิ ตใ์ นสมยั หลงั จึงไม่ อาจรวมอยใู่ นกลุ่มของโลกตะวนั ตกไดอ้ ีกต่อไป ท้งั น้ีเพราะความสัมพนั ธ์ ทางดา้ นศาสนา การเมือง ศิลปวฒั นธรรม และเศรษฐกิจของอียิปตม์ ีความ ใกลช้ ิดกบั กลุ่มประเทศทางตะวนั ออกมากกวา่  แต่หากกล่าวถึงอียิปตส์ มยั โบราณแลว้ อียปิ ตเ์ ป็ นตน้ กาเนิดของอารยธรรม ตะวนั ตกควบคู่กบั อารยธรรมของเมโสโปเตเมียโดยถ่ายทอดต่อไปให้แก่ กรีกและโรมนั ซ่ึงถือวา่ เป็นตน้ กาเนิดของอารยธรรมตะวนั ตกอยา่ งแทจ้ ริง 305

เรื่องน่ารู้... “มมั ม”่ี เม่ือชาวอียิปต์ทามัมมี่ จะควักสมองออกจากกะโหลก ทางรูจมูก ส่วนลาไส้จะควกั ใส่ไว้ในคาโนปิ คหรือโถ อวัยวะต่าง ๆ จะถูกแยกไว้ในแต่ละโถ แต่มีอวัยวะ อย่างเดียวเท่าน้ันที่จะเก็บไว้กับร่างกาย คือ หัวใจ เนื่องจาก ชาวอยี ปิ ต์เชื่อว่าหัวใจเป็ นท่สี ถิตของวญิ ญาณ 306

3. ชนชาติเก่าแก่บางกลุ่มในเอเชียไมเนอร์และดินแดน ใกล้เคยี ง เอเชียไมเนอร์ หมายถึง ดินแดนที่อย่ใู นภมู ิภาคเอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้บริเวณท่ีอยู่ ระหว่างทะเลดากับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในปัจจุบัน ได้แก่ ดินแดนปาเลสไตน์ ตุรกี และซีเรีย นอกจากแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ในดินแดนเมโสโปเตเมีย และอียิปต์แล้ว ชนชาติเก่าแก่บางกล่มุ ในเอเชียไมเนอร์ และดินแดนใกล้เคียงกม็ ีส่วนสาคัญในการเสริมสร้าง อารยธรรมตะวันตกเช่นเดียวกัน 307

308

3.1 ฟิ นิเชียน  ชาวฟิ นิเชียน (Phoenician) เป็นชนเผา่ เซเมติกเผา่ หน่ึง มีชื่อเรียกด้งั เดิม วา่ ชาวแคนาไนต์ (Canaanite)  อาศัยอยู่ในบริเวณดินแดนกันอาน (Canaan) บริเวณแถบซีเรีย ปาเลสไตน์  อารยธรรมของพวกแคนาไนต์มีรากฐานมาจากอารยธรรมเมโสโปเต- เมียและอียปิ ต์  ในระหวา่ ง 1,300–1,000 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช ไดถ้ ูกพวกอิสราเอลไลต์ (Israelite) และฟิ ลิสติน (Philistine) เขา้ รุกรานจนตอ้ งสูญเสียดินแดน เกือบท้งั หมด ยกเวน้ แต่บริเวณดินแดนแถบชายฝ่ังทะเลแคบ ๆ ริมฝั่ง ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนท่ีเรียกวา่ ฟิ นิเชีย เท่าน้นั  หลงั จากน้นั เป็นตน้ มาพวกแคนาไนตก์ ม็ ีช่ือเรียกใหม่วา่ ฟิ นิเชียน 309

3.1 ฟิ นิเชียน  ช า ว ฟิ นิ เ ชี ย น ด า ร ง ชี วิ ต ใ น สภาพแวดลอ้ มท่ีอยกู่ บั ทะเล จึงทา ใ ห้ ช า ว ฟิ นิ เ ชี ย น ก ล า ย เ ป็ น ผูเ้ ช่ียวชาญในการเดินทะเลและ การคา้ เป็นอนั มาก  เมืองท่าขนาดใหญ่ เช่น เมืองไทร์ (Tyre) เมืองไซดอน (Sidon) เมือง บีบลอส (Byblos) เมืองบีบลอสในปัจจุบนั เดิมเป็นเมืองท่าสาคญั แห่งหน่ึงของชาวฟิ นิเชียน 310

3.1 ฟิ นิเชียน  เนื่องจากชาวฟิ นิเชียนได้เดินทางไปค้าขายในดนิ แดนต่าง ๆ จึงรับเอาวฒั นธรรมตวั หนังสือ จากทต่ี ่าง ๆ มาปรับปรุงสร้างรูปตวั หนังสือขึน้ ใหม่  ประมาณ 1,000–900 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พวกฟิ นิเชียนได้ดัดแปลงแก้ไขอักษรไฮแรติก (hieratic) ของอยี ปิ ต์ และอกั ษรลม่ิ หรือคูนิฟอร์มของชาวสุเมเรียน มาเป็ นอกั ษรแอลฟาเบต (alphabet) ซึ่งสะดวกในการบนั ทกึ เร่ืองราวต่าง ๆ  เม่ือ 750 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พวกอัสซีเรียนได้เข้ายึดครองดินแดนท่ีสาคัญ ๆ ของพวก ฟิ นิเชียนได้เกือบท้ังหมด ยกเว้นแต่เมืองคาร์เทจซึ่งเจริญรุ่งเรืองต่อมา จนถูกชาวโรมัน ทาลายใน 146 ปี ก่อนคริสต์ศักราช 311

3.2 ฮีบรู พวกฮีบรู (Hebrew) หรือยวิ เป็ นชนเผ่าเซมิตกิ ทเ่ี ดนิ ทางเร่ร่อนในทะเลทราย เมอื่ ประมาณ 1,400 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ตานานการสร้างจักรวรรดิอสิ ราเอล โมเสส (Moses) ผนู้ าคนสาคญั ไดป้ ลดแอกชาวฮีบรูจากการเป็นทาสของอียปิ ต์ และพาชาวฮีบรู ท้งั หมดอพยพไปต้งั ถ่ินฐานในดินแดนแห่งคามนั่ สัญญา (Promised Land) อนั ไดแ้ ก่ ดินแดนปาเลสไตน์ (Palestine) หรือกนั อาน (Canaan) ตอ่ มาไดส้ ถาปนาเป็นอาณาจกั ร มีนครหลวงอยทู่ ี่เยรูซาเลม และขยายเป็นจกั รวรรดิอิสราเอล 312

3.2 ฮีบรู จกั รวรรดิอิสราเอลไม่สามารถจะรักษาความเป็นปึ กแผน่ ไวไ้ ดน้ าน โดยเกิดการแตกแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ อาณาจักรอสิ ราเอล ถกู ทาลายโดยพวกอสั ซีเรียน ทางตอนเหนือ ยูดาห์ทางใต้ ตกเป็นเมืองข้ึนของอาณาจกั รบาบิโลเนียใหม่ ในเวลาต่อมาพวกฮีบรูกต็ กอยใู่ ตก้ ารปกครองของเปอร์เซีย กรีก และโรมนั ใน ค.ศ. 70 พวกฮีบรูเป็นกบฏต่อจกั รวรรดิโรมนั และดินแดนปาเลสไตน์ไดถ้ ูกทหาร โรมนั เขา้ ทาลายชาวฮีบรูจึงกลายเป็ นชนเผ่าเร่ร่อน และไม่มีดินแดนเป็ นของตนเอง จนกระทง่ั เมื่อสงครามโลกคร้ังท่ี 2 สิ้นสุดลง ฝ่ ายพนั ธมิตรจึงตกลงจดั ต้งั ประเทศ อิสราเอลของชาวฮีบรูข้ึนเป็ นประเทศอิสระ 313

3.2 ฮีบรู มรดกอารยธรรมของชาวฮีบรู ศาสนา  ศาส น าข อง ช า ว ฮี บรู เ รี ย ก ว่า ศาสนายูดาห์ หรื อศาสนายิว (Judaism)  เป็ นศาสนาท่ีเน้นการบูชาพระเจา้ องคเ์ ดียว ซ่ึงไดแ้ ก่ พระเยโฮวาห์  ความผกู พนั ระหวา่ งพระเยโฮวาห์ และชาวฮี บรู ได้รั บการบันทึ ก ไว ้ ในพนั ธสญั ญาเดิม หรือพระคมั ภีร์ เก่า ซ่ึงถือกันว่าเป็ นพระคัมภีร์ ศัก ด์ ิ สิ ท ธ์ ิ ท่ี ทุ ก ค น ต้อ ง ใ ห้ค ว า ม เคารพและปฏิบตั ิตาม 314

3.3 เปอร์เซีย  ประชากรเป็นเช้ือสายอินโด-ยโู รเปี ยน  ประมาณ 550 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช พระเจา้ ไซรัสมหาราช (Cyrus the Great) สถาปนาอาณาจกั รเปอร์เซีย และครองอาณาจกั รคาลเดียและอาณาจกั รลิเดีย ไวใ้ นอานาจ  ในสมยั พระเจา้ ดาริอสั มหาราช จกั รวรรดิเปอร์เซียแบ่งออกเป็น 20 มณฑล  ผปู้ กครองแต่ละมณฑลมีอานาจเหมือนกษตั ริยแ์ ต่ข้ึนตรงต่อพระเจา้ ดาริอสั มหาราช ซ่ึงไดร้ ับการเฉลิมพระนามวา่ “King of Kings”  หลงั สมยั พระเจา้ ดาริอสั มหาราช จกั รวรรดิเปอร์เซียค่อย ๆ หมดอานาจลง 315  พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิโดเนียได้เข้ายึดครองดินแดน จกั รวรรดิเปอร์เซียเมื่อ 331 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช

3.3 เปอร์เซีย ศาสนา วทิ ยาการ  นบั ถือศาสนาโซโรอสั เตอร์  มีการสร้างถนนไปยงั เมืองต่าง ๆ  คาสอนคือ โลกมีท้งั ฝ่ ายดีและ ในจกั รวรรดิ เพื่อใชเ้ ป็นเส้นทางใน การส่งพระราชสาส์น ฝ่ า ย ชั่ว ท่ี ต่ อ สู่ เ อ า ช น ะ กัน ตลอดเวลา  รับอารยธรรมจากชาติอ่ืน ๆ เช่น  ปั จ จุ บั น ผู้ นั บ ถื อ ศ า ส น า  รับการเขียนตัวอักษรมาจาก โซโรอสั เตอร์ส่วนใหญ่อพยพ บาบิโลเนีย ไปอยู่อินเดียตอนใต้ เรียกชื่อ  รับการใชเ้ หรียญมาจากลิเดีย ศาสนาน้ีใหม่วา่ ศาสนาปาร์ซี  รั บ ก า ร ใ ช้ ป ฏิ ทิ น แ ล ะ สถาปัตยกรรมมาจากอียปิ ต์ 316

สรุปความรู้  อารยธรรมลุ่มน้าไนลห์ รืออารยธรรมอียปิ ตโ์ บราณก่อกาเนิด ข้ึนในบริเวณดินแดนสองฝ่ังแม่น้าไนล์ ซ่ึงเป็ นแหล่งที่มี ความอุดมสมบูรณ์ท้งั ดา้ นศาสนา การเมือง ศิลปวฒั นธรรม และเศรษฐกิจ จึงทาให้อียิปต์เป็ นต้นกาเนิดอารยธรรม ตะวนั ตกควบคู่ไปกบั อารยธรรมเมโสโปเตเมีย  ชนชาติเก่าแก่บางกลุ่มในเอเชียไมเนอร์และดินแดนใกลเ้ คียง มีส่ วนสาคัญในการเสริ มสร้างอารยธรรมตะวันตก เช่นเดียวกนั ชนชาติท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ ฟิ นิเชียน ฮีบรู เปอร์เซีย 317


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook