Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติวรรณคดี

ประวัติวรรณคดี

Published by ch.took, 2020-05-19 15:15:49

Description: ประวัติวรรณคดี

Search

Read the Text Version

นางสาวจีรดา ตุพิมาย โรงเรียนหินดาดวทิ ยา สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดนครราชีมา

การศึกษาวรรณคดี • การศึกษาวรรณคดี • วรรณคดี เปรยี บดังกระจกเงาท่ีสะทอ้ นวฒั นธรรม และ การดารงชวี ิตของผู้คนในสมัยที่มีการประพนั ธว์ รรณคดีเรื่อง นน้ั ๆ โดยมกั จะสอดแทรกข้อคิดเหน็ และปรชั ญาของกวีเอาไว้อยา่ งแยบยล นอกจากน้วี รรณคดี ยงั เปน็ เครอื่ งชูความ เปน็ อารยะของชาติ สะทอ้ นถึงเอกลักษณป์ ระจาชาติ การศึกษาวรรณคดี จะทาให้ผู้อา่ นทราบถงึ สภาพสังคมความ เป็นอยู่ของผคู้ นในสมัยนนั้ ๆ รวมท้งั ได้รับคุณคา่ ทางดา้ นอารมณ์ ความงามและความไพเราะจากวรรณคดีด้วย

ความหมายและความสาคัญของวรรณคดี • วรรณคดีและวรรณกรรม • เปน็ คาประเภทท่ีเรียกวา่ “ศพั ทบ์ ญั ญัติ” หมายถึง คาศัพท์ที่สร้างข้นึ เพื่อทดแทนในคาภาษาองั กฤษ์ ศพั ทท์ ัง้ สองคาน้ี ต่างบัญญัตขิ ึน้ มาจากคาภาษาอังกฤษคาเดียวกันว่า Literature แตใ่ นภาษาไทย วรรณคดีได้ให้คาจากดั ความท่ี แตกตา่ งไปบา้ ง เพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจ ความหมาย และ เหตุท่เี กิดคาว่าวรรณคดี ให้ชดั เจนเราจงึ ควรศึกษาทมี่ า และ ความหมาย ของวรรณคดี อย่างละเอียดถถ่ี ว้ น

ความหมายและความสาคัญของวรรณคดี • วรรณคดคี อื หนังสือท่ไี ดร้ ับการยกย่องวา่ แต่งดี • ซึ่งเป็นบทประพันธ์ทป่ี ลกุ มโนคติ ทาให้ผู้อ่านเกิดความเพลดิ เพลิน และเกดิ อารมณ์สะเทอื นใจ คล้อยตาม กับบท ประพันธ์นน้ั คาวา่ วรรณคดี ปรากฏในภาษาไทยเปน็ ครงั้ แรกในพระราชกฤษฎีกา ตั้งวรรณคดีสโมสรลงวนั ท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ 2547 ตามความในพระราชกิจการฎกี าไดแ้ บง่ วรรณคดีออกเป็น 5 ประเภท 1. กวีนิพนธ์ คือ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน 2. ละครไทย คอื เรื่องทแ่ี ต่งเป็นกลอนแปด มกี าหนดเพลงหน้าพาทย์ 3. นิทาน คอื เร่ืองราวที่เกิดข้นึ และแตง่ เปน็ รอ้ ยแกว้ 4. ละครพูด คอื เรอื่ งราวทเ่ี ขยี นขึ้นสาหรบั ใชแ้ สดงบนเวที 5. อธบิ าย คือ การแสดงดว้ ยศิลปวิทยา หรอื กจิ การอย่างใดอยา่ งหน่ึง แต่มใิ ช่แบบเรยี นหรือตาราเรยี น ความเรียงเรอ่ื งโบราณคดี หรือพงศาวดารอน่ื ๆ

ความหมายและความสาคัญของวรรณคดี • หนังสอื ท่เี หน็ ควรไดร้ ับการพจิ ารณายกยอ่ งว่าเป็นหนงั สอื ที่ดี มีลกั ษณะดังนี้ • 1. เป็นเรอื่ งที่ดี คือ เป็นเรอ่ื งราวทสี่ าธารณชนอา่ นไดโ้ ดยไมเ่ สยี ประโยชนไ์ มเ่ ปน็ เรอ่ื งทชี่ กั จงู ความคดิ ของผูอ้ า่ นไป ในทางทีไ่ ม่เป็นแกน่ สาร • 2. เป็นหนงั สอื แตง่ ดี คือ ใช้วธิ เี รียบเรยี งอยา่ งไรก็ตาม แตต่ อ้ งเป็นภาษาไทยพันธ์ุดี ถูกต้องตามแบบอย่างที่ใชใ้ นอดีต หรอื ปจั จบุ นั ไมเ่ ลยี นแบบภาษาตา่ งประเทศ

ความหมายและความสาคัญของวรรณคดี • วรรณคดี เป็นหนังสือที่บันทึกความรู้สึกนึกคิดของคนโบราณ วิถีการดาเนินชีวิตของผู้คน ในสมัยที่มีการ ประพันธ์วรรณคดี มีคุณค่าทางด้านจิตใจ ข้อคิด และวรรณศิลป์ ทาให้ผู้อ่านได้ทราบว่าเกิดเหตุการณ์ใด ข้ึนบ้าง ผู้คนในสมัยน้ันมีสภาพความเป็นอยู่อย่างไร โดยท่ีกวีได้ใช้ถ้อยคาโวหารที่ใช้ในการถ่ายทอด เรื่องราวต่างๆออกมา ในรูปแบบของวรรณคดี นองจากนี้วรรณคดียังแสดงถึงความเจริญทางด้าน ศิลปวฒั นธรรมของชาติ ทาให้คนในชาติรเู้ รื่องราวในอดีต สะท้อนถึงบคุ ลิกลกั ษณะประจาชาติ อกี ทงั้ ยงั ทา ให้ผู้อ่านเพลิดเพลินกับเนื้อหา อ่านเข้าใจกับหลักความเป็นจริงของโลกมนุษย์ได้ดีข้ึน เพราะวรรณคดีเป็น เรื่องราวของมนุษย์ ท่ีมีทั้งดี และ ชั่ว ความสมหวัง และความผิดหวัง โดยที่ผู้อ่านสามารถนาความรู้หรือ ข้อคิดท่ีได้จากวรรณคดีไปปรับใช้เป็นตัวอย่างในการดาเนินชีวิต เพ่ือท่ีจะมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ • วรรณคดี เป็นหนังสือท่ีดีควรแก่การศึกษาค้นคว้า ด้วยกาลเวลาและความนิยมของผู้อ่านวรรณคดี เปรียบเสมือนสมบตั ิ ทางวฒั นธรรมทต่ี กทอดมาจากบรรพบุรุษ จึงมคี ุณค่าด้านวรรณศิลป์ไว้เป็นมรดกของ ชาติสืบไป

ประเภทของวรรณคดี • แบ่งประเภทดงั นี้ • 1 การแบง่ ประเภทวรรณคดตี ามประโยชน์ของเน้อื หาวรรณคดี • 1. วรรณคดีบรสิ ุทธิ์ • 2. วรรณคดปี ระยกุ ต์ • 2. การแบ่งประเภทวรรณคดีตามลักษณะคาประพนั ธ์ • 1. รอ้ ยกรอง • 2. ร้อยแก้ว •3. การแบง่ ประเภทของวรรณคดีตามเนอ้ื หาสามารถจาแนกได้ดงั นี้ •1. วรรณคดเี กยี่ วกับขนบธรรมเนยี มประเพณี •2. วรรณคดเี ก่ยี วกบั ประวัตศิ าสตร์ •3.วรรณคดเี กยี่ วกบั ศาสนา •4. นาฎวรรณคดีหรอื วรรณคดกี ารละคร •5. วรรณคดีนริ าศ

ประเภทของวรรณคดี • แบ่งประเภทดงั นี้ • 1 การแบ่งประเภทวรรณคดีตามประโยชนข์ องเนือ้ หาวรรณคดี สามารถจาแนกไดด้ งั น้ี • 1. วรรณคดีบริสุทธิ์ คือ วรรณคดีท่ีเกิดจากความนึกคิด อารมณ์และจิตใจของผู้แต่ง เนื้อเรื่องให้ความบันเทิง โดยเฉพาะ ต้องการแสดงออกทางวรรณศิลป์ วรรณคดีประเภทน้ีมิไดม้ งุ่ หวังให้ความรู้ หรือคติสอนใจโดยตรง เช่น วรรณคดีจาพวกนริ าศ เปน็ ตน้ • 2. วรรณคดีประยกุ ต์ คอื วรรณคดีทีไ่ ม่ได้มงุ่ หวังใหค้ วามบันเทิงโดยตรง แต่ผู้อา่ นได้รับความบันเทิงใจเป็นส่ิงเสริม วรรณคดปี ระเภทน้ี มีความมงุ่ หมายในการแต่งจาพวกเจาะลงไปในทางใดทางหนึง่ เชน่ บนั ทึกประวัตศิ าสตร์ สดุดี ผ้กู ลา้ อบรมสั่งสอน เป็นตน้

ประเภทของวรรณคดี • แบ่งประเภทดงั น้ี • 2. การแบ่งประเภทวรรณคดตี ามลักษณะคาประพันธ์ สามารถจาแนกไดด้ งั น้ี • 1. รอ้ ยกรอง คอื คาประพนั ธ์ ถอ้ ยคาท่ีมีความไพเราะ เรยี บเรียงตามบทบัญญัติแหง่ ฉันทลักษณ์ เช่น มคี รุ ลหุ เอก โท การบังคบั สมั ผัส เปน็ ตน้ • 2. รอ้ ยแกว้ คอื การเขียนถอ้ ยคา หรอื เรอ่ื งราวทสี่ ละสลวย ไพเราะ เหมาะเจาะ ด้วยเสียงและ ความหมาย ไมม่ ีการกาหนดลักษณะของคา และไม่บงั คับสมั ผัส

ประเภทของวรรณคดี • แบง่ ประเภทดงั น้ี • 3. การแบ่งประเภทของวรรณคดีตามเนอ้ื หาสามารถจาแนกไดด้ ังนี้ • 1. วรรณคดีเก่ียวกับขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นบทท่ีนาไปใช้ในการประกอบพิธีกรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ตา่ งๆมเี น้อื หาและการใช้ภาษาทีไ่ พเราะ สร้างอารมณ์ให้รู้สึกถึงความศักด์ิสิทธ์ิของพิธี เช่น ฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อม ชา้ ง พระราชพธิ สี บิ สองเดือน เป็นต้น • 2. วรรณคดีเก่ยี วกบั ประวตั ศิ าสตรว์ รรณคดีท่ีมีเนอ้ื เร่ืองเกี่ยวกับการเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดินหรือสรรเสริญ บคุ คลท่ที าคณุ งามความดีให้ประเทศชาติ เช่น ยวนพ่ายโคลงด้ัน โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์ ลิลิต ตะเลงพ่าย เปน็ ต้น • 3.วรรณคดเี ก่ียวกบั ศาสนา เปน็ หนงั สอื ท่ีว่าดว้ ยหลกั ธรรมคาสอนทางพระพุทธศาสนา วรรณคดีประเภทนี้มักถูกใช้ เป็นเคร่อื งสอนใหค้ นประพฤติดี ประพฤติชอบ เช่น ไตรภมู พิ ระร่วง มหาชาตคิ าหลวง พระปฐมสมโพธิกถา เป็นตน้ • 4. นาฎวรรณคดีหรอื วรรณคดีการละคร เปน็ บทละครเรื่องตา่ งๆไม่ว่าจะเปน็ ละครนอก ละครใน หรือละครพูด เช่น อิเหนา รามเกียรต์ิ สังขท์ อง หลวงจาเนียรเดินทาง เปน็ ต้น • 5. วรรณคดีนิราศ เปน็ การเขยี นบันทกึ เรอ่ื งราวการเดินทางคา่ ครวญถงึ นางอนั เป็นที่รกั เชน่ กาสรวลสมุทร นิราศ หรภิ ญุ ไชย นิราศเรอื่ งตา่ งๆของสุนทรภู่ เป็นต้น

แนวทางการศึกษาวรรณคดี • การศึกษาวรรณคดีเรื่องใดเรื่องหน่ึง สามารถทาได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ทัศนคติ ความรู้และประสบการณ์ของผู้ศึกษาโดยหน่วยการเรียนรู้น้ีจะให้นักเรียนได้ศึกษาแนวทางใน การศึกษาวรรณคดีดงั นี้ • 1. การศกึ ษาเชิงวรรณศิลป์ • 2. การศึกษาเชงิ วิเคราะห์ • 3. การศกึ ษาเชิงวิจารณ์ • 4. การศึกษาเชงิ ประวตั ิ

แนวทางการศกึ ษาวรรณคดี • 1. การศึกษาเชงิ วรรณศลิ ป์ • เป็นการศึกษา กลวิธีการสร้างอารมณ์สะเทือนใจ จากความรู้สึก นึกคิด จินตนาการ การแสดงออกต่างๆ ทว่ งทา่ ทแี่ สดงออก องค์ประกอบต่างๆ ผา่ นโวหารภาพพจน์อยา่ งสอดคล้องเหมาะสม รวมถึงคุณค่าความ งามในการใช้ภาษา ท่ีทาให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนใจ และเกิดจินตภาพร่วมกับผู้แต่ง ซึ่งวรรณศิลป์เป็น ศิลปะแห่งการประพันธ์ท่ีมอี ารมณ์สะเทือนใจเป็นพน้ื ฐานประกอบ กับความรู้สึกนึกคิด และแสดงออกใน รูปแบบเฉพาะตวั ของผู้แต่ง

แนวทางการศกึ ษาวรรณคดี • 2.การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์ • เป็นการศึกษาวรรณคดีแบบแยกส่วน โดยพิจารณาอย่างถ่ีถ้วน เพ่ือเข้าใจองค์ประกอบของเรื่อง เช่น โครงเรื่อง แก่นเร่ือง การดาเนินเร่ือง กลวิธีการสร้างตัวละคร หรือ การวิเคราะห์บุคลิกลักษณะนิสัยของ ตวั ละคร การสรา้ งฉาก หรอื การวเิ คราะหบ์ ุคลิก ลักษณะนิสัยของตัวละคร ว่ามบี ทบาทตอ่ การดาเนินเรื่อง อย่างไร นอกจากนี้ยังอาจรวมถึงการพจิ ารณาเลือกใช้รูปแบบคาประพนั ธ์ ว่าสอดคล้องเหมาะสมกับเน้ือ เรือ่ งหรอื ไม่ จากนน้ั จึงพจิ ารณาตีความทั้งเน้อื เร่ือง รปู แบบ รวมถงึ การทาความเข้าใจตอ่ สาระท่ีแฝงมาใน เนอ้ื เรอื่ ง ซงึ่ อาจเรยี กกระบวนการถัดมาน้ีวา่ “การวินิจฉยั สาร”

แนวทางการศกึ ษาวรรณคดี • 3.การศกึ ษาเชิงวจิ ารณ์ • เป็นการศกึ ษาเพื่อประเมนิ คณุ ค่าวรรณคดี ท่ีมคี ณุ ค่าอย่างไรบา้ ง เช่น คุณคา่ ดา้ นสงั คม วัฒนธรรม คุณค่า ด้านประวัติศาสตร์ ข้อคิด คติประจาใจ เป็นต้น ซ่ึงการศึกษาเชิงวิจารณ์เป็นการศึกษาในระดับท่ีสูงกว่า การศกึ ษาเชิงวรรณศิลป์ และ การศึกษาเชิงวเิ คราะห์ โดยตอ้ งอาศัยศาสตรแ์ ขนงอ่ืนๆ มาเป็นเครื่องมอื ใน การศึกษาเช่น จติ วิทยา สัญลกั ษณ์ สังคมวทิ ยา เปน็ ตน้

แนวทางการศกึ ษาวรรณคดี • 4.การศึกษาเชิงประวตั ิ • เป็นการศึกษาวรรณคดี โดยอาศัยเอกสาร ข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ รวมถึงตานาน เพ่ือเป็น เครื่องมือในการพจิ ารณาเนื้อหาวรรณคดี เช่น การนาเอกสารพงศาวดาร จารึก ตานานพื้นเมอื งเชียงใหม่ มาเป็นเอกสารประกอบการศึกษา เร่ืองราวท่ีปรากฏอยู่ในยวนพา่ ยโคลงด้ัน เป็นต้น นอกจากนี้การศึกษา เชิงประวัติอาจช่วยให้นักวรรณคดี สามารถกาหนดอายุของผลงาน รวมถึงผู้แต่งวรรณคดีเรื่องนั้นๆได้ อย่างใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากขึ้น เช่น การเปรียบเทียบสานวนการใช้ภาษาของวรรณคดีท่ีมิได้ระบุ ศักราชและผู้แต่งไว้ กับวรรณคดีที่มีการระบุหรือเป็นท่ีเช่ือถือได้ว่าใครเป็นผู้แต่ง ก็อาจทาให้สามารถ กาหนดอายุของชิ้นงานดังกล่าวได้ ตัวอย่างเช่น แต่เดิมเช่ือกันว่าโคลงราชสวัสดิ์เป็นพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เม่ือนาการศึกษาเปรียบเทียบกับโครงพระพุทธไสยาสน์ จึงยอมรับกันทั่วไป ว่าเป็นพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พบว่าทั้งสองมีความคล้ายคลึงกันท้ังด้านรูปแบบ คาประพันธ์เอกลักษณ์ทางภาษา และเม่ือพิจารณาเอกสาร ซึ่งระบุไว้ในบานแพนกโคลงชะลอพระพุทธ ไสยาสน์ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงพระราชนิพนธ์โคลงราชสวัสดิ์ จึงสามารถหาข้อสรุป เกีย่ วกบั ผ้แู ต่งและศักราชทแี่ ต่งได้ เปน็ ตน้

หลกั เกณฑก์ ารแบ่งสมยั ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย • การแบ่งสมัยของวรรณคดีมีอยู่หลายแบบ แต่สรุปได้โดยถือเอาเมืองหลวงเป็นจุดศูนย์กลาง จงึ แบ่งออกเปน็ ๔ สมัย ๑. สมัยสุโขทัย พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๙๒๐ ๒. สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐ ๓. สมยั กรงุ ธนบรุ ี พ.ศ. ๒๓๑๐-๒๓๒๕ ๔. สมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕- ๒๔๖๘ ในทนี่ ี้ จะศกึ ษาเฉพาะ สมยั สุโขทยั และ สมยั กรุงศรอี ยุธยา เทา่ นนั้

สรุปวรรณคดี • เป็นบทประพันธ์ที่แต่งดี มีคุณค่าทางวรรณศิลป์ ที่ทาให้ผู้อ่านได้รับอรรถรส และสุนทรียภาพ ทางอารมณ์ท้ังยังแฝงข้อคิด คติสอนใจ รวมถึงบอกเล่าเรื่องราวในอดีตเพ่ือให้อนุชนรุ่นหลังได้ ซึมซับถึงวิถีชีวิตและประวัติศาสตร์ของบรรพบุรุษ การแบ่งประเภทและแนวทางการศึกษา วรรณคดีสามารถทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับมุมมองและวัตถุประสงค์ของผู้ศึกษาเป็นสาคัญ ซ่ึง การศึกษาวรรณคดีน้ัน นับเป็นการปลูกฝังให้เยาวชนของชาติ ได้มีความรู้ ความภาคภูมิใจใน ประเทศชาติที่มีกวี และหนังสือแต่งดี ไว้ให้ศึกษามากมาย และ พร้อมท่ีจะอนุรักษ์วรรณคดี คง อยเู่ ป็นมรดกของชาติสบื ไป

นางสาวจีรดา ตุพิมาย โรงเรียนหินดาดวทิ ยา สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดนครราชีมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook