Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ด้านที่ 4 ด้านการบริการสาธารณะ

ด้านที่ 4 ด้านการบริการสาธารณะ

Published by สีสามเส้น เป็นไท, 2021-07-29 05:55:12

Description: .

Search

Read the Text Version

(ราง) แบบประเมิน ประสทิ ธิภาพขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน (Local Performance Assessment : LPA) ประจำป 2564 ดานที่ 4 การบริการสาธารณะ

แบบประเมินประสิทธิภาพขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (Local Performance Assessment: LPA) ประจำป 2564 ดา น 4 การบรกิ ารสาธารณะ ตัวชว้ี ัดท่ี 91 – 176 จำนวน 86 ตัวชวี้ ัด ประกอบดวย 1. ตวั ชีว้ ัดจริง จำนวน 85 ตวั ชีว้ ดั ตวั ชว้ี ัดที่ 91 – 175 , 176 จำนวน 415 คะแนน 2. ตัวชี้วัดนำรอง จำนวน 1 ตวั ช้ีวัด ตวั ชีว้ ัดท่ี 174 จำนวน 5 คะแนน (ไมนำไปนับเปนคะแนนรวม) เปาหมายเชิงคุณภาพ: องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีการบริหารงานตามแผนปฏิบัตกิ ารกำหนดข้ันตอนการกระจายอำนาจใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อใหเกิดประโยชนสุขตอประชาชนในทองถิ่นในดานโครงสรางพื้นฐาน ดานงานสงเสริมคุณภาพชีวิต ดา นการวางแผนการสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการทองเทยี่ ว ดานศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี ศาสนา และภูมิปญญาทองถ่ิน ดา นการจัดระเบยี บชุมชน สงั คม และการรักษาความสงบเรียบรอย ดา นการบรหิ ารจัดการ และการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอม เปาหมายเชงิ ปริมาณ: รอยละขององคก รปกครองสวนทองถ่ินทผ่ี านเกณฑการประเมินดานที่ 4 รอยละ 70 ช่ือ (องคก รปกครองสวนทองถน่ิ )…………………………………................................................................. อำเภอ ............................................ จังหวัด ................................................. หัวขอประเมนิ เมอื ง อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต. คะแนนท่ไี ด พทั ยา คะแนน รอ ยละ ตวั ช้ีวดั ตวั ชีว้ ัด ตัวชว้ี ดั ตัวชว้ี ดั ตัวชี้วัด ตัวชี้วดั 1. ดา นโครงสรา งพื้นฐาน 12 11 14 14 14 13 2. ดา นงานสง เสริมคุณภาพชวี ิต 34 24 34 34 34 31 3. ดานการวางแผนการสงเสริมการลงทุน 6 6 6 6 6 6 พาณชิ ยกรรมและการทองเท่ยี ว 4. ดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา 3 3 3 3 3 3 และภูมิปญญาทองถ่นิ 5. ดานการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการ 7 7 7 7 7 7 รกั ษาความสงบเรียบรอย 6. ดานการบริหารจัดการ และการอนุรักษ 12 9 19 19 18 17 ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ ม รวม 75 62 85 85 83 79 ลงชื่อ ................................................................... ผูร ับการประเมนิ ( .................................................................) ปลัด/รองปลัด/ผอ.สำนกั /กอง ....................................................... ลงช่ือ หวั หนาทมี ประเมิน ลงชื่อ ทมี ประเมนิ (............................................) (.............................................) ลงช่ือ ทมี ประเมนิ ลงชื่อ ทมี ประเมนิ (.............................................) (.............................................) วันท่ปี ระเมนิ .........../................../.............. ๒

คะแนนเต็ม 70 คะแนนที่ได หนว ยที่ 1 ดานโครงสรางพืน้ ฐาน ตวั ชี้วัดที่ 91 – 104 จำนวน 14 ตัวช้ีวดั จำนวน 70 คะแนน เปาหมาย: องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการดำเนินการในการจัดหา รักษา และซอมบำรุงโครงสรางพื้นฐานที่อยูใน ความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ เพื่อสรางคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในพืน้ ที่ทงั้ ดานไฟฟา สาธารณะ ถนน ทางเดิน และทางเทา นำ้ ประปา รวมถึงการควบคุมอาคารเพอื่ สรางความปลอดภยั ในโครงสรางพื้นฐานในพ้ืนทตี่ า ง ๆ 1. ถนน ทางเดิน และทางเทา ตวั ชีว้ ดั ท่ี 91 - 97 จำนวน 7 ตวั ช้ีวดั จำนวน 35 คะแนน ตวั ชวี้ ัดที่ 91 – 95 จำนวน 5 ตัวชี้วัด หนวยงานทรี่ บั ผิดชอบ : กลุมงานสงเสรมิ การพฒั นาโครงสรา งพืน้ ฐาน กองพัฒนาและสงเสรมิ การบรหิ ารงานทองถิ่น ผูรับผดิ ชอบ : 1. นายเจษ เสียงลอื ชา ผอู ำนวยการกลุมงานสงเสริมการพฒั นาโครงสรางพ้ืนฐาน โทร. 089-612-5152 2. นายวธิ วิ ัต ชุรินทร นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏบิ ัติการ โทร. 097-130-5198 หมายเลขโทรศัพทสำนกั งาน 02 241 9000 ตอ 4112 ตัวช้ีวดั ที่ 96 - 97 จำนวน 2 ตวั ชี้วัด หนว ยงานทรี่ ับผิดชอบ : กรมสง เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอม (ตัวชวี้ ดั รวมกบั กรมสงเสริมการปกครองทองถ่นิ ) ผูรับผิดชอบ : 1. นางสรอ ยนภา หาญเมตตา นกั วชิ าการส่ิงแวดลอ มชำนาญการพเิ ศษ โทร. ๐๘ ๑๖๑๔ ๘๑๔๔ 2. นางผการตั น เพ็งสวสั ด์ิ นกั วชิ าการส่ิงแวดลอ มชำนาญการพิเศษ โทร. ๐๙ ๒๔๗๙ ๒๔๙๕ หมายเลขโทรศพั ทส ำนกั งาน ๐ ๒๒๙๘ ๕๖๕๒ คะแนนเตม็ 35 คะแนนท่ไี ด ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนทไี่ ด 91 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 91. การจัดทำแผนการตรวจสอบถนนใน 3 1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ขอมูลจำนวนถนน ความรับผิดชอบขององคกรปกครองสว นทอ งถิน่ 1 ทุกสายที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครอง มีการดำเนินการ ดงั นี้ 0 สวนทองถิ่น) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ 1. มีการจัดทำบัญชีทะเบียนประวัติถนน องคกรปกครองสว นทอ งถิน่ ขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ 2. แผนการตรวจสอบถนนประจำปโดยจัดลำดับ 2. มีการจัดทำแผนการตรวจสอบถนนประจำป การตรวจสอบตามความจำเปน ที่ถูกตอง สอดคลองกับบญั ชีทะเบียนประวัติถนน 3. บันทกึ ขออนุมัตแิ ผนพฒั นาถนนทองถิน่ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและไดรับ 4. บันทกึ รายงานผลการตรวจท่ปี รากฏขอสั่งการของ การอนุมัตติ ามแผน ผูบรหิ ารลงนามรบั ทราบผลการตรวจสอบ 3. มกี ารดำเนนิ การตรวจสอบถนนครบถว น เปนไป 5. แผนที่ถนน ในกรณีที่องคกรปกครองสวน ตามแผนการตรวจสอบถนนประจำปท ก่ี ำหนด ทอ งถ่นิ ยังไมม ีการลงทะเบียนทางหลวงทองถน่ิ 4. รายงานผลการตรวจสอบใหผูบริหาร 6. ใหตรวจสอบถนนในแผนพัฒนาทองถิ่น รับทราบผลการตรวจสอบตามแผนตรวจสอบ เพื่อใหสอดคลองกับบัญชีพัฒนาถนนดวย ถนนประจำป และสัง่ การ (ตอ งตรงกนั หรือใกลเ คียงกันมากที่สุด) เกณฑการใหคะแนน: กฎหมาย/ระเบียบและหนังสอื ทีเ่ กย่ี วของ 1. ดำเนินการ 4 ขอ 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 2. ดำเนนิ การ 3 ขอ ที่ มท 0806.2/ว 1392 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 3. ดำเนินการ 1 - 2 ขอ 2561 4. ไมไดด ำเนนิ การ ๓

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 91 5 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 3 92 ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 3624 ลงวันท่ี 1 9 พฤศจิกายน 2561 0 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 1713 ลงวันท่ี 29 เมษายน 2562 หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครอง สวนทองถน่ิ ไมส ามารถตดั ฐานการประเมินได ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 92. รอยละของการซอมแซม/ปรับปรุง/ 1. บัญชีทะเบียนประวตั ถิ นน (ขอ มูลจำนวนถนน ตอเติมถนน ในความรับผิดชอบขององคกร ทุกสายที่อยูในความรับผิดชอบขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นตามรายงานผลการ ปกครองสวนทองถิ่น)เพื่อทราบจำนวนถนน ตรวจสอบถนนประจำป ท้งั หมดขององคกรปกครองสว นทองถิ่น 2 . แ ผ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ถ น น ป ร ะ จ ำ ป เกณฑก ารใหค ะแนน: โดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเปน 1. รอ ยละ 80.00 ข้นึ ไป ที่ปรากฏขอสั่งการของผูบริหารลงนามรับทราบ 2. รอยละ 70.00 – 79.99 ผลการตรวจสอบและส่ังการ 3. รอ ยละ 60.00 – 69.99 3. ผลการซอมแซม/ปรับปรุง/ตอเติมถนน 4. นอยกวารอยละ 60.00 ในความรบั ผดิ ชอบขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ 4. ภาพถายกอ นและหลังซอ มแซม กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สอื ทเี่ กยี่ วของ 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0806.2/ว 1392 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2561 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0803.3/ว 1783 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2561 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 3624 ลงวันที่ 9 พฤศจกิ ายน 2561 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 1713 ลงวันที่ 29 เมษายน 2562 ๔

ตวั ชว้ี ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทีไ่ ด คำอธิบาย : 1. ยกเวน กรณีที่ไมมีถนนตองซอมแซมจากการตรวจสอบถนน และตรวจสอบแลวไมมีการซอมแซม/ปรับปรุง/ตอเติมถนนจริง จงึ สามารถตดั ฐานการประเมนิ ได 2. กรณีมหี นวยงานราชการอน่ื ดำเนนิ การในพนื้ ท่อี งคก รปกครองสว นทองถ่นิ ใหนบั รอยละของการซอมแซมฯ ดว ย 3. การตอเติม หมายถึง การดัดแปลง เปลี่ยนแปลง เพื่อเพิ่มเติม หรือขยาย ซึ่งลักษณะขอบเขตแบบ รูปทรง สัดสวน น้ำหนัก เนื้อท่ี อันเปนโครงสรางของสิ่งกอสรางหรือสิ่งกอสรางทั้งหมดหรือบางสวน ซึ่งไดกอสรางไวแลวใหผิดไปจากเดิม แตมิใชเปนการกรณีของ การซอ มแซม หมายเหตุ: ประเมินทกุ องคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ ไมส ามารถตัดฐานการประเมินได 93 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 93. รอยละของถนนในความรับผิดชอบของ 1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ขอมูลจำนวนถนน องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สงไปขอ ทุกสายที่อยูในความรับผิดชอบขององคกร ลงทะเบียนเปนทางหลวงทองถิ่น ถึง ปกครองสวนทอ งถ่ิน) ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 (สงเปนหนังสือ 2. หลักฐานการสงไปลงทะเบียนเปนทางหลวง พรอมเอกสารหลักฐานทีค่ รบถวนถูกตองไปยัง ทองถิน่ (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5) จังหวัด) กฎหมาย/ระเบยี บและหนังสอื ทเี่ ก่ียวของ 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน เกณฑก ารใหค ะแนน: ที่ มท 0890.3/ว 634 ลงวนั ที่ 31 มนี าคม 2553 1. รอยละ 90.00 ขึ้นไป 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 2. รอ ยละ 80.00 – 89.99 5 ที่ มท 0890.3/ว 2660 ลงวันที่ 11 ธันวาคม 3. รอยละ 70.00 – 79.99 3 2558 4. นอยกวารอยละ 70.00 1 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 0 ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 3624 ลงวันท่ี 9 พฤศจกิ ายน 2561 คำอธิบาย : 1. หมายถึง ถนนทุกสายขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นสรางเองและที่ไดรับการถายโอน ที่อยูใน ความรับผิดชอบขององคกรปกครองสว นทองถ่ินจะตองขอลงทะเบียนเปน ทางหลวงทอ งถ่นิ ท้ังหมด 2. หลกั เกณฑแ ละแนวทางการขอลงทะเบียนทางหลวงทองถิ่นใหดำเนินการตามหนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ท่ี มท 0890.3/ว 634 ลงวันท่ี 31 มนี าคม 2553 3. การลงทะเบียนไมก ำหนดระยะเวลาการลงทะเบียนองคก รปกครองสวนทองถิน่ สามารถดำเนนิ การไดตลอดเวลา โดยจะตองมีเอกสาร หลกั ฐานถกู ตองและครบถว น ไดแก 3.1 แบบขอลงทะเบียนเปน ทางหลวงทอ งถิ่น (ทถ.1) 3.2 แผนท่ีแนวเขตทางหลวง (ทถ.2) 3.3 รายละเอียดเสน ทางทล่ี งทะเบียน (ทถ.3) 3.4 บญั ชเี อกสารแสดงสทิ ธใิ นท่ีดนิ แนวเขตทางหลวง (ถามี) 3.5 สำเนาหนังสือ ใหหรือสละการครอบครองสิทธิ์ในที่ดิน หรือหนังสืออุทิศที่ดิน (ทถ.4) เพื่อเปนทางสาธารณประโยชน ของเจาของท่ดี ิน (ถา ม)ี ๕

ตวั ช้วี ดั การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนทไี่ ด 3.6 หนงั สอื รับรองแนวเขตทางเพื่อเปนทางสาธารณประโยชน (ทถ.5) ที่นายกองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ลงนาม กรณีไมม ีเอกสาร 4 หรอื 5 4. การคดิ คำนวณรอ ยละใหค ดิ จากจำนวนเสนถนนทีไ่ ดสง ไปลงทะเบียนเปนทางหลวงทอ งถนิ่ 5. วธิ กี ารคิดรอ ยละ จำนวนถนนท่ีสง ไปลงทะเบียน ในป 2563 X 100 จำนวนของถนนทัง้ หมดขององคกรปกครองสวนทองถิน่ 6. จำนวนของถนนท่ียงั ไมลงทะเบียนทงั้ หมดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. กรณที ส่ี ง ไปขอลงทะเบยี นเปนทางหลวงทองถิ่นท้ังหมด ใหไ ด 5 คะแนน หมายเหตุ: กำหนดเฉพาะที่เขาเกณฑของกรมทางหลวง 94 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 94. รอยละของถนนในความรับผิดชอบ 1. บัญชีทะเบียนประวตั ถิ นน (ขอ มูลจำนวน ถนน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดลงทะเบียน ทุกสายที่อยูในความรับผิดชอบขององคกร เปนทางหลวงทองถิ่นถึงปงบประมาณ ปกครองสว นทอ งถ่ิน) พ.ศ. 2563 2. หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวงทองถ่ิน (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5) เกณฑก ารใหค ะแนน: กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สอื ทเ่ี ก่ยี วของ 1. รอยละ 50.00 ข้ึนไป 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 2. รอ ยละ 35.00 – 49.99 5 ที่ มท 0890.3/ว 634 ลงวันที่ 31 มีนาคม 3. รอยละ 30.00 – 34.99 3 2553 4. นอ ยกวา รอยละ 30.00 1 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 0 ที่ มท 0890.3/ว 2660 ลงวนั ที่ 11 ธันวาคม 2558 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 3624 ลงวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2561 คำอธิบาย 1. ถนน หมายถึง ถนนทุกสายขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ทั้งที่องคกรปกครองสวน ทอ งถนิ่ สรางเองและที่ไดรับการถา ยโอน ที่อยูใน ความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน จะตองขอลงทะเบียนเปนทางหลวงทองถ่ิน ทง้ั หมด 2. หลักเกณฑและแนวทางการขอลงทะเบียน ทางหลวงทองถิ่น ใหดำเนินการตามหนังสือกรม สงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0890.3/ว 634 ลงวันท่ี 31 มนี าคม 2553 ๖

ตัวชีว้ ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนที่ได 94 3. การคิดคำนวณรอยละใหคิดจากจำนวนเสน ถนนท่ไี ดล งทะเบียนเปน ทางหลวงทองถนิ่ 4. วธิ ีการคิดรอยละ จำนวนถนนที่ไดลงทะเบียนท้ังหมด X 100 จำนวนของถนนท้งั หมดขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ 5. ประเมินเฉพาะที่เขาตามเกณฑของกรมทาง หลวง ไมนับทไ่ี มเขาเกณฑต ามกรมทางหลวง 95 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 95. รอยละของความยาวถนนลาดยาง/ 1. บญั ชที ะเบยี นประวตั ถิ นน คอนกรีตตอความยาวของถนนทั้งหมดใน 2. รายงานประจำปเกี่ยวกับการกอสราง ความรับผิดชอบขอ งอ งคกร ปก ค ร อ ง ถนนลาดยาง (เปน การลาดยางทุกประเภท)/คอนกรตี สว นทอ งถ่นิ (ณ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563) 3. ภาพถาย กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สือทีเ่ กยี่ วของ เกณฑการใหค ะแนน : 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น องคการบริหารสวนจังหวัด/เทศบาล/เมือง ที่ มท 0890.3/ว 634 ลงวันที่ 31 มีนาคม พัทยา 2553 1. รอยละ 95.00 ขึ้นไป 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 2. รอ ยละ 90.00 - 94.99 5 ที่ มท 0890.3/ว 2660 ลงวันท่ี 11 ธันวาคม 3. รอยละ 85.00 - 89.99 3 2558 4. นอยกวารอยละ 85.00 1 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 0 ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 3624 ลงวันท่ี องคการบริหารสวนตำบล 9 พฤศจกิ ายน 2561 1. รอยละ 80.00 ข้นึ ไป คำอธิบาย: 2. รอ ยละ 75.00 - 79.99 5 1. ไมรวมถนนที่อยูในพื้นที่ปาสงวน อุทยาน และ 3. รอ ยละ 70.00 - 74.99 3 พ้นื ทเ่ี ขตทหาร 4. นอยกวารอยละ 70.00 1 2. วธิ ีการคิดรอ ยละ 0 ความยาวถนนลาดยาง/คอนกรตี ขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น X 100 ความยาวของถนนทั้งหมดขององคกรปกครอง สว นทองถ่ิน 3. ถนนลาดยาง/คอนกรีต หมายความรวมถึง ถนนลาดยางทุกประเภท (ไมนบั ถนนลูกรังและดนิ ) หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครอง สวนทอ งถิน่ ไมส ามารถตดั ฐานการประเมนิ ได ๗

ตวั ช้ีวดั การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนที่ได 96 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 96. การจัดทำฐานขอมูลเพื่อวิเคราะหการ 1. เอกสารหลักฐานการสำรวจฐานขอมูล จัดการโครงสรา งพนื้ ฐาน โครงสรางพ้นื ฐาน 2. เอกสารรายงานฐานขอมลู โครงสรางพื้นฐาน เกณฑก ารใหคะแนน : 3. แผนพัฒนาทองถิ่นท่ีเกีย่ วกับสภาพท่ัวไปและ 1. มีการจัดทำฐานขอมูลครบถวน ครอบคลุม 5 ขอมูลพื้นฐานหรือการวิเคราะหหรือการพัฒนา และมีการนำฐานขอมลู ไปใชป ระโยชน ทอ งถน่ิ 2. มีการจัดทำฐานขอมูลครบถวน ครอบคลุม กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สอื ท่เี ก่ยี วของ แตไมไดนำขอมลู ไปใชป ระโยชน 3 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 3. มีการจัดทำฐานขอมูล แตไมครบถวน 1 ที่ มท 0806.2/ว 1392 ลงวันที่ 10 ครอบคลุม พฤษภาคม 2561 4. ไมม กี ารดำเนินการ 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 0 ดวนที่สุด ที่ มท 0803.3/ว 1783 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2561 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 3624 ลงวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2561 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 1713 ลงวันท่ี 29 เมษายน 2562 คำอธิบาย : 1. การจัดทำฐานขอมูลเพื่อวิเคราะหการจัดการโครงสรางพื้นฐาน หมายถึง การเก็บขอมูลเพื่อวิเคราะหลักษณะประชากรในเขตพื้นที่ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อนำไปใชในการวางแผนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานในเขตพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นใหครอบคลุมและ เหมาะสมกับประชากรทุกกลุม เชน ผูดอยโอกาส ผูตองการการดูแลเปนพิเศษ ผูสูงอายุ ผูพิการ เปนตน ประกอบดวยขอมูล โครงสราง ของประชากร จำนวนโครงสรา งพนื้ ฐานรายประเภท ประวัตกิ ารสรางและซอมบำรงุ โครงสรางพน้ื ฐานจำแนกรายประเภทและรายป 2. การนำฐานขอมูลไปใชประโยชน หมายถึง การนำขอมูลในฐานขอมูลไปใชประกอบในการวิเคราะห เพื่อกำหนดนโยบาย และวางแผน การพฒั นาดานโครงสรางพ้นื ฐานในพืน้ ที่องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพอ่ื เปนการอำนวยความสะดวกใหประชากรทกุ กลมุ ที่มาใชบริการใน พ้ืนท่อี งคกรปกครองสวนทอ งถิน่ สามารถเขาถงึ บริการไดอยางสะดวกและเหมาะสม 3. โครงสรางพื้นฐาน หมายถึง โครงสรางทางกายภาพซึ่งใชอ ำนวยความสะดวกสาธารณะ โดยมุงเนนใหส าธารณชนไดประโยชน รวมทัง้ เปนปจจัยสำคัญที่ทำใหประเทศเกิดการพัฒนาทางดานสังคมและเศรษฐกิจ อาทิ เชน ถนน ทางเดินเทา ระบบขนสง ระบบระบายน้ำ เปน ตน หมายเหตุ: ประเมินเฉพาะเทศบาล ๘

ตวั ชวี้ ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทไ่ี ด 97 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 97. รอยละของสถานที่สาธารณะที่อยูในการ 1. แผนงาน/โครงการดานอารยสถาปตย ดูแล รักษา หรือบริหารจัดการของเทศบาลท่ี 2. ภาพถาย มีกา ร ดำ เ น ิน งา น ดา น อา ร ยสถา ปตย 3. รายงานผลการดำเนนิ งาน (Universal Design) 4. ตรวจสอบวามีอารยสถาปต ยจริง กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือทีเ่ กี่ยวของ เกณฑก ารใหค ะแนน : 1. มตคิ ณะรัฐมนตรี วันท่ี 19 พฤษภาคม 2552 1. รอยละ 80.00 ขึน้ ไป 5 2. กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกใน 2. รอยละ 70.00 – 79.99 3 อาคารสำหรับผูพิการหรือทุพลภาพ และคนชรา 3. รอยละ 60.00 – 69.99 1 พ.ศ. 2548 4. นอยกวา รอยละ 60.00 0 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 445 ลงวันท่ี 13 กมุ ภาพนั ธ 2556 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0810.6/ว 4060 ลงวันท่ี 14 ธันวาคม 2561 5. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 256 ลงวันท่ี 2 กุมภาพนั ธ 2559 6. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 781 ลงวนั ที่ 16 เมษายน 2558 7. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 634 ลงวนั ท่ี 24 เมษายน 2557 8. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 1961 ลงวนั ท่ี 9 กนั ยายน 2556 คำอธบิ าย : 1. สตู รการคำนวณ สถานท่ีสาธารณะที่ดำเนินงานดานอารยสถาปตย x 100 จำนวนสถานท่สี าธารณะที่มีอยูท้งั หมด 2. สถานทสี่ าธารณะท่ีอยูภายใตการกำกับดูแลและบริหารจัดการของเทศบาล หมายถงึ สถานท่ี ทปี่ ระชาชนทกุ คนในเทศบาลสามารถเขา ถึงและ ใชบริการไดโดยสถานที่นั้น ๆ ตองอยูภายใตอำนาจหนาที่ในการกำกับ ดูแล รักษา ควบคุม บริหารจัดการของเทศบาล เชน ทางเทา สวนสาธารณะ ตลาด สถานบรกิ ารสาธารณสุข สถานธนานุบาล สำนักงานเทศบาล อาคาร หอประชมุ หอ งสมุด เปน ตน 3. อารยสถาปตย (Universal Design) หมายถึง การออกแบบ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน บริการตาง ๆ และผลิตภัณฑ ใหสามารถรองรับคน ทกุ กลมุ ในสังคมไดอยางเทาเทียมกัน ไมว า จะเปนผูส ูงอายุ คนพกิ ารหรือผูท ่ีมีความสามารถในการใชช วี ิตประจำวนั แตกตางจากบุคคลท่ัวไปดวย ขอจำกัดทางรางกายหัวใจสำคัญของการออกแบบ คือ ความสะดวก ปลอดภัย เปนธรรม ทั่วถึง และเทาเทียม ทั้งในการดำเนินชีวิตประจำวัน และในสถานทีต่ าง ๆ ไมวา จะเปน การกอสรางสถานท่ี หรือ สิ่งอำนวยความสะดวกตาง ๆ เปนแนวคดิ ทสี่ รา งสรรคเพื่อประโยชนสว นรวม หมายเหตุ: ประเมินทกุ องคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ไมสามารถตดั ฐานการประเมินได ๙

คะแนนเตม็ 15 หนวยที่ 1 ดานโครงสรางพื้นฐาน ตัวชว้ี ัดที่ 91 – 104 จำนวน 14 ตัวช้ีวัด คะแนนท่ีได 2. ไฟฟาสาธารณะ ตัวชี้วดั ที่ 98 - 100 จำนวน 3 ตัวช้ีวัด จำนวน 15 คะแนน หนว ยงานทีร่ ับผิดชอบ : กลุมงานสงเสรมิ การพัฒนาโครงสรา งพืน้ ฐาน กองพฒั นาและสง เสรมิ การบริหารงานทองถ่ิน ผรู ับผดิ ชอบ : 1. นายเจษ เสยี งลือชา ผอู ำนวยการกลุมงานสง เสริมการพฒั นาโครงสรา งพ้ืนฐาน โทร. 089-612-5152 2. นายวธิ ิวัต ชรุ ินทร นักวเิ คราะหนโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร โทร. 097-130-5198 หมายเลขโทรศพั ทสำนักงาน 02 241 9000 ตอ 4112-4 ตวั ชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 98 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 98. รอยละของถนนทุกสายอยูในความ 5 1. ขอมูลถนนสายหลักขององคกรปกครอง รับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มี 3 สว นทอ งถน่ิ การติดตั้งไฟฟาสาธารณะตามจุดเสี่ยงตาง ๆ 1 2. แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้งไฟฟา และสามารถใชง านได 0 สาธารณะหรอื สุมดูขอมลู ตามจุดเสย่ี ง 3. หนงั สือรอ งเรียนทีเ่ กยี่ วของ เกณฑการใหคะแนน : 4. ภาพถาย 1. ติดต้งั ครบทุกจุดเสย่ี ง กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือทเี่ กีย่ วของ 2. ติดตั้งไดรอยละ 90.00 - 99.99 ของ 1. มาตรฐานไฟฟาสาธารณะของกรมสงเสริม จดุ เส่ียงท้ังหมด การปกครองทองถน่ิ 3. ติดตั้งไดรอยละ 80.00 - 89.99 ของ 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน จดุ เสย่ี งทั้งหมด ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 2744 ลงวันท่ี 4. ติดตัง้ ไดน อยกวารอ ยละ 80.00 4 กนั ยายน 2561 คำอธิบาย: 1. จดุ เสีย่ ง หมายถงึ จดุ ท่ีอาจกอ ใหเกิดอนั ตราย อุบัติเหตุ และความไมปลอดภัยในชีวิต และ ทรัพยสิน รวมถึงการเกิดอาชญากรรมตาง ๆ เชน ทางโคง ทางแยก วงเวียน จุดอับของถนน ฯลฯ 2. ในการกำหนดจุดเสี่ยงควรเนนกระบวนการ มีสวนรวมของประชาชน เชน การทำประชาคม การแตงตั้งคณะกรรมการกำหนดจุดเสี่ยง เปน ตน รวมถงึ การติดตัง้ สัญญาณไฟกระพริบ หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครอง สว นทอ งถิ่น ไมส ามารถตัดฐานการประเมินได ๑๐

ตัวช้วี ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 5 99 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 99. รอยละของถนนทุกสายที่อยูในความ 3 1. ขอมูลถนนทุกสายขององคกรปกครอง รับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 1 สว นทอ งถ่นิ ที่มีการติดตั้งไฟฟาสาธารณะ และสามารถ 0 2. แผนงาน/โครงการติดตงั้ ไฟฟา สาธารณะ ใชงานได 3. แบบแปลน/แผนผังแสดงที่ตง้ั ไฟฟา สาธารณะ เกณฑก ารใหคะแนน: 4. ภาพถา ย 1. รอ ยละ 70.00 ขึน้ ไป กฎหมาย/ระเบยี บและหนังสอื ที่เกี่ยวของ 2. รอยละ 60.00 - 69.99 1. มาตรฐานไฟฟาสาธารณะของกรมสงเสริม 3. รอยละ 49.00 – 59.99 การปกครองทองถน่ิ 4. นอยกวารอ ยละ 49.00 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 2744 ลงวันท่ี 4 กนั ยายน 2561 คำอธิบาย : 1. ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนสายหลักของ ทองถิ่น เชน ถนนที่เชื่อมตอกับทางหลวง แผนดิน ถนนในเขตชุมชนหนาแนน ถนนที่ใช ในการเดนิ ทางเช่อื มตอจุดสำคัญ ๆ เปนตน 2. สามารถดูรายละเอียดการติดตั้งไฟฟา สาธารณะบนถนนทกุ สาย จากมาตรฐานไฟฟา สาธารณะ หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครอง สวนทอ งถ่นิ ไมส ามารถตัดฐานการประเมินได ๑๑

ตัวช้วี ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนทไี่ ด 100 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 100. การดูแลบำรุงรักษา/ซอมแซมไฟฟา 1. แผนการตรวจสอบไฟฟาสาธารณะ และ สาธารณะ และไฟฟาตามจุดเสีย่ งตาง ๆ ที่อยูใน ไฟฟาตามจุดเสี่ยงตาง ๆ ที่อยูในความ ความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รับผดิ ชอบขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ มีการดำเนินการดงั นี้ 2. บันทึกขออนุมัติแผนการตรวจสอบไฟฟา 1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟาสาธารณะและไฟฟา สาธารณะ และไฟฟาตามจุดเสี่ยงตาง ๆ ที่อยู ตามจุดเสี่ยงตาง ๆ ที่อยูในความรับผิดชอบของ ในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวน องคกรปกครองสวนทองถิ่นประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทอ งถิ่น 2. ไดรับการอนุมัติแผนการตรวจสอบไฟฟา 3. รายงานผลการตรวจสอบไฟฟาสาธารณะ สาธารณะจากผูบริหารทองถน่ิ และไฟฟาตามจุดเสี่ยงตาง ๆ ที่อยูในความ 3. ดำเนนิ การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบ รับผิดชอบขององคกรปกครองสว นทองถนิ่ ไฟฟา สาธารณะ กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สอื ท่เี กย่ี วของ 4. รายงานใหผูบริหารรับทราบและสั่งการใหมี การปฏบิ ตั ิ 1. มาตรฐานไฟฟาสาธารณะของกรมสงเสริม 5. มีการดำเนินการตามขอสั่งการของผูบริหาร การปกครองทองถน่ิ ทองถิน่ 2. กรมสง เสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0803.3/ว 1783 ลงวันที่ 14 เกณฑก ารใหคะแนน: มถิ นุ ายน 2561 1. ดำเนนิ การ 4 - 5 ขอ 5 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 2. ดำเนนิ การ 3 ขอ 3 ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 2744 ลงวันท่ี 3. ดำเนนิ การ 2 ขอ 1 4 กนั ยายน 2561 4. ดำเนินการ 1 ขอ หรือไมม กี ารดำเนินการ 0 คำอธิบาย : 1. การซอมแซม หมายถึง การซอมการดำเนินการ และหรือการเปลี่ยนแปลงสวนประกอบอันเปนโครงสรางของสิ่งกอสรางทั้งหมด หรอื บางสว น ซงึ่ ไดก อสรางไวแลว ใหม ีสภาพท่ดี ยี งิ่ ข้นึ 2. การบำรุงรักษา (Maintenance) หมายถึง การพยายามรักษาสภาพการใชงานไดของไฟฟาสาธารณะและไฟฟาตามจุดเสี่ยงตาง ๆ ใหมสี ภาพทพี่ รอ มจะใชงานอยตู ลอดเวลาในเวลากลางคืน หมายเหตุ: ประเมินทกุ องคก รปกครองสวนทองถิ่น ไมส ามารถตดั ฐานการประเมนิ ได ๑๒

คะแนนเตม็ 10 คะแนนทไ่ี ด หนวยที่ 1 ดานโครงสรางพนื้ ฐาน ตัวช้ีวัดท่ี 91 – 104 จำนวน 14 ตวั ช้ีวัด 3. นำ้ เพอ่ื การอปุ โภค บริโภค ตวั ชีว้ ดั ท่ี 101 - 102 จำนวน 2 ตวั ช้วี ดั จำนวน 10 คะแนน หนว ยงานทีร่ บั ผิดชอบ : กลุมงานสง เสริมการพัฒนาโครงสรางพ้นื ฐาน กองพฒั นาและสงเสริมการบรหิ ารงานทองถ่ิน ผรู ับผิดชอบ : 1. นายเจษ เสียงลือชา ผูอำนวยการกลุมงานสงเสริมการพฒั นาโครงสรางพนื้ ฐาน โทร. 089-612-5152 2. นายวธิ วิ ตั ชรุ นิ ทร นกั วิเคราะหน โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร โทร. 097-130-5198 หมายเลขโทรศัพทสำนักงาน02 241 9000 ตอ 4112 ตัวช้ีวัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได 101 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 101. การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภค 1. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา บริโภคขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหครบ โดยเครอ่ื งมือภาคสนามอยางงา ย ทุกระบบประปา 2. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำที่ได มีการดำเนนิ การ ดงั นี้ 1.องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดใหมีการ มาตรฐานน้ำอุปโภคบริโภค จากหนวยงานที่มี ตรวจสอบคณุ ภาพน้ำอุปโภคบรโิ ภคภายใน ๑ ป อำนาจหนา ท่ีในการตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ 2. มีรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพ นำ้ ประปาดว ยเคร่ืองมือภาคสนามอยา งงาย 3. ผลดำเนินการสบื เนื่องจากการตรวจสอบ 3. ผลการตรวจคุณภาพน้ำที่ไดมาตรฐาน 4. ภาพถา ย อุปโภคบริโภค จากหนวยงานที่มีอำนาจหนาที่ กฎหมาย/ระเบยี บและหนังสือที่เกีย่ วของ ในการตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 4. มีผลการดำเนินงานสืบเนื่องจากการ ที่ มท 0891.2 /ว 1694 ลงวันที่ 13 สิงหาคม ตรวจสอบ 2558 เกณฑก ารใหค ะแนน : 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 1. ดำเนนิ การครบทั้ง 4 ขอ 5 ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 630 ลงวันที่ 2. ดำเนนิ การ 3 ขอ 3 18 กุมภาพันธ 2562 3. ดำเนนิ การ 1 - 2 ขอ 1 4. ไมมกี ารดำเนินการ 0 คำอธิบาย : 1. ระบบประปา หมายถึง ระบบประปาหมูบาน ระบบประปาขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ ระบบประปาภูมิภาค และ/หรอื ระบบอื่น ๆ ที่ใชง านอยู 2. การตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาโดยเครื่องมือภาคสนามอยางงาย เชน ชุดตรวจโคลิฟอรมในน้ำและน้ำแข็ง (อ.๑๑) ชุดทดสอบ คลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำ (อ.๓๑) ใหตรวจระบบประปา ณ แหลงผลิต/แหลงจายน้ำใน องคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหง และ/หรือ สุมตรวจทปี่ ลายทาง อยา งสมำ่ เสมอ ทุกระบบประปา เชน ทกุ เดือนหรือทกุ 3 เดอื น 3. กรณีที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ไมไดดำเนินกิจการประปาเอง แตเปนการดำเนินการของการประปา สวนภูมิภาคองคกรปกครอง สวนทอ งถิน่ สามารถใชผ ลการตรวจสอบของการประปาสวนภมู ภิ าคได 4. การตรวจสอบคุณภาพน้ำใหตรวจครบทุกระบบประปา ณ แหลงผลิต/แหลงจายน้ำในองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหงและ หรอื สุมตรวจท่ปี ลายทาง 5. ผลดำเนนิ การสบื เน่อื ง หมายถึง ประชาสมั พนั ธผลการตรวจสอบคุณภาพนำ้ ใหประชาชนทราบหรอื ดำเนินการแกไขน้ำใหม ีคุณภาพ ๑๓

ตัวช้ีวัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได 6. หนวยงานทต่ี รวจสอบคุณภาพน้ำ ภูมิภาค เชน 1) สำนักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภาค 1 - 16 2) ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย 3) สถาบันการศึกษาที่มี หองปฏบิ ตั กิ ารตรวจคุณภาพนำ้ 4) การประปาสว นภมู ภิ าค สวนกลาง เชน 1) กรมวิทยาศาสตรการแพทย 2) กรมอนามัย 3) กรมวิทยาศาสตรบริการ 4) การประปาสวนภูมิภาคเอกชน (ในกำกับของรัฐ) บริษัทปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หนวยงานในกำกับของกระทรวงเกษตรและสหกรณ โทร.0-2940-6881-3 หมายเหตุ: ประเมินทุกองคก รปกครองสวนทองถ่ิน ยกเวนองคการบริหารสว นจังหวัดไมต อ งประเมิน ๑๔

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 102 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 102. รอยละของครัวเรือนที่มีน้ำประปา สอบถามจากประชาชนผูใชน้ำประปาใน ใชแ ละมปี รมิ าณตอ เนือ่ งตลอด 24 ชัว่ โมง หมูบาน/ชุมชน อยางนอย 3 ราย อยางไมเปน ทางการ โดยวิธกี ารสมุ อยางงาย เกณฑการใหค ะแนน: กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือท่เี ก่ียวของ 1. รอ ยละ 90.00 ข้ึนไป 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ 2. รอ ยละ 80.00 – 89.99 5 มท 0891.2 /ว 1694 ลงวันท่ี 13 สิงหาคม 2558 3. รอ ยละ 70.00 – 79.99 3 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 4. นอยกวา รอยละ 70.00 1 ดวนที่สุด ที่ มท 0810.4/ว 630 ลงวันท่ี 0 18 กุมภาพันธ 2562 คำอธิบาย: 1. วธิ กี ารสมุ อยางงา ย กรรมการ 4 คน สุมตัวอยาง คนละ 3 ราย รวมเปน 12 คน ใหหาคาวามีน้ำ ตลอด 24 ชั่วโมง กับไมมี น้ำใชตลอด 24 ชั่วโมงของป 2562 (เชน ในรอบ 365 วัน จะตองไมมีน้ำประปาแตก น้ำหยุดไหล) แลวหาคา จากจำนวน 12 คน เปนรอยละ เชน นำ้ 24 ชวั่ โมง 8 คน ไมไหล 24 ชั่วโมง 4 คน คดิ เปน รอยละ 66.66 2. น้ำประปา รวมถึง น้ำประปาภูเขา หรือประปา หมูบาน ฯลฯ หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครองสวน ทองถิ่น ยกเวนองคการบริหารสวนจังหวัดไม ตองประเมนิ ๑๕

คะแนนเตม็ 10 คะแนนทไ่ี ด หนวยท่ี 1 ดา นโครงสรา งพ้ืนฐาน ตัวช้วี ดั ท่ี 91 – 104 จำนวน 14 ตวั ชว้ี ัด 4. การตรวจสอบอาคาร ตวั ชี้วัดที่ 103 – 104 จำนวน 2 ตัวช้ีวัด จำนวน 10 คะแนน หนวยงานทีร่ ับผดิ ชอบ: กลุมงานสงเสริมการพฒั นาโครงสรางพืน้ ฐาน กองพฒั นาและสงเสริมการบริหารงานทองถ่ิน ผรู ับผิดชอบ: 1. นายเจษ เสียงลอื ชา ผูอำนวยการกลมุ งานสง เสรมิ การพฒั นาโครงสรางพืน้ ฐาน โทร. 089-612-5152 2. นายวิธวิ ตั ชุรินทร นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนปฏิบตั ิการ โทร. 097-130-5198 หมายเลขโทรศัพทส ำนักงาน 02 241 9000 ตอ 4112 ตวั ช้ีวัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ีได 103 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 103. การดำเนินการเกี่ยวกับอาคาร ๙ 1. แบบบันทึกขอมลู อาคาร 9 ประเภท ประเภท ตาม ม. ๓๒ ทวิ พ.ร.บ.ควบคุม 2. หนังสือแจงเจาของอาคาร 9 ประเภทให อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ดำเนนิ การ มกี ารดำเนินการ ดังน้ี 3. หนังสือรับรองการตรวจสภาพอาคารของ ๑. จัดทำฐานขอ มูลอาคาร ๙ ประเภทตามแบบ เจาของอาคาร ที่ กรมโยธาธิการและผังเมืองกำหนด 4. หนังสือแจงจังหวัดเพื่อรายงานผล ๒. ทำหนังสือแจงเจาของอาคาร ๙ ประเภท การดำเนินการ ใหด ำเนนิ การจัดใหม ีผตู รวจสอบอาคาร กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สอื ทีเ่ กยี่ วของ ๓. รับแจงผลการตรวจสภาพอาคาร และ 1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ดำเนินการออกใบรบั รองการตรวจสภาพอาคาร 4. รายงานผลการดำเนินการใหจังหวัด และทแ่ี กไขเพิม่ เติม ทราบ ทุกวนั ท่ี ๓๐ ของเดือน เกณฑก ารใหค ะแนน: 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๗๑๐/ 1. ดำเนินการ ขอ 1 - 4 5 ว ๓๕๙๓ ลงวันที่ ๒๓ มถิ นุ ายน 2559 2. ดำเนินการ ขอ 1 - 3 3 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ มท ๐๗๑๐/ 3. ดำเนินการ ขอ 1 - 2 1 ว ๒๕๐ ลงวนั ที่ ๑๙ มกราคม 25๖๐ 0 4. ไมม ีการดำเนนิ การ คำอธิบาย : 1. องคกรปกครองสวนทองถิ่นใดท่ีไมมเี ขตควบคมุ อาคารสามารถตดั ฐานการประเมนิ ได 2. อาคาร 9 ประเภทตาม ม.๓๒ ทวิ ฯ หมายถึง อาคารสูง (อาคารท่บี ุคคลอาจเขาอยูหรือใชสอยไดที่มีความสูงต้งั แต 23 เมตรขึ้นไป) อาคารขนาดใหญพิเศษ (อาคารท่ีมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันตั้งแตหนึ่งหมื่นตารางเมตร ขึ้นไป) อาคารชุมนุมคน (อาคารหรือ สวนใดของอาคารที่บุคคลอาจเขาไปภายในเพื่อใชประโยชนในการชุมนุมคนที่มีพื้นที่ตั้งแตหนึ่งพันตารางเมตรขึ้นไป หรือชุมนุมคน ไดตั้งแตหา รอยคนขึ้นไป) โรงมหรสพ (อาคารหรือสวนใดของอาคารท่ีใชเ ปนท่ีสำหรบั ฉายภาพยนตร แสดงละคร แสดงดนตรี หรือการ แสดงรน่ื เรงิ อนื่ ใด และมีวัตถุประสงคเพ่อื เปด ใหส าธารณชนเขาชมการแสดงน้นั เปน ปกตธิ ุระ โดยจะมีคา ตอบแทนหรอื ไมกต็ าม) โรงแรม (ตามกฎหมายวา ดวยโรงแรมทมี่ ีจำนวนหองพักตง้ั แตแปดสบิ หองข้ึนไป) อาคารชดุ (ตามกฎหมายวา ดว ยอาคารชดุ หรืออาคารอยูอาศัย รวมที่มีพื้นที่ตั้งแต 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป) อาคารโรงงาน (ที่สูงกวา 1 ชั้น และมีพื้นที่ตั้งแต 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป) ปาย (สูงตั้งแต 15 เมตรขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต 50 ตารางเมตรขึ้นไป หรือปายที่ติดหรือตั้งบนหลงั คาหรือดาดฟาของอาคารที่มีพื้นท่ี ตง้ั แต 25 ตารางเมตรข้ึนไป) และ สถานบริการ (ตามกฎหมายวา ดวยสถานบรกิ ารทมี่ ีพ้นื ทีต่ ้ังแต 200 ตารางเมตรขึ้นไป) 3. องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ ใดท่ไี มม ีอาคาร สามารถตัดฐานการประเมนิ ได ๑๖

ตัวชว้ี ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนท่ีได 104 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 104. การดำเนินการเกี่ยวกับอาคารที่อาจไม 1 คำสั่งจัดตั้งคณะทำงานดำเนินการตรวจสอบ เขาขายอาคาร 9 ประเภท อาคารทไ่ี มเขาขา ยฯ และเปน ปจ จุบัน มีการดำเนินการ ดังน้ี 2. รายงานผลการดำเนินงานตรวจสอบอาคาร 1. จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการตรวจสอบ ที่ไมเขาขายฯ และการสั่งแกไขหากพบ อาคารท่ีไมเ ขา ขายอาคาร 9 ประเภท ขอบกพรอง 2. ดำเนินการตรวจสอบและสั่งแกไขหาก 3. หนงั สอื รายงานผลใหจ ังหวัดทราบ พบขอบกพรอ ง กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สือที่เก่ียวของ 3. รายงานผลการดำเนินการใหจังหวัด 1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ทราบ ทกุ วนั ที่ ๓๐ ของเดือน และท่แี กไ ขเพ่มิ เติม เกณฑก ารใหค ะแนน: 1. ดำเนนิ การขอ 1 – 3 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๗๑๐/ 2. ดำเนินการขอ 1 – 2 5 ว ๓๕๙๓ ลงวนั ท่ี ๒๓ มิถนุ ายน 2559 3. ดำเนินการขอ 1 3 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ มท ๐๗๑๐/ 4. ไมมีการดำเนนิ การ 1 ว ๒๕๐ ลงวันที่ ๑๙ มกราคม 25๖๐ 0 คำอธิบาย: อาคารที่อาจไมเขาขายฯ หมายถึงอาคารที่ ไมเขาขายอาคาร ๙ ประเภท ตาม ม.๓๒ ทวิ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และ ทีแ่ กไ ขเพิ่มเติม ซง่ึ มีสภาพหรอื มีการใชที่อาจไมป ลอดภัยจากอัคคีภัยตามมาตรา ๔๖ เชน อาคารสาธารณะ อาคารอยอู าศัยรวม หอพัก อาคารที่คนใชสอยเปนจำนวนมาก และอาคารที่พักหรือรับเลี้ยงเด็ก หรือคนชรา หรือคนพิการ ตามแบบคูมือของกรมโยธาธิการ และผงั เมือง หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ยกเวนองคการบริหารสวนจังหวัดไมตองประเมิน เวนแตองคกรปกครองส วนทองถ่นิ ใดที่ไมม เี ขตควบคุมอาคาร สามารถตดั ฐานการประเมินได ๑๗

คะแนนเต็ม 170 คะแนนที่ได หนวยที่ 2 ดานงานสง เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ตัวชี้วดั ท่ี 105 – 138 จำนวน 34 ตวั ชว้ี ัด จำนวน 170 คะแนน เปาหมาย: องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการดำเนินการในการสงเสริมคุณภาพชีวิตทั้งในดานการศึกษาการสาธารณสุขการ สงเสริมการกีฬา การสงเสริมเพื่อสรางความเทาเทียมกันในสังคมในการเขาถึงโอกาสในดานตาง ๆ ทั้งในเด็ก และเยาวชน ผูสงู อายุ ผูดอยโอกาส ผูพกิ าร และผูไรท ีพ่ ง่ึ และคำนึงถงึ การสง เสริมความเทาเทยี มกันทางเพศ คะแนนเตม็ 5 หนว ยยอยท่ี 1 การศึกษา ตัวชวี้ ัดท่ี 105 – 114 จำนวน 10 ตัวชว้ี ัด จำนวน 50 คะแนน คะแนนทีไ่ ด กลมุ ท่ี 1 การศกึ ษาในระบบ กลุมยอยที่ 1 การจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษา ตัวชี้วดั ที่ 105 จำนวน 1 ตัวช้ีวัด จำนวน 5 คะแนน หนวยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ: กองสงเสริมและพัฒนาการจดั การศกึ ษาทองถิ่น ผรู บั ผดิ ชอบ: 1. นางประอรรตั น กาญจนธนภัทร ผอู ำนวยการกลุม งานยุทธศาสตรการพัฒนาการจดั การศึกษาทอ งถน่ิ โทร 02-2419000 ตอ 5321 2. นายมนสวรรค สบื ศรี นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ โทร 02-2419000 ตอ 5323 หมายเลขโทรศัพทส ำนักงาน 02-2419000 ตอ 5321 ตวั ช้วี ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 105 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน ๑๐5. องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการจัดทำ ๑) แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๑ - แผนพัฒนาการศึกษาขององคกรปกครอง ๒๕๖๕) ขององคก รปกครองสวนทองถิ่น สว นทอ งถ่ิน ๒) แผนพฒั นาทองถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) มีการดำเนนิ การ ดังน้ี กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือทเ่ี กยี่ วของ 1. สถานศึกษา (โรงเรียน/วิทยาลัย/สถานพัฒนา ๑. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการ เดก็ ปฐมวัย) ในสงั กัดองคกรปกครองสว นทองถ่ิน จัดทำแผนพัฒนาขององคกรปกครองทองถ่ิน จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไขเพมิ่ เตมิ ของสถานศกึ ษา ๒. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยรายได 2. องคกรปกครองสวนทองถิ่น (สำนัก/กอง/ และการจายเงินของสถานศึกษาในสังกัด หนวยงานที่รับผิดชอบภารกิจดานการศึกษา) องคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๖๒ ดำเนินการบูรณาการแผนพัฒนาการศึกษา ๓. กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ของสถานศึกษาในสังกัด พ.ศ. ๒๕๖๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหง เพื่อจัดทำ ๔. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ท่ี เปนแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2561 - 2565) มท ๐๘๑๐.๒/ว ๐๖๐๐ ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ขององคก รปกครองสว นทองถ่ิน ๒๕๕๙ ๓. คณะกรรมการการศึกษาขององคกรปกครอง ๕. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ สว นทองถิ่นพิจารณาใหคว ามเห็นชอบ มท ๐๘๑๐.๓/ว ๒๙๓๑ ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ๒๕๖๒ ขององคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ ๖. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ท่ี ๔. ผูบริหารทองถิ่นอนุมัติและประกาศใช มท ๐๘๑๖.๒/ว ๕๒๓๒ ลงวันที่ ๒ กันยายน แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ๒๕๖๒ ขององคกรปกครองสว นทองถนิ่ ๕. องคกรปกครองสวนทองถิ่น (สำนัก/กอง/ ห น ว ย ง า น ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ภ า ร กิ จ ด า น แ ผ น ๑๘

ตัวชว้ี ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 105 และงบประมาณ) นำโครงการ/กิจกรรม ตามยุทธศาสตรและกลยุทธ จากแผนพัฒนา การศึกษา (พ.ศ. 2561 - 2565) ขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นมาบรรจุไวในแผนพัฒนา ทอ งถนิ่ (พ.ศ. 2561 - 2565) เกณฑก ารใหค ะแนน: 5 ๑. ดำเนินการ ๔ - ๕ ขั้นตอน 3 ๒. ดำเนินการ ๒ - ๓ ขนั้ ตอน 1 ๓. ดำเนนิ การ ๑ ข้ันตอน 0 ๔. ไมม กี ารดำเนนิ การ คำอธิบาย: 1. ประเมนิ เฉพาะองคก รปกครองสว นทองถ่นิ ท่มี ีสถานศกึ ษา 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 0816.2 /ว 5232 ลงวันที่ 2 กันยายน 2562 ไดแจงใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ทบทวนแผนพัฒนาการศึกษาสี่ป (พ.ศ.2561-2564) เปนแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2561-2565) ใหตรวจสอบแผนพัฒนา การศึกษาทองถิ่นสี่ป (พ.ศ.2561-2564) ไดผานความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือไม หากผา นความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ แลว ในการทบทวนแผนพัฒนาการศกึ ษาสี่ป (พ.ศ.2561-2564) เปน แผนพฒั นาการศึกษา (พ.ศ. 2561-2565) ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นประกาศใชแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2561-2565) โดยไมตองขอความ เหน็ ชอบของคณะกรรมการฯ อกี ๓. เกณฑการใหค ะแนน องคกรปกครองสว นทองถ่นิ ตองดำเนินการเรียงตามข้ันตอนท่ี ๑ ถงึ ๕ เทา นนั้ ๑๙

คะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได หนวยท่ี 2 ดานงานสง เสริมคุณภาพชีวติ ตัวชี้วดั ที่ 105 - 138 จำนวน 34 ตัวชี้วดั จำนวน 170 คะแนน หนว ยยอยที่ 1 การศึกษา ตัวช้ีวัดท่ี 105 - 114 จำนวน 10 ตัวชวี้ ดั จำนวน 50 คะแนน กลุม ที่ 1 การศกึ ษาในระบบ กลุมยอ ยท่ี 2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการศกึ ษา ตัวช้ีวัดท่ี 106 จำนวน 1 ตวั ชีว้ ดั จำนวน 5 คะแนน หนว ยงานที่รบั ผดิ ชอบ: กองสง เสรมิ และพฒั นาการจดั การศกึ ษาทองถ่ิน ผรู บั ผิดชอบ: 1. นางทิพรวี รัตนรังสรรค ผูอำนวยการกลุม งานสงเสริมการจดั การศึกษาทองถ่ิน โทร. 0 2241 9000 ตอ 5311 2. นางสาวเอมอร เสอื จร หวั หนา ฝายสงเสริมกจิ กรรมทางการศึกษา โทร. 0 2241 9000 ตอ 5313 หมายเลขโทรศพั ทสำนกั งาน 02-2419000 ตอ 5321 ตัวช้ีวดั การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทไี่ ด 106 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 106. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 5 ผลคะแนน T – score การสอบ O-NET ของ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนในโรงเรยี น 3 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดองคกรปกครอง สังกดั องคก รปกครองสว นทองถิน่ ในทกุ ระดับ 1 สว นทองถิ่น 3 ระดบั ไดแ ก ป.6 ม.3 ม.6 T- score ของคะแนนเฉลี่ยรวมรายบุคคล 0 กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือทเี่ กีย่ วของ ทุกรายวชิ าสอบ ตัง้ แต 50 ข้นึ ไป 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท เกณฑการใหคะแนน : 0816.3/ว 1847 ลงวันที่ 24 มิถนุ ายน 2563 1. จำนวนนักเรียนที่มีคะแนน T- score 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 50.00 ขึ้นไป ของคะแนนเฉลี่ยรวมทุกรายวิชา ดวนที่สุด ที่ มท 0816.3/ว 127 ลงวันที่ 20 ทสี่ อบคิดเปน รอยละ 50.00 ขึน้ ไป มกราคม 2564 และหนังสือ ดวนที่สุด ที่ มท 2. จำนวนนักเรยี นทม่ี คี ะแนน T- score ตงั้ แต 0816.3/ว163 ลงวนั ที่ 28 มกราคม 2564 50.00 ขึ้นไป ของคะแนนเฉลี่ยรวมทุกรายวิชา 3. ประกาศ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ ท่สี อบ คดิ เปน รอยละ 30.00 – 49.99 (องคการมหาชน) เรื่อง การดำเนินการทดสอบ 3. จำนวนนักเรียนทมี่ คี ะแนน T- score ต้งั แต ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 50.00 ขึน้ ไป ของคะแนนเฉลี่ยรวม ทกุ รายวิชา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทส่ี อบ คดิ เปน รอ ยละ 10.00 – 29.99 ปก ารศึกษา 2563 4. จำนวนนักเรียนที่มีคะแนน T- score ตั้งแต 50.00 ขึ้นไป ของคะแนนเฉลี่ยรวมทุกรายวิชา ทส่ี อบ ตำ่ กวา รอ ยละ 10.00 คำอธิบาย: 1. ใหใชค ะแนน T-Score รายบุคคลของปการศกึ ษา 2563 ตามที่ สทศ. ประกาศ 2. การคำนวณ จำนวนนักเรยี นท่ีมีคะแนน = T-Score 50.00 ขึ้นไป x 100 จำนวนนักเรยี นทั้งหมดที่สอบ 3. กระทรวงศึกษาธิการมีประกาศเรื่องการสอบ O-NET ชั้น ป.6 และ ม.3 ในปก ารศึกษา 2563 โดยถือวา การสอบ O-NET ปการศึกษาศึกษา 2563 เปนสิทธิสวนตัวโดยเฉพาะของนักเรียนท่ีจะเขารับการทดสอบตามความสมัครใจ เนื่องจากมีขอจำกัดดานการ จัดการเรยี นการสอนภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื โควิด - 19 และ สถ. ไดม หี นงั สือแจงแนวทางการสอบ O-NET ของ นักเรียน ชั้น ป.6 และ ม.3 ถือเปนสิทธิสวนตัวโดยเฉพาะของนักเรียนที่จะเขารับการทดสอบตามความสมัครใจ โดยใหสถานศึกษาและ นักเรียนที่ประสงคเขารับการทดสอบ ยืนยันการเขาสอบ ไปยัง สทศ. เพื่อดำเนินการสอบตอไป กรณี สถานศึกษาที่ไมมีเด็กเขารับการ ทดสอบ ไมต องนำไปเปนฐานในการคำนวณคะแนน หมายเหตุ: ประเมินเฉพาะองคกรปกครองสว นทองถิ่นท่ีจดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (ช้นั ป.1 - ม.6) ๒๐

คะแนนเตม็ 10 คะแนนทีไ่ ด หนวยท่ี 2 ดา นงานสง เสรมิ คณุ ภาพชวี ิต ตัวชี้วดั ท่ี 105 – 138 จำนวน 34 ตัวช้ีวัด จำนวน 70 คะแนน เปาหมาย : องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการดำเนินการในการสงเสริมคุณภาพชีวิตทั้งในดานการศึกษาการสาธารณสุข การสงเสริมการกีฬาการสงเสริมเพื่อสรางความเทาเทียมกันในสังคมในการเขาถึงโอกาสในดานตาง ๆ ทั้งในเด็ก และเยาวชน ผสู ูงอายุ ผูด อยโอกาส ผพู กิ าร และผูไรที่พงึ่ และคำนงึ ถงึ การสงเสริมความเทาเทียมกันทางเพศ หนว ยยอ ยที่ 1 การศกึ ษา ตัวชวี้ ัดที่ 105 - 114 จำนวน 10 ตัวช้ีวดั จำนวน 50 คะแนน กลมุ ที่ 2 การศกึ ษานอกระบบ (กจิ การศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก) ตัวช้ีวัดที่ 107 - 108 จำนวน 2 ตวั ชว้ี ัด จำนวน 10 คะแนน หนวยงานทรี่ บั ผิดชอบ : กองสง เสริมและพัฒนาการจัดการศกึ ษาทองถิน่ ผรู ับผดิ ชอบ : 1. นายพลวัฒน การญุ ภาสกร ผอู ำนวยการกลุมงานสง เสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยและศนู ยพฒั นาเดก็ เล็ก โทร 02-2419000 ตอ 5341 2. นายตองการ สุขเหลือ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ โทร 02-2419000 ตอ 5342 ตวั ชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนทไ่ี ด 107 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 107. องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีกิจกรรม 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย เพ่อื สงเสริมการเรียนรแู ละการดำเนินกจิ กรรม ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของศูนยพัฒนา 2. แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 3. ภาพถา ย เดก็ เลก็ 4. หนังสือเสนอโครงการ/กิจกรรม เกณฑก ารใหค ะแนน: 5 กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือท่เี กย่ี วของ 1. จำนวน 5 กจิ กรรมขน้ึ ไป 3 1. มาตรฐานการดำเนินงานศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 2. จำนวน 4 กิจกรรม 1 ของกรมสงเสริมการปกครองทองถนิ่ 3. จำนวน 3 กจิ กรรม 0 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ 4. จำนวน 1 - 2 กิจกรรม หรือไมมีการ มท 0893.3/ว 2874 ลงวันที่ 22 ตุลาคม ดำเนนิ การ 2555 3. หนงั สอื กรมสง เสริมการปกครองทองถ่นิ ดว น ที่สุด ที่ มท 0816.2/ว 424 ลงวันที่ 24 กมุ ภาพนั ธุ 2560 4. หนังสอื กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิ่น ดวน ที่สุด ที่ มท 0816.3/ว 4158 ลงวันที่ 21 ธนั วาคม 2561 5. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0816.2/ว 4250 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2561 6. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0816.4/ ว 5005 ลงวันท่ี 9 ธันวาคม 2562 ๒๑

ตัวชีว้ ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนทีไ่ ด คำอธิบาย: 1. องคกรปกครองสว นทองถนิ่ ใดทีไ่ มม ีศูนยพ ัฒนาเด็กเลก็ ไมตองนำมาเปน ฐานในการคำนวณคะแนน 2. ศูนยพ ัฒนาเด็กเลก็ ทีจ่ ัดตงั้ ข้นึ หลงั เร่ิมปการศึกษา พ.ศ. 2563 ไมตอ งประเมิน 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กท่ีรับถายโอนจากกรมการศาสนา ที่เลือกรูปแบบการบริหารจัดการรูปแบบที่ 3 คือ ศาสนสถานบรหิ ารจัดการศูนย พฒั นาเด็กเล็กเองทง้ั หมด ไมตองประเมิน 4. ตวั อยางโครงการ/กจิ กรรม เชน การจัดกจิ กรรมใน วันสำคัญ การทัศนศึกษา เปน ตน ๒๒

ตัวชวี้ ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทไี่ ด 108 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 108. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัดจัดใหมี 1. ประกาศศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เรื่อง การใช ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ โดยใชมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เปนมาตรฐานในการประกันคุณภาพการศึกษา แหง ชาติ เปนมาตรฐานในการประกันคุณภาพ ภายใน การศึกษาภายใน 2. หลักฐานการดำเนินการประกันคุณภาพ มีการดำเนนิ การ ดังน้ี การศกึ ษาภายในของศูนยพฒั นาเด็กเลก็ 1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัดทุกแหง 3. รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประกาศใชมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (Self Assesment Report : SAR) แหงชาติ เปนมาตรฐานในการประกันคุณภาพ กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สือท่ีเกย่ี วของ การศึกษาภายใน 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัดทุกแหง 2542 และทีแ่ กไ ขเพ่ิมเติม จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 2. มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ ภายใน 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัดทุกแหงจัดทำ ดวนที่สุด ที่ มท 0816.4/ว 806 ลงวันท่ี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 1 มีนาคม 2562 (Self Assessment Report: SAR) เกณฑก ารใหคะแนน : 5 1. ดำเนินการ 3 รายการ 2. ดำเนินการ 2 รายการ 3 3. ดำเนนิ การ 1 รายการ 1 4. ไมไ ดดำเนินการ 0 คำอธิบาย: 1. องคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ ใดที่ไมม ีศูนยพ ฒั นาเดก็ เลก็ ไมตองนำมาเปน ฐานในการคำนวณคะแนน 2. ศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็กทจี่ ดั ตง้ั ขึ้นหลงั เริ่มปการศกึ ษา พ.ศ. 2563 ไมตอ งประเมนิ 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่รับถายโอนจากกรมการศาสนา ที่เลือกรูปแบบการบริหารจัดการรูปแบบที่ 3 คือ ศาสนสถานบริหารจัดการ ศูนยพฒั นาเดก็ เลก็ เองท้ังหมด ไมต องประเมิน ๒๓

คะแนนเต็ม 10 คะแนนท่ีได หนวยที่ 2 ดานงานสงเสริมคณุ ภาพชีวิต ตัวช้ีวดั ท่ี 105 - 138 จำนวน 34 ตัวชีว้ ดั จำนวน 70 คะแนน กลุม ท่ี 3 การศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั ชี้วดั ที่ 109 – 110 จำนวน 2 ตวั ชวี้ ัด จำนวน 10 คะแนน หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบ : กองสงเสรมิ และพฒั นาการจัดการศึกษาทองถ่ิน ผรู ับผิดชอบ : 1. นางสาวภาวดิ า ทรงไชยธราเวช ผูอ ำนวยการกลุมงานสงเสริมการจดั การศกึ ษานอกระบบ ศิลปะ วฒั นธรรม และภมู ิปญ ญาทองถนิ่ โทร 02-2419000 ตอ 418 2. นายธนกฤต วเิ ศษฤทธิ์ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ โทร 02-2419000 ตอ 418 หมายเลขโทรศัพทส ำนักงาน 02-2419000 ตอ 418 ตวั ชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได 109 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 109. การดำเนินการเพ่ือจัดใหมีหรือสงเสริม 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย การจัดใหมีแหลงเรียนรูชุมชนในพื้นที่ ปงบประมาณ พ.ศ. 256๓ องคก รปกครองสวนทองถิน่ 2. แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 3. ภาพถา ย เกณฑการใหค ะแนน : 4. หนงั สือแจงเขารวมกจิ กรรม 1. มีแหลงเรียนรูจำนวน 4 แหงขึ้นไป กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สอื ทเ่ี ก่ียวของ และมกี ารดำเนินกิจกรรม ต้งั แต 3 กิจกรรม 5 1. พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด ขึ้นไป 3 พ.ศ.๒๕๔๐ แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. 2. มีแหลงเรียนรูจำนวน 2 - 3 แหง และ ๒๕๖๒ มาตรา 20 มีการดำเนนิ กิจกรรม ๒ กจิ กรรม 2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไข 3. มีแหลงเรียนรูจำนวน 1 แหง และ 1 เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๕๐ มกี ารดำเนินกจิ กรรม ๑ กจิ กรรม 0 (๖) มาตรา ๕๓ (๑) และ มาตรา ๕๖ (๑) 4. ไมม กี ารดำเนนิ การ 3. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบรหิ าร สวนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๕๖๒ มาตรา ๖๖ (๕) 4. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๕ คำอธิบาย: ๑. มาตรา ๒๓ (๓) แหง พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดวา การจดั การศึกษา ทง้ั การศึกษาในระบบ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสำคญั ทัง้ ความรู คณุ ธรรม กระบวนการเรยี นรูและบูรณาการตามความเหมาะสม ของแตล ะระดบั การศกึ ษา ๒. แหลง เรยี นรตู ามมาตรา ๒๕ แหง พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดแ ก หอ งสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศลิ ป สวน สตั ว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศนู ยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูลและแหลง การ เรยี นรูอ นื่ 3. ตวั อยางกิจกรรมที่ดำเนินการในแหลง เรียนรู เชน - ใชเปน แหลงคนควา หาความรูเ พ่ิมเตมิ ท้ังที่มใี นตาํ ราเรียนและทีไ่ มม ีในตําราเรียน - ใชเปนสถานที่ในการจดั การเรียนการสอนการฝก อบรม ๒๔

ตัวชี้วัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนทไี่ ด - ใชเปน สถานท่ีพบปะ แลกเปล่ียนความรู ประสบการณ ความคิดเห็น - ใชเ ปน แหลง สถานทศ่ี กึ ษาดูงาน ฝก ฝนอาชีพ - ใชเปนสือ่ เรยี นรู สื่อประกอบการเรยี นการสอน เชน จติ กรรมฝาพนัง รองรอยประวตั ิศาสตร นิเวศวิทยา สัตวตา ง ๆ ท่มี อี ยูในชมุ ชน (แมลง นก ปลา ฯลฯ) เปนตน - ใชเ ปนสถานทีถ่ า ยทอดความรู ขอ มลู ขาวสารท่ัวไป รวมทั้งเปนสถานทปี่ ระชาสัมพันธเผยแพร หรือแจง ขอ มูลทีต่ องการส่อื ไปถงึ คนใน ชุมชน - ใชเ ปน ศนู ยกลางในการรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ เปนตน - ใชเ ปนศนู ยก ลางในการดําเนนิ กิจกรรมอื่นๆ อาทิ เปน ศูนยจัดจาํ หนายผลิตภัณฑชุมชน เปน จุดรวบรวมผลผลิต พืน้ ท่รี วมกลุมทํากจิ กรรมของแมบ าน เปนตน ๒๕

ตัวช้ีวัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนที่ได 110 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 110. มีที่อานหนังสือประจำหมูบาน/ชุมชน 1. สถานท่ีต้ังของที่อา นหนงั สือ ที่เปนขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเองและ 2. ภาพถาย/สภาพการใชง าน เปนไปตามแนวทางที่กรมสงเสริมการปกครอง 3. เอกสารและภาพถา ยการจดั กจิ กรรม ทองถิ่น (สถ.) กำหนด 4. แผนการดำเนินงานเพื่อเสริมสรางพฤติกรรม การอา น 5. แผนงาน/โครงการ กจิ กรรมรณรงคฯ เกณฑการใหค ะแนน : 6. คำสัง่ แตงตง้ั /มอบหมายเจาหนาทผ่ี ูรับผิดชอบ 1. มีที่อานหนังสือขององคกรปกครอง 5 ฯลฯ สวนทองถิ่น ๓ แหงขึ้นไป และเปนไปตาม 3 กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือทเี่ กย่ี วของ แนวทาง ๔ ใน 6 ขอ 1 1. พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด (ระบุขอ )...................................................... 0 พ.ศ.๒๕๔๐ แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. 2. มีที่อานหนังสือขององคกรปกครองสวน ๒๕๖๒ มาตรา 20 ทองถิ่น 2 แหง และเปนไปตามแนวทาง 2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไข ๔ ใน 6 ขอ เพ่มิ เติมถึง (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๕๐ (ระบุขอ) ...................................................... (๖) มาตรา ๕๓ (๑) และ มาตรา ๕๖ (๑) 3. มีที่อานหนังสือขององคกรปกครอง 3. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบรหิ าร สว นทองถน่ิ 1 แหง และเปนไปตามแนวทาง สวนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี ๔ ใน 6 ขอ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๖๖ (๕) (ระบขุ อ) ...................................................... 4. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 4. ไมมีที่อานหนังสือขององคกรปกครอง ๒๕๔๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๕ สว นทอ งถ่ิน 5. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดว นที่สุด ที่ มท 0816.5/ว 2450 ลงวนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2560 คำอธิบาย: แนวทางทีก่ รมสงเสริมการปกครองทอ งถิ่น (สถ.) กำหนด จำนวน 6 ขอ ดังน้ี 1. มีการจดั ทำปาย “ทีอ่ านหนงั สอื ทอ งถ่นิ รักการอา น” หรอื “บา นรักการอาน” 2. มีแผนดำเนนิ งานเพอ่ื เสริมสรางพฤติกรรมการอา น 3. มเี จาหนาทีร่ บั ผดิ ชอบดแู ลบำรุงรกั ษาทีอ่ านหนังสือ 4. มีการจัดหาหนงั สอื ท่มี หี ลากหลายและพอเพยี ง 5. มกี ิจกรรมรณรงคส ง เสรมิ การบริจาคหนงั สือ 6. มกี ารรณรงคห รอื ประชาสัมพนั ธใหก ับประชาชนมาใชบริการที่อานหนงั สอื หรือการรณรงคสง เสรมิ ใหป ระชาชนอา นหนงั สือ ๒๖

คะแนนเตม็ 20 คะแนนที่ได หนวยท่ี 2 ดา นงานสง เสริมคุณภาพชวี ติ ตวั ชี้วดั ที่ 105 – 138 จำนวน 34 ตัวชว้ี ัด จำนวน 170 คะแนน กลมุ ที่ 4 การบริหารจัดการสถานศกึ ษา ตัวช้ีวดั ที่ 111 – 114 จำนวน 4 ตวั ชว้ี ัด จำนวน 20 คะแนน หนว ยงานท่รี ับผดิ ชอบ : กองสง เสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาทองถ่ิน ผรู บั ผดิ ชอบ 1. นางทิพรวี รัตนรงั สรรค ผูอ ำนวยการกลมุ งานสงเสริมการจดั การศึกษาทองถิน่ โทร. 0 2241 9000 ตอ 5311 2. นางนภิ าวลั ย เพช็ รผ ง้ึ หัวหนา ฝายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โทร. 0 2241 9000 ตอ 5312 3. นายพรชัย สขุ ขี หัวหนาฝายพฒั นามาตรฐานและการประเมินผล โทร. 0 2241 9000 ตอ 5314 หมายเลขโทรศัพทสำนักงาน02-2419000 ตอ 5311 - 14 ตวั ชีว้ ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 111 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 111. องคกรปกครองสวนทองถิ่นสงเสริม 1. หลกั สตู รสถานศึกษา สนบั สนนุ ใหโ รงเรียนในสังกัดจดั กจิ กรรม หรอื 2. แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม โรงเรยี นในสงั กัดจดั กิจกรรม/ชุมนุม/หลักสูตร 3. ภาพถาย จัดการเรียนรู ตามความสามารถ ความถนัด 4. เอกสารหลักฐานอ่ืน ๆ ท่เี ก่ยี วของ ฯลฯ หรอื ความสนใจของผูเรยี น กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สอื ท่ีเกี่ยวของ มีการดำเนินการ ดังน้ี 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 1. มีกจิ กรรม/ชมุ นุม/หลักสูตรดนตรี 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ 2. มีกจิ กรรม/ชมุ นมุ /หลกั สตู รนาฏศิลป 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 3. มกี ิจกรรม/ชมุ นมุ /หลักสูตรศิลปะ และฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560 4. มีกิจกรรม/ชุมนมุ /หลกั สูตรภาษาตา งประเทศ คำอธิบาย : 5. มกี ิจกรรม/ชุมนุม/หลกั สตู รทองถิน่ การประเมินเฉพาะโรงเรียนระดับประถมศึกษา 6. มกี จิ กรรม/ชุมนมุ /หลักสูตรเทคโนโลยี ข้นึ ไป 7. มกี จิ กรรม/ชมุ นมุ /หลกั สูตรฝมอื หรอื อาชีพ 8. มกี จิ กรรม/ชุมนมุ /หลกั สตู รกฬี า 9. มีกิจกรรม/ชุมนุม/หลักสูตรปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 10 มีกิจกรรม/ชุมนุม/หลักสูตรอื่น ๆ ตามความ เหมาะสมของโรงเรียน ระบ…ุ ………………………………………………………… เกณฑก ารใหคะแนน: 5 1. ดำเนินการ 3 - 5 รายการ 3 2. ดำเนินการ 2 รายการ 1 3. ดำเนนิ การ 1 รายการ 0 4. ไมมีการดำเนินการ ๒๗

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 112 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 112. โรงเรียนในสังกัดมีการจัดการเรียนการ 5 1. ขอ มลู นกั เรียน สอนนกั เรยี นที่มีความตองการพเิ ศษเรยี นรวม 3 2. ขอมูลการสนับสนุนอุปกรณ การเรียนหรือ มีการดำเนินการ ดังน้ี 1 อปุ กรณอ ืน่ 1. มีการประกาศนโยบายการรับนักเรียนที่มี 0 3. หลักฐานการบรรจุ/จาง/คำสั่ง แตงตั้ง ครู ความตองการพเิ ศษเรยี นรวม สอนนกั เรียนที่มคี วามตอ งการพิเศษ 2. มีขอความปรากฏในประกาศรับสมัคร วารับ 4. เอกสารหลักฐานที่แสดงวา องคกรปกครอง นักเรียนท่มี คี วามตองการพิเศษเรียนรวมดว ย สวนทองถิ่น/โรงเรียนในสังกัดมีนโยบาย 3.มีการสนับสนุนดานอัตรากำลังครูสำหรับ รับ นกั เรียนท่มี ีความตอ งการพิเศษ ฯลฯ รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนนักเรียนทีม่ ี กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือท่ีเก่ียวของ ความตองการพิเศษเรยี นรวม พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ต ิ ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า ส ํ า ห รั บ 4. มีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ สื่อการเรียน คนพิการ พ.ศ. 2551 ถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. การสอน และอุปกรณอื่นๆ ที่จำเปนสำหรับ ๒๕๕๖ นกั เรยี นท่มี คี วามตอ งการพิเศษเรียนรวม คำอธิบาย: 5. มีระบบการคดั กรองนกั เรยี น 1. ประเมินเฉพาะโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษาข้ึนไป 2. เด็กที่มีความตองการพิเศษ หมายถึง เด็กที่มี เกณฑก ารใหคะแนน: สภาพความบกพรองใน ลักษณะตางๆ ไมวาจะ 1. ดำเนินการ 3 - 4 รายการ ทางดานพัฒนาการทางรางกาย อารมณ สังคม 2. ดำเนินการ 2 รายการ ภาษา หรือสติปญญา ไมสามารถปฏิบัติได 3. ดำเนินการ 1 รายการ เหมือนคนปกติ และหรอื ชีวติ สงั คมทั่วไป ซึ่งเปน 4. ไมม กี ารดำเนินการ ผลมาจากความบกพรองทางรางกายหรือสมอง โยเปนมาแตกำเนิดหรือไมก็ได ดานการจัด การศึกษาตองจัดใหม ีการเรียน การสอนท่ีตางไป จากเด็กปกติ เพื่อใหสอดคลองและเหมาะสมกบั สภาพของความบกพรอ งของเด็ก ๒๘

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 113 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 113. สถานศึกษาในสังกัดองคกรปกครอง 5 1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม สวนทองถิ่น มีการสงเสริมสุขภาพและ 3 2. เอกสารที่แสดงวามีการดำเนินการตาม พฒั นาการตามวัยของนักเรียน 1 กิจกรรม มกี ารดำเนินการ ดังน้ี 0 3. เอกสาร/หลักฐานแสดงการมีมาตรการ 1. มีการตรวจสุขภาพนักเรียน (อาจดำเนินการ ดำเนินการจริง เองหรอื รว มกบั หนวยงานอน่ื ) 4. ภาพถา ย 2. มีการคัดกรองนักเรียน (อาจดำเนินการเอง ระเบยี บ/กฎหมาย: หรอื รวมกบั หนว ยงานอื่น) 1) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 3. มีการประกนั สขุ ภาพ/อุบัตเิ หตุนักเรยี น 2542 มาตรา 6 4. มีมาตรการปองกัน/การฝกซอม กรณีเด็กติด 2) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรถยนต พุทธศกั ราช 2551 5. มีมาตรการปองกัน/ฝกซอ ม กรณเี ด็กจมน้ำ 3) กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา 6. มีมาตรการปองกัน/ฝกซอม กรณีเด็กถูก พ.ศ. 2561 ไฟฟา ชอ็ ต 4) หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ 7. มีมาตรการปอ งกนั /ฝกซอ ม กรณไี ฟไหม มท 0816.3/ว 2029 ลงวนั ท่ี 24 พฤษภาคม 8. มมี าตรการปอ งกัน/ฝกซอ มภัยอ่นื ๆ 2562 คำอธิบาย: เกณฑการใหคะแนน : ตัวอยางเอกสาร เชน สมุดประจำตัวเด็ก/บันทึก 1. ดำเนนิ การ 3 รายการขนึ้ ไป สุขภาพเด็ก เอกสารการประเมินพัฒนาการดาน 2. ดำเนินการ 2 รายการ รางกายของเด็กวัยเรียน เอกสารการวัด 3. ดำเนินการ 1 รายการ ประเมินผลของสถานศึกษา เชน ปถ.01 , 4. ไมมกี ารดำเนินการ ปถ.04 หรือกิจกรรมโครงการสงเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียน/การปองกันภัยตาง ๆ กิจกรรม หนา เสาธง ๒๙

ตวั ชวี้ ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนทไี่ ด 114 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 114. องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการ 0 1. บันทึกการขออนุญาตไปราชการเพื่อเขารับ สง เสริมสนบั สนุนสถานศึกษาในสงั กัดใหมกี าร การฝกอบรม เกี่ยวกับประกันคุณภาพภายใน ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา สถานศึกษา หรือหลักฐานอื่นที่เขารวมการ มกี ารดำเนนิ การ ดังน้ี ฝก อบรม 1. มีการจัดฝกอบรมหรือจัดสงบุคลากรเขารับ 2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการ การฝกอบรมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา การศกึ ษา 3. แผนการติดตาม/รายงานผลการติดตามท่ี 2. มีการจัดกิจกรรม/ติดตามเกี่ยวกับประกัน เกย่ี วกับการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา 4. รายงานผลการประเมินตนเอง (Self 3. สถานศึกษาทุกแหงมีการรายงานการ Assessment Report : SAR) ร า ย ง า น ก า ร ประเมินตนเอง (Self Assessment Report : ตรวจสอบรายงานผลการประเมินตนเอง(SAR) SAR) ครบทกุ แหง ของสถานศกึ ษาที่ผรู บั ผิดชอบ 4. สำนักหรือกองการศึกษาตรวจสอบรายงาน 5. เสนอผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ต น เ อ ง ( Self Assessment หรือเอกสารหลกั ฐานอื่นทีแ่ สดงเห็นวารายงานฯ Report : SAR) ของสถานศึกษาแลวรายงาน (Self Assessment Report : SAR) ไดรับการ ผูบรหิ าร ตรวจสอบจากตนสงั กัด กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สอื ทเ่ี กยี่ วของ เกณฑก ารใหคะแนน: 1. พระราช บัญญัติการศึกษาแหงชาติ 1. ดำเนนิ การ 2 รายการขนึ้ ไป พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเตมิ 2. ดำเนนิ การ 1 หรือไมม กี ารดำเนินการ 2. กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0816.3/ว 2029 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2562 คำอธิบาย: พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของ กำหนดใหสถานศึกษาทุกแหงในสังกัดองคกรปกครองสวน ทอ งถน่ิ จัดใหม รี ะบบประกนั คุณภาพการศึกษาใหเ ปนไปตามมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ ๓๐

คะแนนเต็ม 35 คะแนนทไ่ี ด หนว ยท่ี 2 ดานงานสง เสรมิ คุณภาพชวี ิต ตวั ชี้วดั ท่ี 105 - 138 จำนวน 34 ตัวชี้วดั จำนวน 170 คะแนน เปาหมาย : องคกรปกครองสวนทองถิ่น สงเสริม สนับสนุนการดำเนินงานดานสาธารณสุขและการปองกันโรคในดานตาง ๆ เพือ่ สรางสขุ ภาวะในทอ งถน่ิ หนว ยยอ ยที่ 2 สาธารณสุข ตัวชี้วัดท่ี 115 - 121 จำนวน 7 ตัวช้ีวัด จำนวน 35 คะแนน ตัวชวี้ ัดที่ 115 – 119 จำนวน 5 ตวั ชี้วดั หนวยงานทรี่ ับผิดชอบ: กองสาธารณสขุ ทอ งถน่ิ ผูรบั ผดิ ชอบ: 1. นายกติ ติพงษ เกิดฤทธิ์ ผอู ำนวยการกองสาธารณสขุ ทองถน่ิ โทร. 08 1292 9595 2. นางสาวสจุ ติ รา ดาวเรือง นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ โทร. 08 1301 3994 3. นางสาวภชั รจ ริ ัสม ธชั เมฆรตั น นักวิเคราะหน โยบายและแผนชำนาญการ โทร. 09 1062 3535 หมายเลขโทรศัพทสำนักงาน 02 241 7225 ตวั ชี้วัดที่ 120 – 121 จำนวน 2 ตัวช้ีวดั หนวยงานทร่ี บั ผิดชอบ: กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข ผูรบั ผดิ ชอบ: นางปรยี านุช บรู ณะภักดี นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพิเศษ โทร. 089-1114937 หมายเลขโทรศัพทสำนกั งาน 02 590 4657 ตัวชว้ี ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนทไี่ ด 115 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 115. จำนวนกิจกรรมที่องคกรปกครองสวน 3 1. แผนพฒั นาสขุ ภาพหรือแผนงานสาธารณสุข ทองถิ่น ดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพผูทำ 1 2. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร หนาท่ดี ูแลสุขภาพในหมูบา น/ชมุ ชน 0 ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชงิ ประจกั ษ (เปดดจู ากเว็บไซตจริง เกณฑก ารใหคะแนน: ในวนั ตรวจประเมินฯ) 1. ดำเนินการ 3 กจิ กรรมข้นึ ไป 3. กิจกรรมที่องคกรปกครองสวนทองถ่ิน 2. ดำเนนิ การ 2 กิจกรรม จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใชจายจากเงิน 3. ดำเนินการ 1 กิจกรรม อุดหนุนท่รี ฐั จดั สรรให 4. ไมม ีการดำเนินการ 4. หนังสือขอความรวมมือจากหนวยงานที่จัด กิจกรรม 5. รายงานผลการดำเนินการเสนอตอผูบริหาร ทองถ่ินเพ่ือรบั ทราบ กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สือท่ีเกีย่ วของ 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยอาสาสมัคร บริบาลทอ งถิ่นขององคกรปกครองสว นทอ งถิน่ 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ท่ี มท 0819.2/ว 6290 ลงวนั ที่ 18 ตลุ าคม 2562 เรื่อง การกำหนดหลักสูตรที่เกี่ยวกับการดูแล ผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในระยะยาว และ หลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข อัตราคาตอบแทน ๓๑

ตวั ชี้วัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทไ่ี ด 115 และการจายคาตอบแทนของอาสมัครบริบาล ทอ งถิ่นขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0819.2/ว 1462 ลงวันท่ี 5 เมษายน 2562 เรื่อง การสงเสริมการเดิน และการใชจักรยานในชวี ิตประจำวนั 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0819.3/ว20668 ลงวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2562 เรื่อง ขอเชิญเจาหนาท่ี และผแู ทนชมุ ชนในสงั กัดเขารว มการฝกอบรม คำอธิบาย : 1. ตัวอยางกิจกรรม เชน การพัฒนาศักยภาพผูนำชุมชนอบรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.)/แกนนำสุขภาพ ในการควบคุมและปองกันโรค การจัดสรรงบประมาณเพื่อเปนคาปวยการใหกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) (เฉพาะองคการบริหารสว นจงั หวดั ) เปน ตน 2. กิจกรรมที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพผูทำหนาที่ดูแลสุขภาพในหมูบาน/ชุมชน ควรมีความครอบคลุม กจิ กรรม 3. ดานสาธารณสุข เชน การปองกนั และควบคุมโรค, การสงเสรมิ สุขภาพ, การรกั ษาโรคเบ้ืองตน, การฟนฟูสภาพผปู ว ย เปนตน 4. ผูท ำหนา ท่ี คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบา น (อสม.) อาสาสมัครประจำครอบครวั (อสค.) ผูน ำองคก รในชมุ ชน ฯลฯ) 5. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) หมายถึง บุคคลที่ไดรับการคัดเลือกจากชาวบานในแตละกลุมบานและไดรับการอบรมตาม หลักสูตรทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ กำหนด มหี นา ท่ี เชน สอ่ื สารใหความรู ขอมูลขาวสารดา นสาธารณสขุ ปอ งกันและควบคุมโรค ฯลฯ 6. อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) หมายถึง คนในครอบครัวแตละครอบครัว หรือเพื่อนบานที่ไดรับการคัดเลือก และผานการฝกอบรมหลักสูตรตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด เชน การดูแลสุขภาพของคนในครอบครัวที่ปวยเปนเบาหวาน โรคเรือ้ รงั ฯลฯ ตัวอยาง ครอบครวั ก มผี ปู วยเปน ภาวะ(ภาวะ = สวนใหญเขา ใจวาเปนโรค) เบาหวาน สามารถถา ยทอดประสบการณของ คนในครอบครัว ไปยงั ครอบครัวอืน่ 7. ผูนำดานสุขภาพ หมายถึงผูที่มีความรูความสามารถในการเปลี่ยนแปลงตนเอง ไปสูการมีสุขภาพที่ดี และสามารถกระตุน ผลักดัน การขับเคลื่อนคนในชุมชนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสูการมีพฤติกรรมที่พึงประสงคทั้ง 4 ดาน ไดแก กาย ใจ สังคม และอารมณ เชน ผนู ำการออกกำลงั กาย ผูน ำกจิ กรรมนันทนาการ ฯลฯ ๓๒

ตวั ช้วี ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 116 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 116. จำนวนกิจกรรมท่ีองคกรปกครอง 3 1. แผนงานสาธารณสขุ (e-LAAS) สวนทองถิ่นดำเนินการเพื่อใหความรูแก 1 2. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร ประชาชนในการสงเสริมสุขภาพ และปองกัน 0 ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ โรค ตรวจสอบในเชงิ ประจกั ษ (เปด ดจู ากเว็บไซตจริง ในวันตรวจประเมนิ ฯ) เกณฑการใหคะแนน: 3. หนังสือขอความรวมมือจากหนวยงานท่ี 1. ดำเนนิ การ 3 กจิ กรรมขึ้นไป จดั กิจกรรม 2. ดำเนนิ การ 2 กิจกรรม 4. รายงานผลการดำเนินการเสนอตอผูบริหาร 3. ดำเนนิ การ 1 กิจกรรม ทองถนิ่ เพ่อื รบั ทราบ 4. ไมมกี ารดำเนินการ คำอธบิ าย : กรณีไมไดใชเงินงบประมาณขององคกรปกครอง สวนทอ งถนิ่ ใหตรวจสอบรายงานผลการดำเนนิ การ ทีเ่ สนอตอผบู รหิ ารทอ งถิ่น ๓๓

ตัวช้วี ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 117 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 117. จำนวนกิจกรรมที่องคกรปกครองสวน 3 1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS) ทองถิ่นดำเนินการสงเสริมสุขภาพ การปองกัน 1 2. ภาพถายกิจกรรม (ไมใ ชก ิจกรรมเฉพาะบุคคล) และควบคุมโรคตาง ๆ รวมถึงการเตรียม 0 3. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร ความพรอมการรับมือโรคติดตอโรคอุบัติใหม ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ ใหแ กป ระชาชน (ไมใ ชการใหความร)ู ตรวจสอบในเชงิ ประจักษ (เปด ดูจากเวบ็ ไซตจริง ในวนั ตรวจประเมินฯ) เกณฑก ารใหค ะแนน: 4. รายงานผลการดำเนินการ เสนอตอผูบริหาร 1. ดำเนนิ การ 3 กิจกรรมขึ้นไป ทองถิ่นเพอ่ื รบั ทราบ 2. ดำเนินการ 2 กจิ กรรม กฎหมาย/ระเบยี บและหนังสอื ทีเ่ กย่ี วขอ ง 3. ดำเนนิ การ 1 กิจกรรม 1. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน 4. ไมม กี ารดำเนินการ ดวนที่สุด ที่ มท 0819.3/ว 4300 ลงวันที่ 21 ตลุ าคม 2562 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0819.3/ว 2320 ลงวันท่ี 13 มถิ ุนายน 2562 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ดวนที่สุด ที่ มท 0810.5/ว 1941 ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2561 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท0819.3/ว 3811 ลงวนั ที่ 20 กนั ยายน2562 5. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ท่ี มท 0810.5/ว 4052 ลงวนั ท1ี่ 4 ธนั วาคม 2561 6. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0819.3/ว 4381 ลงวันท่ี 28 ตลุ าคม 2562 7. คมู อื แนวทางการดำเนนิ งานของหนวยงานจดั การ อบรมผปู ระกอบกจิ การและผูสัมผัสอาหาร 8. คูมือพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และท่ีแกไขเพ่มิ เตมิ ๓๔

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนทไี่ ด คำอธิบาย 1. การนับจำนวนกิจกรรมหากใน 1 โครงการ มีหลายกิจกรรมใหนับเปนรายกิจกรรม เชน มีการจัดทำโครงการเพื่อสงเสริมสุขภาพ การปอ งกันและควบคมุ โรคตาง ๆ โดยโครงการดังกลาวประกอบดวยหลายกิจกรรม เชน การฉีดวัคซีนปองกนั โรคตาง ๆ การฉีดพนหมอก ควัน การกำจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย การฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา การตรวจสุขภาพ การจัดการขยะมูลฝอย การปองกันโรคขาดสาร ไอโอดีน การคัดกรองโรคไมต ิดตอ การตรวจหามะเรง็ เตา นม การใหบ ริการดานทนั ตกรรม เปนตน สามารถแยกนับเปนรายกจิ กรรมได 2. โรคติดตอ หมายถึง โรคที่เกิดจากเชื้อโรค หรือพิษของเชื้อโรค ซึ่งสามารถแพรไดโดยตรงหรือทางออมมาสูคน เชน โรคพิษสุนัขบา (สตั วสคู น) โรคตาแดง โรคไขหวัดใหญ ฯลฯ 3. โรคไมติดตอ หมายถึง กลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง กลุมโรคที่ไมไดมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไมไดเกิดจากเชื้อโรค ไมสามารถติดตอได ผานการสัมผัส หรือติดตอผานตัวนำโรค (พาหะ) หรือเปนโรคที่ไมติดตอจากคนหนึ่งไปสูอีกคนหนึ่งไดโดยการคลุกคลี สัมผัส ไอ จาม น้ำ อาหาร อุจจาระ ปสสาวะ เพศสัมพันธ แตอาจถายทอดทางพันธุกรรมได หรือการดำเนินชีวิตประจำวัน เชน การดื่ม สูบบุหร่ี ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด อาหารหวาน มัน และเค็ม ตัวอยางเชน โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลม โปงพอง โรคมะเร็ง และโรคอว นลงพุง 4. โรคอุบัติใหม หมายถึง (Emerging Infectious Diseases) โรคติดเชื้อชนิดใหมๆ ที่มีรายงานผูปวยเพิ่มขึ้นในระยะประมาณ 20 ปที่ผานมา หรือโรคติดเชื้อที่มีแนวโนมที่จะพบมากขึ้น ในอนาคตอันใกล รวมไปถึงโรคที่เกิดขึ้นใหมในที่ใดที่หนึ่ง หรือโรคที่เพิ่งจะ แพรร ะบาดเขาไปสอู กี ท่หี น่ึงละยังรวมถงึ โรคตดิ เช้ือทเ่ี คยควบคมุ ไดดว ยยาปฏิชีวนะแตเ กดิ การด้ือยา 5. โรคติดตอที่เกิดจากเชื้อใหม (new infectious diseases) เชน โรคซารส ไขหวัดนก ไขหวัดใหญสายพันธุใหม h1n1 2009 ไขสมองอักเสบนปิ าหไวรัส 6. โรคติดตอที่พบในพื้นที่ใหม (new geographical areas) เปนโรคที่มาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง หรือขามทวีป เชน โรคเวสตไ นลไ วรสั 7. โรคติดตออุบัติซ้ำ (re-emerging infectious diseases) คือ โรคติดตอที่เคยระบาดในอดีต และสงบไปนานแลว แตกลับมาระบาดอีก เชน ไขช ิคุนกนุ ยา 8. เช้อื โรคดอ้ื ยา (antimicrobial resistant organism) เชน วณั โรคดื้อยา 9. ตวั อยางรางขอ บัญญัตทิ อ งถ่ินตามพระราชบญั ญตั ิการสาธารณสขุ พ.ศ. 2563และท่แี กไขเพิ่มเติม 10. แนวทางการควบคมุ กจิ การท่เี ปนอนั ตรายตอ สขุ ภาพฯ (ฉบับปรับปรุง) 11. คมู ือการปฏิบตั งิ านตามพระราชบญั ญตั ิการสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 (SOP) ๓๕

ตัวช้วี ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนทไี่ ด 118 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 118. การบริหารจัดการการปองกันโรคพิษ 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย สุนขั บา ในทองถ่ิน ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 มกี ารดำเนนิ การ ดงั นี้ 2. แผนงานดา นเศรษฐกิจ (e-LAAS) 1. มีฐานขอ มูลจำนวนสุนขั และแมวในพนื้ ที่ 3. มีการเผยแพรทางเว็บไซตขององคกร 2. มีการจัดทำขอบัญญัติทองถิ่น/เทศบัญญัติ ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ ทองถิ่น เพื่อควบคุมการเลี้ยงและปลอยสัตวในท่ี ตรวจสอบในเชิงประจกั ษ (เปดดูจากเวบ็ ไซตจริง สาธารณะ ในวันตรวจประเมินฯ) 3. มกี ารฉดี วคั ซีนปอ งกนั โรคพิษสนุ ัขบา ในสตั ว 4. เอกสารหรือฐานขอ มลู Rabies One Data 4. มีการจัดสวัสดิภาพสัตว (จัดใหมีสถาน 5. วัสดุ อุปกรณ ในระบบลูกโซความเย็น เชน สงเคราะหสัตวหรือสงตอไปยังสถานสงเคราะห ตูเย็นเก็บวัคซีน เทอรโมมิเตอร กระติก สตั วอืน่ ) กลอ งโฟม Ice pack Data Logger 5. มีการจัดใหมีระบบลูกโซความเย็น กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือทเี่ กี่ยวของ (Cold Chain system) สำหรับวัคซีนปองกัน 1. พระราชบัญญตั โิ รคตดิ ตอ พ.ศ. 2558 โรคพษิ สุนขั บา 2. พระราชบญั ญตั โิ รคพษิ สนุ ัขบา พ.ศ. 2535 6. มีการทำหมันสุนัขและแมวที่ไมมีเจาของ 3. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หรือดอยโอกาสหรือเปนกลุมเสี่ยงตอการเกิด และทีแ่ กไขเพ่ิมเติม โรคพษิ สนุ ขั บา 4. พระราชบัญญัติการจัดสวัสดิภาพสัตว พ.ศ. 2557 เกณฑก ารใหคะแนน: 5. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจาย 1. ดำเนนิ การ 5 – 6 ขอ 5 ในการจัดสวัสดิภาพสัตวขององคกรปกครอง 2. ดำเนินการ 3 - 4 ขอ 3 สวนทอ งถิ่น พ.ศ. 2562 3. ดำเนินการ 1 – 2 ขอ 1 6. คูมือแนวทางการบริหารจัดการสถาน 4. ไมม กี ารดำเนินการ 0 สงเคราะหส ตั ว 7. คูมือการบริหารจัดการวัคซีนปองกันโรค พิษสุนัขบาในสัตวสำหรับองคกรปกครอง สวนทอ งถนิ่ คำอธิบาย : 1. ระบบลูกโซความเย็น (Cold Chain system)หมายถึง ระบบการจัดการที่จะทำใหวัคซีนอยูในอุณหภูมิที่ถูกตองเหมาะสมตลอดเวลา ทง้ั ในขณะจดั เก็บและกระบวนการขนสง วัคซนี และรวมถึงขน้ั ตอนในขณะใหบ ริการท่ตี องนำวคั ซีนท่ีมีอยูในสภาพท่เี หมาะสมเขาสูรางกาย สัตวดวยเหตุทว่ี คั ซนี ไวตอความรอ นความเยน็ จดั และตองเกบ็ ในอณุ หภูมทิ ่ีถกู ตอง ต้งั แตผ ผู ลติ จนถึงผูใช +2 ถึง +8 องศาเซลเซยี ส 2. วัคซีน หมายถึง วัคซีนปอ งกันโรคพษิ สุนัขบา ในสตั ว 3. Ice Pack หมายถงึ ภาชนะพลาสติกท่ีมีเจลขางใน จะแชแ ขง็ ในชองแข็ง เอาไวใ ชเหมือนนำ้ แขง็ 4. Data logger หมายถึง อุปกรณที่ใชบันทึกอุณหภูมิ ซึ่งมีโปรแกรมที่ใชกำหนดการทำงาน โดยมี Sensor ที่ใชวัดและบันทึกอุณหภูมิ ในชวงตั้งแต - 40 องศาเซลเซียส ขนึ้ ไป 5. กรณีการดำเนินการขององคการบริหารสว นจังหวดั ในการจัดตั้งศูนยพ ักพิงสัตวแ ละมีการดำเนินการในศนู ย เชน การฉีดวัคซีน การทำ หมันสนุ ขั ใหได 5 คะแนน ๓๖

ตวั ชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนทไี่ ด 119 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 119. จำนวนหนวยบริการสาธารณสุขที่องคกร 3 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย ปกครองสวนทองถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุน 1 ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในการดแู ลสขุ ภาพประชาชน 0 2. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS) มกี ารดำเนนิ การ ดังน้ี 3. ภาพถา ยกิจกรรม ๑. มีหนวยบริการสาธารณสุขขององคกร 4. หนงั สือขอรบั การสนบั สนุน ปกครองสวนทองถิน่ กฎหมาย/ระเบียบและหนังสอื ทเี่ ก่ยี วของ ๒. สนบั สนนุ หนว ยบริการสาธารณสุขอื่นในการ 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินบำรุง ตรวจสขุ ภาพของประชาชน โรงพยาบาลและหนวยบริการสาธารณสุขของ ๓. สนับสนุน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ องคกรปกครองสวนทองถิ่น (ฉบับที่ 2) หมูบาน (อสม.) ใหบริการครบทุกหมูบาน/ พ.ศ. 2561 ชมุ ชน 2. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 4. มีการบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่ทั้งในสวน ท่ี มท 0810.8/ว 12 ลงวนั ที่ 3 มกราคม 2562 ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือรวมกับ 3. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน หนวยบริการสาธารณสขุ อนื่ ดวนที่สุด ที่ มท 0810.5/ว 81 ลงวันท่ี 9 มกราคม 2562 เกณฑก ารใหคะแนน: 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 1. ดำเนินการ 3 - 4 ขอ ดวนที่สุด ที่ มท 0810.5/ว 3204 ลงวันที่ 2. ดำเนนิ การ 2 ขอ 9 ตุลาคม 2561 3. ดำเนนิ การ 1 ขอ 4. ไมม ีการดำเนนิ การ คำอธิบาย: 1. หนวยบริการสาธารณสุข หมายถึง สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะ ซึ่งจัดไวเพื่อการ ประกอบโรคศิลปะ เชน โรงพยาบาล สถานีอนามัย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพประจําตาํ บล ศนู ยการแพทย คลนิ ิกอบอนุ ศูนยบริการสาธารณสุข ศูนยสุขภาพ ชุมชน หรือสถานบริการสาธารณสุขที่เรียกชื่ออยางอื่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งใหบริการแกประชาชนทั่วไป หรือ สถานพยาบาลที่ดำเนินการโดยกระทรวง ทบวง กรม องคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาของรัฐ หนวยงานอื่น ของรัฐ และสภากาชาดไทย สถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล หนวยบริการตามกฎหมายวาดวยหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ และหนวยบริการอืน่ ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ขอมูลปจจุบัน: มีสถานีอนามัย/โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ถายโอนมาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น จำนวน 57 แหง ใน 24 จังหวดั ๓๗

ตัวช้วี ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทไ่ี ด 120 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 120. องคกรปกครองทองถิ่นผานการ 1. เอกสารการสมัครเขารวมโครงการพัฒนา ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ ภ า พ ร ะ บ บ บ ร ิ ก า ร อ น า มั ย คณุ ภาพระบบบรกิ ารอนามยั สงิ่ แวดลอม สิ่งแวดลอม ดานการจัดการสขุ าภบิ าลอาหาร 5 2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบประเมิน และดานการจัดการคณุ ภาพนำ้ บริโภค 3 มาตรฐ านคุณภาพระบบบริการอนามัย เกณฑก ารใหคะแนน : 1 สงิ่ แวดลอ มองคกรปกครองทอ งถิ่น 1. ผา นการประเมินระดบั เกยี รตบิ ัตร 1-2 ดาน 0 3. เอกสารแบบประเมนิ มาตรฐานคุณภาพระบบ 2. ผา นการประเมินระดบั พนื้ ฐาน 1-2 ดา น บริการอนามัยสิ่งแวดลอมองคกรปกครอง ทองถิ่นแตละดานที่มีการลงลายมือชื่อจาก 3. มีการสมัครเขารวมอยางนอย 1 ดาน คณะกรรมการ มีผลการประเมินตนเอง และมีผลการประเมิน 4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐาน จากคณะกรรมการ (กรณีประเมนิ ไมผ า น) คุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดลอม 4. ไมสมัครเขารวมโครงการพัฒนาคุณภาพ องคกรปกครองทองถิ่นที่มีลายมือชื่อจาก ระบบบรกิ ารอนามัยสิ่งแวดลอม คณะกรรมการ คำอธิบาย : 1. ถาองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ ใดทไี่ มสมคั รเขา รบั การประเมนิ คณุ ภาพระบบบริการอนามัยสง่ิ แวดลอ มไมต องประเมนิ 2. องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ ที่มคี ณุ ภาพระบบบริการดานอนามัยส่งิ แวดลอ ม ไดแก 2.1 การจัดการสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง การบริหารจัดการและควบคุมสิ่งแวดลอมรวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวของกับกิจกรรมอาหาร เพื่อทำใหอาหารสะอาด ปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค หนอนพยาธิและสารเคมีตางๆ ที่เปนอันตราย หรืออาจจะเปนอันตรายตอการ เจริญเติบโตของรางกาย สุขภาพอนามัย และการดำรงชวี ตขิ องผูบรโิ ภค กระบวนการการจัดการสขุ าภบิ าลอาหาร แบงเปน 3 กลุม ไดแ ก - การจดั การสขุ าภิบาลอาหารในสถานทจ่ี ำหนายและสะสมอาหาร (EHA 1001) - การจดั การสขุ าภบิ าลอาหารในตลาด (EHA 1002) - การจดั การสขุ าภบิ าลอาหารในการจำหนายสนิ คาในทท่ี างสาธารณะ (EHA 1003) 1.2 การจัดการคุณภาพนำ้ บริโภค หมายถงึ การบริหารจัดการน้ำใหสะอาดปลอดภยั ปราศจากเชื้อโรคไมม สี ารละลายและสิ่งเจือปนตางๆ ท่ีเปนอนั ตรายหรืออาจเปนอันตรายตอผูบ ริโภคทั้งดานกายภาพ เคมแี ละชีววิทยาตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ำบรโิ ภค สามารถปองกัน การเจ็บปว ยจากโรคที่เกดิ จากน้ำเปน สอ่ื ได กระบวนการการจดั การคุณภาพนำ้ บรโิ ภค แบง เปน 3 กลมุ ไดแก - การจัดการคณุ ภาพนำ้ ประปา (ผลติ โดยองคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ ) (EHA 2001) - การจัดการคุณภาพน้ำประปา (ผลิตโดยหนว ยงานอืน่ ) (EHA 2002) - การจัดการคณุ ภาพตนู ้ำหยอดเหรียญ น้ำดื่มบรรจขุ วด (EHA 2003) 3. คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการตรวจประเมนิ คุณภาพจากหนว ยงานกรมอนามัย ศูนยอ นามัยท่ี 1 - 12 สำนกั งานสาธารณสุข จงั หวดั (สสจ.) สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอ (สสอ.) หรือโรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตำบล (รพ.สต.) 4. การตรวจประเมนิ คุณภาพระบบบริการอนามยั สิ่งแวดลอมขอใหพ จิ ารณา ดงั นี้ 4.1 ในกรณีองคกรปกครองสว นทองถิ่นผานการประเมินในระดับเกียรติบัตร (5 คะแนน) และหรือระดับพืน้ ฐาน (3 คะแนน) ดา นใดดานหนึ่ง หรือทั้ง 2 ดานแลว สามารถใชผลคะแนนดังกลาวได 3 ปนับตั้งแตวันที่ไดรับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการและไมตองสมัครใหมในปถัดไป แตตอง จัดเตรียมเอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดลอม องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีการลงลายมือชื่อจาก คณะกรรมการในปที่ขอรับการประเมิน (หรือในกรณีเทศบาล/เมืองพัทยาที่ผานการรับรองแตไมมีเอกสารสรุปผลการประเมินฯ ใหใชเอกสารใบรับรอง คุณภาพระบบบริการอนามยั สิ่งแวดลอ ม) เพื่อเปนหลกั ฐานในการตรวจใหค ะแนนของทีมประเมินประสิทธภาพขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ (LPA) 4.2 หากองคก รปกครองสว นทองถิ่นท่ีผานการประเมินในระดับพ้นื ฐานตามขอ 4.1 แลว ตองการทจ่ี ะประเมนิ ใหมเ พ่ือปรับปรุงคุณภาพระบบบริการ อนามยั สงิ่ แวดลอมขององคกรปกครองสว นทองถนิ่ ไปสูร ะดบั เกียรตบิ ตั รจะตองสมคั รเขา โครงการเฉพาะดานทจี่ ะขอประเมนิ ใหม ๓๘

ตัวช้ีวดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 121 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 121. องคกรปกครองทองถิ่นผานการ 1. เอกสารการสมัครเขารวมโครงการพัฒนา ประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัย คณุ ภาพระบบบรกิ ารอนามยั ส่ิงแวดลอม สิ่งแวดลอม ดานการจัดการสิ่งปฏิกูล และ 2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบประเมิน ดานการจัดการมลู ฝอย มาตรฐ านคุณภาพระบบบริการอนามัย สง่ิ แวดลอ มองคกรปกครองทอ งถ่ิน เกณฑการใหค ะแนน : 3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคณุ ภาพระบบ 1. ผานการประเมินระดบั เกยี รตบิ ตั ร 1-2 ดา น 5 บริการอนามัยสิ่งแวดลอมองคกรปกครอง 2. ผา นการประเมนิ ระดับพน้ื ฐาน 1-2 ดาน 3 ทองถิ่นแตละดานท่ีมีการลงลายมือชื่อจาก 3. มีการสมัครเขารวมอยางนอย 1 ดาน มีผล 1 คณะกรรมการ การประเมินตนเอง และมีผลการประเมินจาก 4. เอกสารสรุปผลการประเมนิ มาตรฐานคุณภาพ คณะกรรมการ (กรณีประเมนิ ไมผาน) ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดลอมองคกรปกครอง 4. ไมสมัครเขารวมโครงการพัฒนาคุณภาพ 0 ทอ งถ่นิ ท่ีมีลายมือชอื่ จากคณะกรรมการ ระบบบริการอนามยั สิง่ แวดลอ ม คำอธิบาย : 1. ถาองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ใดที่ไมส มัครเขา รับการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยส่ิงแวดลอ มไมต องประเมิน 2. องคกรปกครองสว นทองถิน่ ทมี่ ีคณุ ภาพระบบบรกิ ารดานอนามัยส่งิ แวดลอม ไดแ ก 1.1 การจัดการสิ่งปฏิกูล หมายถึง กระบวนการดำเนินการตั้งแตระบบการรองรับ การเก็บ การขน และการกำจัดสิ่งปฏิกูล เพื่อลดการ กอใหเ กดิ โรค และลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอ ม กระบวนการการจัดการส่งิ ปฏกิ ูล แบงเปน 2 กลุม ไดแ ก - การจดั การสว มสาธารณะ (EHA 3001) - การจัดการสิ่งปฏิกลู (EHA 3002) 1.2 การจัดการมูลฝอย หมายถึง กระบวนการดำเนินการตั้งแตการลดปริมาณ/การคัดแยก การเก็บขน การบำบัดหรือการกำจัดมูลฝอย ใหถูกสุขลกั ษณะและเปนไปตามขอกำหนด หลักเกณฑ มาตรฐานที่เกยี่ วของ และกฎหมายทก่ี ำหนด กระบวนการการจัดการมลู ฝอย แบงเปน 3 กลมุ ไดแ ก - การจดั การมูลฝอยทั่วไป (EHA 4001) - การจดั การมลู ฝอยติดเช้ือ (EHA 4002) - การจัดการมลู ฝอยทีเ่ ปนพษิ หรืออันตรายจากชุมชน (EHA 4003) 3. คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพจากหนวยงานกรมอนามยั ศนู ยอ นามยั ท่ี 1 -12 สำนกั งานสาธารณสุข จังหวัด (สสจ.) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) หรอื โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตำบล (รพ.สต.) 4. การตรวจประเมินคณุ ภาพระบบบรกิ ารอนามยั สิ่งแวดลอ มขอใหพ ิจารณา ดงั นี้ 4.1 ในกรณีองคกรปกครองสวนทองถิ่นผานการประเมินในระดับเกียรติบัตร (5 คะแนน) และหรือระดับพื้นฐาน (3 คะแนน) ดานใด ดานหนึ่ง หรือทั้ง 2 ดานแลว สามารถใชผลคะแนนดังกลาวได 3 ปนับตั้งแตวันที่ไดรับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการและไมตอง สมัครใหมในปถ ัดไป แตตองจัดเตรียมเอกสารสรปุ ผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบรกิ ารอนามัยสิง่ แวดลอม องคกรปกครองสว น ทองถิน่ ท่ีมีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการในปท ่ีขอรับการประเมิน (หรอื ในกรณีเทศบาล/เมืองพทั ยาท่ีผา นการรับรองแตไมมีเอกสาร สรุปผลการประเมินฯ ใหใชเอกสารใบรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดลอม) เพื่อเปนหลักฐานในการตรวจใหคะแนนของทีม ประเมนิ ประสิทธภาพขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ (LPA) 4.2 หากองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ผานการประเมินในระดับพื้นฐานตามขอ 4.1 แลว ตองการที่จะประเมินใหมเพื่อปรับปรุง คณุ ภาพระบบบรกิ ารอนามัยส่ิงแวดลอมขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ไปสรู ะดับเกยี รตบิ ตั รจะตองสมัครเขาโครงการเฉพาะดา นที่จะขอ ประเมนิ ใหม ๓๙

คะแนนเตม็ 20 คะแนนทไี่ ด หนว ยที่ 2 ดา นงานสง เสรมิ คณุ ภาพชีวิต ตัวช้ีวดั ท่ี 105 – 138 จำนวน 34 ตวั ช้วี ัด จำนวน 170 คะแนน หนว ยยอยท่ี 3 คณุ ภาพชีวิตยคุ โควดิ 19 ตัวชี้วัดท่ี 122 – 125 จำนวน 4 ตัวชว้ี ัด จำนวน 20 คะแนน เปาหมาย: เพอ่ื ปอ งกันและควบคุมโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 ((Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) ตามนโยบายของรัฐบาลและแกป ญหาในพื้นที่ในระบบองครวมในการพัฒนาทอ งถ่ินตามหนา ท่ีและอำนาจขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ หนว ยงานทร่ี บั ผิดชอบ: กลมุ งานสงเสริมการบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทดี่ ีทองถ่นิ กองพฒั นาและสงเสรมิ การบริหารงานทองถ่ิน ผรู ับผิดชอบ : 1. นางสาวลดั ดาวรรณ นอยอรุณ ผอู ำนวยการกลุมงานสงเสริมการบริหารกิจการบา นเมอื งทีด่ ีทองถนิ่ โทร. 08 4941 5414 2. นายสุรยิ ะ หินเมืองเกา นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการ โทร. 06 4951 5885 3. นายโสพรรณ สบื บตุ ร นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชำนาญการ โทร. 08 4493 4268 4. นายโพธริ ตั น รตั นพันธ นกั วิเคราะหนโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ โทร. 08 5661 1731 5. นางสาวชนเนษฎ แกว พุฒ พนักงานวเิ คราะหนโยบายและแผน โทร. 09 5669 3645 หมายเลขโทรศพั ทสำนักงาน 02 241 9000 ตอ 2312,2322 ตวั ช้ีวัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 122 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 122. องคกรปกครองสวนทองถิ่นดำเนินการ 1.ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย/ สำหรับผูถูกกักกันในการดำเนินการปองกันและ การใชจายเงินสะสม ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรค 2563 หรือรายจายที่เกิดจากการโอนตั้งจายเปน โควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID รายการใหม หรือโอนงบประมาณเพิม่ -19)) 2. ภาพถายการดำเนินการจริงที่ตรวจสอบไดกับ มกี ารดำเนินการ ดังน้ี งบประมาณรายจา ย 1. กรณีผูเขาขายติดเชื้อซึ่งไดรับการคัดกรองจาก 3. การรายงานผลตอผบู ริหารทอ งถ่ินหรือผูกำกับดแู ล จังหวัดไดดำเนินการใชรถยนตสวนกลางรับไปสงยัง กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สือทเ่ี กี่ยวของ โรงพยาบาล 1. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคา ใชจายเพ่ือ 2. กรณีผูที่ตองเฝาระวังและสังเกตอาการไดใชรถ ชวยเหลือประชาชนตามอำนาจหนาที่ขององคกร สวนกลางรับไปสงยังสถานที่พัก หรือพื้นที่ควบคุมที่ ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2560 และที่แกไข จดั ให เพิ่มเติมถงึ ฉบบั ปจ จุบัน 3. กรณีสำหรับผูที่อยูในสถานที่กักกันรวมได 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท ดำเนินการเบกิ จา ยคาอาหาร 0808.2/ว 2715 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 4. กรณีการชวยเหลือในดานคุณภาพชีวิต ได 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท ดำเนินการชวยเหลือประชาชนผูมีรายไดนอยที่ไดรบั 0808.2/ว 2120 ลงวันที่ 9 เมษายน 2563 ผลกระทบโดยชว ยเหลือคาเคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภค 4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 1842 ลงวนั ที่ 26 มีนาคม 2563 เกณฑก ารใหค ะแนน : 5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 1. ดำเนินการ 3 - 4 ขอ 5 0808.2/ว 0767 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ 2563 2. ดำเนินการ 2 ขอ 3 คำอธบิ าย: 3. ดำเนนิ การ 1 ขอ 1 ประเมินทุกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไมสามารถ 4. ไมมกี ารดำเนนิ การ 0 ตัดฐานการประเมินได เวนแตสำหรับในพื้นที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นไมมีการดำเนินการ กกั กันหรือควบคุม ใหตดั ฐานการประเมินได ๔๐

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 5 123 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 123. องคกรปกครองสวนทองถิ่นดำเนินการ 3 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย/ สำหรับสถานที่กักกันหรือควบคุมในการดำเนินการ 1 การใชจายเงินสะสม ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 0 2563 หรือรายจายที่เกิดจากการโอนตั้งจายเปน หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 รายการใหม หรือโอนงบประมาณเพ่ิม (COVID-19)) 2. ภาพถายการดำเนินการจริงที่ตรวจสอบไดกับ มีการดำเนนิ การ ดังนี้ งบประมาณรายจา ย 1. มีคาใชจายคาจัดทำความสะอาด ฆาเชื้อ สถานที่ 3. การรายงานผลตอผูบริหารทองถิ่นหรือผูกำกับ พักของผปู ว ยโรคติดตอ /ทสี่ าธารณะ ดูแล 2. มีคาใชจายคาปรับปรุงสถานที่ราชการเพื่อเปน กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือท่เี ก่ียวขอ ง สถานที่ปองกันและควบคุมโรค เชน โรงเรียน 1. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจายเพื่อ มหาวทิ ยาลัย ฯลฯ ชวยเหลือประชาชนตามอำนาจหนาที่ขององคกร 3. มีคาใชจายคาเชาสถานที่เอกชนเพื่อเปนสถานที่ ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2560 และที่แกไข ปองกันและควบคุมโรค เชน โรงแรม อพารทเมนท เพ่มิ เติมถงึ ฉบับปจจบุ นั ฯลฯ 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 4. มีคาใชจายอื่นที่จำเปนที่เกี่ยวของกับการ 0808.2/ว 2715 ลงวนั ที่ 13 พฤษภาคม 2563 ดำเนินงานของสถานท่คี วบคมุ 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท (ระบุดวยวา ใชจ ายอะไร....................) 0808.2/ว 2120 ลงวันที่ 9 เมษายน 2563 4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท เกณฑการใหคะแนน: 0808.2/ว 1842 ลงวนั ที่ 26 มีนาคม 2563 1. ดำเนนิ การ 3 - 4 ขอ 5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนท่ีสุด ที่ มท 2. ดำเนินการ 2 ขอ 0808.2/ว 0767 ลงวันที่ 5 กุมภาพนั ธ 2563 3. ดำเนนิ การ 1 ขอ คำอธิบาย: 4. ไมม ีการดำเนนิ การ 1. กรณีมีคาใชจายอื่นที่จำเปนที่เกี่ยวของกับการ ดำเนินงานของสถานที่ควบคุมมีมากกวา 1 รายการ หรือกิจกรรมที่ดำเนินการใหนับเปนการดำเนินการได 2 ขอ และใหทีมประเมินระบุคาใชจายที่เกิดขึ้นวา มีอะไรบา งและจำนวนงบประมาณทใี่ ชไปจรงิ ดวย 2. ประเมินทุกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไมสามารถตัดฐานการประเมินได เวนแตสำหรับใน พื้นที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไมมีการ ด ำ เ น ิ น ก า ร ส ำ หร ั บ ส ถ า น ท ี ่ ก ั ก ก ั น หร ื อค วบคุ ม ใหตัดฐานการประเมิน ๔๑

ตัวช้วี ัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนท่ไี ด 5 124 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 124. องคกรปกครองสวนทองถิ่นดำเนินการ 3 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย/ สำหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในการดำเนินการ 1 การใชจายเงินสะสม ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 0 2563 หรือรายจายที่เกิดจากการโอนตั้งจายเปน หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 รายการใหม หรือโอนงบประมาณเพ่มิ (COVID-19)) 2. ภาพถายการดำเนินการจริงที่ตรวจสอบไดกับ มกี ารดำเนนิ การ ดังน้ี งบประมาณรายจาย 1. มีคาปวยการชดเชยการงานของ อ.ป.พ.ร./คาเบ้ีย 3. การรายงานผลตอผูบริหารทองถิ่นหรือผูกำกับ เลย้ี งสำหรบั เจา หนา ที่ปฏิบัติงานในสถานทคี่ วบคมุ ดแู ล 2. จัดใหมีครุภัณฑที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน เครื่อง กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สอื ท่ีเก่ยี วขอ ง ตรวจวดั อณุ หภมู ิ เคร่อื งพน ยาฆา เช้อื โรค 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคาใชจายเพื่อ 3. มียา/เวชภัณฑที่ไมใชยา วัสดุอุปกรณที่ใชสำหรบั ชวยเหลือประชาชนตามอำนาจหนาที่ขององคกร ปฏบิ ัติหนา ท่ี ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2560 และที่แกไข 4. จัดใหมีเครื่องแตงกาย วัสดุอื่นท่ีจำเปนตองใชใน เพ่มิ เติมถงึ ฉบับปจ จบุ นั การปฏบิ ัติงาน เชน ถุงมือยาง ผา ปดจมูก ฯลฯ 2. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 5. จัดใหมีคาอาหารสำหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานใน 0808.2/ว 2715 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 สถานที่ผูปฏิบัติงานในสถานที่ควบคุม/กักกัน (ตอง 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท ไมซ ้ำซอนกบั คาเบี้ยเล้ยี ง) 0808.2/ว 2120 ลงวนั ที่ 9 เมษายน 2563 4. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท เกณฑก ารใหค ะแนน: 0808.2/ว 1842 ลงวนั ที่ 26 มนี าคม 2563 1. ดำเนินการ 4 - 5 ขอ 5. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 2. ดำเนินการ 3 ขอ 0808.2/ว 0767 ลงวนั ที่ 5 กมุ ภาพันธ 2563 3. ดำเนินการ 1-2 ขอ คำอธบิ าย: 4. ไมม ีการดำเนนิ การ 1. กรณีการดำเนินการไมตรงกับการดำเนนิ การขอ 1-5 แตเปนการดำเนินการในลักษณะหรือคลา ย ๆ กนั ใหเทียบเคยี งเพือ่ ใหค ะแนนไดตามเกณฑการให คะแนนทก่ี ำหนดไว 2. ประเมินทุกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไมส ามารถตดั ฐานการประเมินได ๔๒

ตัวชีว้ ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 5 125 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 125. องคกรปกครองสวนทองถิ่นดำเนินการ 3 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย/ ชวยเหลือสำหรับผูที่ไดรับผลกระทบจากมาตรการ 1 การใชจายเงินสะสม ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ตาง ๆ ที่เกิดจากการแพรระบาดเชื้อไวรัส โคโรนา 0 2563 หรือรายจายที่เกิดจากการโอนตั้งจายเปน 2019 ในการดำเนนิ การปองกันและควบคุมโรคตดิ รายการใหม หรือโอนงบประมาณเพิม่ เชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 2. ภาพถายการดำเนินการจริงที่ตรวจสอบไดกับ (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) งบประมาณรายจา ย มีการดำเนนิ การ ดังน้ี 3. การรายงานผลตอผูบริหารทองถิ่นหรือผูกำกับ 1. มใี ชจ า ยดา นแรงงานหรือคาใชจา ยจางเหมาบริการ ดูแล (ระบดุ วยวาใชจ า ยอะไร....................) กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือที่เก่ยี วขอ ง 2. มีการชวยเหลือประชาชนในดานคุณภาพชีวิตอัน 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยคา ใชจา ยเพ่ือ เกดิ จากไดร ับผลกระทบ ผูมรี ายไดนอ ย เชน คา เคร่ือง ชวยเหลือประชาชนตามอำนาจหนาที่ขององคกร อปุ โภคบริโภค ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2560 และที่แกไข 3. มกี ารชว ยเหลือประชาชนในดา นคุณภาพชีวติ อันเกดิ เพมิ่ เติม ขอ 9 ขอ 12 และขอ 16 (2) จากไดรับผลกระทบ ผูมีรายไดน อยในดา นการครองชีพ 2. ระเบียบกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการวาดวย ตามความจำเปนทีไ่ มใชข อ 2. การสงเคราะหครอบครัวผูม ีรายไดนอ ยและผไู รที่พ่ึง พ.ศ. 2552 ขอ 7 และขอ 8 เกณฑการใหคะแนน: 3. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 1. ดำเนินการครบ 3 ขอ 0808.2/ว 2715 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 เร่ือง 2. ดำเนินการ 2 ขอ ซักซอ มแนวทางการใหค วามชวยเหลือประชาชนดวยการ 3. ดำเนินการ 1 ขอ สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตขององคกรปกครอง 4. ไมม ีการดำเนนิ การ สวนทองถิ่น กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควทิ -19) คำอธิบาย: ประเมินทุกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไมสามารถ ตดั ฐานการประเมินได ๔๓

คะแนนเต็ม 10 คะแนนท่ไี ด หนว ยที่ 2 ดา นงานสงเสรมิ คุณภาพชีวติ ตวั ช้ีวดั ที่ 105 – 138 จำนวน 34 ตัวชี้วัด จำนวน 170 คะแนน หนวยยอ ยท่ี 3 สงเสริมสตรีและครอบครัว ตัวชว้ี ดั ที่ 126 – 127 จำนวน 2 ตวั ชวี้ ัด จำนวน 10 คะแนน หนวยงานที่รบั ผดิ ชอบ: กลมุ งานสง เสรมิ การพัฒนาเศรษฐกจิ สังคมและคณุ ภาพชีวิต กองพัฒนาและสง เสรมิ การบริหารงานทองถิ่น ผรู บั ผิดชอบ: 1. นายกฤษดา สมประสงค ผูอำนวยการกลุมงานสงเสริมการพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คมและคุณภาพชวี ิต โทร. 08 9280 2115 2. นายพรี ณฐั ประทุมชาติภักดี นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการ โทร. 02-241900 ตอ 4131 ตวั ชว้ี ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑการประเมนิ คะแนน คะแนนทไ่ี ด 126 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 126. จำนวนกิจกรรมที่องคกรปกครองสวน 3 1. โครงการกจิ กรรมขององคก รปกครองสว นทองถ่ิน ทองถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนา 1 2. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร สตรใี นพืน้ ท่ี 0 ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชงิ ประจักษ (เปดดจู ากเว็บไซตจริง ในวันตรวจประเมินฯ) เกณฑการใหค ะแนน: 3. ขอบญั ญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจา ย ฯ 1. ดำเนนิ การ 3 กิจกรรมขึ้นไป 4. รายงานผลการดำเนนิ การทีเ่ สนอตอ ผูบรหิ าร 2. ดำเนนิ การ 2 กิจกรรม ทอ งถิ่นเพ่อื ทราบ 3. ดำเนินการ 1 กิจกรรม กฎหมาย/ระเบียบและหนงั สอื ทเี่ กยี่ วของ 4. ไมม ีการดำเนนิ การ 1. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และแกไข เพม่ิ เตมิ มาตรา 50 (7) สงเสริมการพฒั นาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ มาตรา 53 (1) และ มาตรา 56 (1) 2. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบริหาร สวนตำบล พ.ศ. 2537 และแกไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (6) สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผสู ูงอายุ และผูพ กิ าร 3. พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม มาตรา 45 (8) จัดทำ กิจการใด ๆ อันเปนอำนาจหนาที่ของราชการสวน ทองถิ่นอื่นที่อยูในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด และกิจการนั้นเปนการสมควรใหราชการสวน ทองถนิ่ อื่นรวมกันดำเนนิ การหรอื ใหองคการบริหาร สวนจังหวัดจัดทำ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดใน กฎกระทรวง 4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมือง พัทยา พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม มาตรา 62 (14) อำนาจหนา ท่ีอ่ืนตามที่กฎหมายกำหนดใหเปน ของเทศบาลนครหรอื ของเมอื งพทั ยา ๔๔

ตัวชี้วดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได 126 5. พระราชกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (10) มาตรา 17 (27) การสงั คม สงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผูด อยโอกาส 6. มาตรฐานการสงเสริมการพัฒนาสตรีของ กรมสง เสรมิ การปกครองทองถ่ิน 7. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 1235 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 เรื่อง ขอความอนุเคราะหบรรจุโครงการ/กิจกรรม ดานการพัฒนาสตรีและครอบครัวไวใ นเทศบัญญัต/ิ ขอบัญญัติงบประมาณประจำป พ.ศ. 2557 องคกรปกครองสวนทองถนิ่ คำอธิบาย: 1. ตัวอยา งกจิ กรรม เชน กองทุนพฒั นาสตรี กองทุน เพื่อชวยเหลือสตรี กลุมแมบาน การใหความรูเรื่อง สิทธแิ ละหนา ท่ีของสตรี เปนตน 2. กิจกรรมในการพัฒนาสตรี คือ การสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาสตรีในแตละกลุมอายุ ใหมี คุณภาพและประสิทธิภาพ มีความเปนอยูอยางมี ความสุข ในดานการศึกษา สุขภาพอนามัย อาชีพ รายได มีสวนรวมทางการเมือง การปกครอง ตลอดจนดานสิ่งแวดลอม เพื่อนำไปสูการเปนผูนำ แบบมีสวนรวม ผานกิจกรรมตาง ๆ เชน การพัฒนาสตรีและเสริมสรางความเขมแข็งของ ครอบครัว การดำรงชีวิตและประกอบอาชีพบน พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสงเสริม ความรูเรื่องการพิทักษและคุมครองสิทธิสตรี การเรียนรูอยูรวมกัน อยางเทาเทียมไมเลือก ปฏิบัติ ระหวางหญิงชายในการพัฒนาทองถิ่น การสงเสริมมีสวนรวมของสตรีในการเมืองระดับ ทองถิ่น การแลกเปลี่ยนเรียนรูสุขภาวะและสิทธิ อนามยั การเจริญพันธุ ๔๕

ตวั ช้วี ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนท่ไี ด 127 5 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 127. จำนวนกิจกรรมที่องคกรปกครองสวน 3 1. ขอบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจาย ทองถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อสงเสริม 1 ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ความรัก และความอบอุนในครอบครวั 0 2. โครงการที่มีการดำเนินการจริง ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอตอผูบริหาร เกณฑก ารใหคะแนน : ทอ งถน่ิ เพ่ือทราบ 1. ดำเนินการ 3 กจิ กรรมข้นึ ไป 4. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร 2. ดำเนนิ การ 2 กิจกรรม ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ 3. ดำเนินการ 1 กจิ กรรม ตรวจสอบในเชงิ ประจกั ษ (เปดดจู ากเว็บไซตจริง 4. ไมมกี ารดำเนินการ ในวนั ตรวจประเมนิ ฯ) กฎหมาย/ระเบยี บและหนงั สือทเี่ กยี่ วของ 1. พระราชบัญญัติความเทาเทียมระหวางเพศ พ.ศ 2558 2. มาตรฐานการสงเสริมการพัฒนาสตรี 3. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 4. พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาและ คมุ ครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2562 5. พระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทำดวย ความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 คำอธิบาย: ตัวอยางประเภทกิจกรรม เชน กิจกรรม walk rally คายครอบครัว คายสามวัย (เด็ก ผูใหญ ผูสูงอายุ) กิจกรรมดานสุขภาพอนามัยดาน การศกึ ษา ดานเศรษฐกิจ ดานสงั คม ทเ่ี ขารว มได ทั้งครอบครัว การจัดทำฐานขอมูลทางสังคม อาทิ พอแมเลี้ยงเดี่ยว แมวัยใส ครอบครัวที่มี ความเสีย่ งเกยี่ วกับความรนุ แรง เปนตน หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครองสวน ทอ งถนิ่ ไมสามารถตดั ฐานการประเมนิ ได ๔๖

คะแนนเต็ม 15 คะแนนท่ีได หนวยท่ี 2 ดา นงานสง เสริมคุณภาพชวี ิต ตวั ช้ีวัดที่ 105 - 138 จำนวน 34 ตัวชีว้ ดั จำนวน 170 คะแนน หนวยยอยที่ 4 สงเสรมิ และพัฒนาคนพิการและผูด อยโอกาส/คนไรท่ีพึ่ง ตวั ช้ีวัดท่ี 128 - 131 จำนวน 4 ตัวชวี้ ดั จำนวน 15 คะแนน หนว ยงานท่รี บั ผิดชอบ: กลมุ งานสงเสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมและคุณภาพชีวติ กองพฒั นาและสงเสรมิ การบริหารงานทอ งถิน่ ผูร บั ผดิ ชอบ: 1. นายกฤษดา สมประสงค ผูอำนวยการกลุมงานสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกจิ สังคมและคุณภาพชีวิต โทร. 08 9280 2115 2. นายพีรณฐั ประทุมชาติภกั ดี นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการ โทร. 02-241900 ตอ 4131 ตัวช้ีวัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได 5 128 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน 128. จำนวนกิจกรรมที่องคกรปกครอง 3 1. ขอ บัญญตั /ิ เทศบญั ญตั งิ บประมาณรายจาย สวนทองถิ่นดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพ 1 ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ชีวิตคนพิการ (นอกเหนือจากการจายเบี้ย 0 2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงใน ความพกิ าร) ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีการดำเนนิ การ ดังน้ี 3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอตอ 1. มีการจดั งาน/กจิ กรรมที่องคกรปกครองสวน ผบู ริหารทองถิ่นเพอื่ ทราบ ทองถิ่นที่เอื้อใหคนพิการสามารถเขารวมงาน 4. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร หรอื กจิ กรรมได ปกครองสวนทองถิ่นโดยใหทีมประเมินฯ 2. มีสถานที่จัดงาน/กิจกรรมที่อยูในทำเลที่ ตรวจสอบในเชิงประจักษ (เปดดูจากเว็บไซต เหมาะสม ผูพิการสามารถเดินทางเขารวมงาน/ จรงิ ในวนั ตรวจประเมนิ ฯ) กิจกรรมไดอยางสะดวก กฎหมาย/ระเบยี บและหนังสือทีเ่ กยี่ วของ 3. มีการอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการท่ี 1. พระราชบญั ญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพ จะเขารวมงาน/กิจกรรม เชน การจัดพาหนะ ชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และฉบับที่ 2 บริการรับ-สง การเตรียมความพรอมรถเข็น (พ.ศ. 2556) สำหรบั บรกิ ารคนพิการ การเตรียมหนวยแพทย 2. กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความ ฉุกเฉินสำหรับผพู กิ ารท่เี ขารว มงาน เปน ตน สะดวกในอาคารสำหรับผูพิการหรือทุพพล 4. มีการเผยแพรขอมูลขาวสารประชาสัมพันธ ภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 ในงาน/กิจกรรมที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น 3. คูมือมาตรฐานการสงเสริมและพัฒนา ดำเนินการใหคนพิการ เชน เสียงตามสาย คุณภาพชวี ิตคนพกิ าร โปสเตอรอกั ษรเบลลลามมอื แปลภาษา 4. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0891.3/ว 145 ลงวันท่ี 24 มกราคม เกณฑการใหค ะแนน : 2549 1. ดำเนินการ 3 – 4 กจิ กรรม 2. ดำเนินการ 2 กิจกรรม 3. ดำเนินการ 1 กิจกรรม 4. ไมมีการดำเนินการ ๔๗

ตวั ชว้ี ดั การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนทีไ่ ด คำอธิบาย : 1. ตัวอยางกิจกรรม เชน การจัดทำหรือปรับปรุงฐานขอมูลคนพิการ การจัดทำศูนยบริการคนพิการทั่วไป การสงเสริมฟนฟูสมรรถภาพ ศูนยบริการขอมูลขาวสารภายในอาคารสำหรับคนพิการ จัดหาอุปกรณ การพาคนพิการไปทำบัตรประจำตัวคนพิการ การไปเยี่ยม คนพกิ าร ตรวจสขุ ภาพคนพิการ การอบรมสรา งอาชพี สรางรายไดใ หค นพิการ เปน ตน 3. นับรวมทั้งกิจกรรมที่ใชงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และไมใชงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (องคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ เปนผดู ำเนนิ โครงการเองหรอื มสี วนรว มในการดำเนินโครงการ) หมายเหตุ: ประเมินทุกองคกรปกครองสวนทองถิน่ ไมสามารถตัดฐานการประเมินได โดยกิจกรรมตองเปนไปตามมาตรฐานการสงเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการที่กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และไมใชงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยองคกร ปกครองสวนทองถ่ินไดมสี วนรวมในการดำเนินงานดังกลาว ๔๘

ตวั ชว้ี ัด การตรวจสอบการประเมนิ เกณฑก ารประเมิน คะแนน คะแนนที่ได 129 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 129. จำนวนคร้งั ที่เทศบาลและองคการบริหาร 5 1. หลักฐานการจายเงินเบี้ยความพิการ สวนตำบล สามารถดำเนินการจายเบ้ีย 3 ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ตามระเบียบ ความพิการไดครบถวนถูกตองตามประกาศ 1 กระทรวงมหาดไทยวาดวยหลักเกณฑการ เทศบาล/องคการบริหารสวนตำบล เรื่องบัญชี 0 จายเงินเบี้ยความพิการ ใหคนพิการของ รายชื่อผูมีสิทธิรับเงินเบี้ยความพิการของ องคกรปกครองสวนทองถนิ่ พ.ศ. 2553 และ เทศบาล/องคการบริหารสวนตำบลประจำป ทแี่ กไขเพ่มิ เตมิ ถงึ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 งบประมาณ พ.ศ. 2563 ภายในวันที่ ๑๐ 2. การโอนเขาบัญชีธนาคาร (กรณีรับผานบัญชี ของทุกเดอื น ธนาคาร) 3. หลกั ฐานการจา ยเงิน/รบั เงนิ (กรณีรับเงนิ สด) กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือทีเ่ กีย่ วของ เกณฑการใหคะแนน : 1. พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอน 1. จายไดภายในวันท่ี ๑๐ ของทกุ เดอื น จำนวน การกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวน ๑๒ ครง้ั ทองถนิ่ พ.ศ. 2542 2. จา ยไดภายในวันที่ ๑๐ ของทกุ เดือน จำนวน 2. พระราชบัญญัติ สงเสริมและพัฒนา ๑๑ ครง้ั คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ 3. จา ยไดภ ายในวันท่ี ๑๐ ของทุกเดอื น จำนวน 3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยหลักเกณฑ ๑๐ ครงั้ การจายเงินเบ้ยี ความพิการให คนพิการขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2553 และที่แกไข 4. จา ยไดภ ายในวนั ท่ี ๑๐ ของทกุ เดือน ต่ำกวา เพิม่ เตมิ ถงึ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 จำนวน ๑๐ ครง้ั 4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับ เงิน การฝากเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการตรวจ เงนิ ขององคกรปกครองสว นทองถน่ิ พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติมฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ขอ 88 วรรคสอง 5. หนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ดวนที่สุด ที่ มท 0891.3/ว1948 ลงวันที่ 31 ตลุ าคม 2557 6. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 และ 16 กุมภาพนั ธ 2559 คำอธิบาย: 1. กรณีที่เทศบาล และองคการบริหารสวนตำบล ใดไดรับงบประมาณไมเพียงพอ หรือ ยังไมไดรับการโอนเงินจัดสรรงบประมาณ ใหเทศบาล และองคการบริหารสว นตำบล ยมื เงินสะสม ทดรองจา ยไปพลางกอน 2. ยกเวน กรณีคนพิการทแ่ี จงขอรับเปน เงนิ สด แตไมม ารับเงินเบ้ียความพิการภายในกำหนด 3. ยกเวน เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ใหพจิ ารณาจากวันที่องคกรปกครองสว นทองถิน่ จายเงนิ สด 4. หากไมม กี ารจา ยเงินสดใหตดั ฐานคะแนนในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563 หมายเหตุ: ประเมนิ เฉพาะเทศบาลและองคการบรหิ ารสวนตำบล ๔๙

ตวั ชี้วัด การตรวจสอบการประเมิน เกณฑก ารประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได 130 ตรวจสอบเอกสาร/หลกั ฐาน 130. จำนวนกิจกรรมที่องคกรปกครอง 1. ขอมูลผูดอยโอกาส/คนไรที่พึ่ง จาก สวนทองถิ่นดำเนินการเพื่อพัฒนาผูดอ ยโอกาส/ หนวยงานราชการตาง ๆ หรือองคกรภาคประชา คนไรทพี่ ึง่ (ยกเวน คนเรรอนและขอทาน) สงั คม ตาง ๆ 2. ขอบญั ญตั /ิ เทศบญั ญัติงบประมาณรายจาย เกณฑก ารใหค ะแนน: ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 1. มกี ารดำเนินการ ๓ กจิ กรรมข้นึ ไป 5 3. โครงการทมี่ กี ารดำเนนิ การจรงิ 2. มีการดำเนินการ ๒ กจิ กรรม 3 4. รายงานผลการดำเนินการ ตอผูบริหาร 3. มกี ารดำเนินการ ๑ กิจกรรม 1 ทองถิ่นเพ่ือทราบ 4. ไมไ ดดำเนนิ การ 0 5. มีการเผยแพรทางเว็บไซตหลักขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยใหทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ (เปดดูจากเว็บไซต จริงในวันตรวจประเมนิ ฯ) กฎหมาย/ระเบียบและหนังสือที่เก่ียวของ 1. พระราชบัญญัติการคุมครองคนไรที่พึ่ง พ.ศ. 2547 2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคาใชจาย เพื่อชวยเหลือประชาชนตามอำนาจหนาที่ของ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ พ.ศ. 2560 คำอธิบาย: 1. จะตองประเมนิ ทกุ องคก รปกครองสว นทองถนิ่ ยกเวน เมอ่ื มกี ารขอขอมลู ผดู อยโอกาส/คนไรที่พึ่งจากหนวยงานที่เก่ียวของ หรือมีการ ตั้งคณะกรรมการหรือมอบหมายใหเจาหนาทีท่ ี่เกีย่ วของขึ้นมาเพื่อสำรวจขอ มูลผูดอยโอกาส/คนไรที่พึ่งในพื้นที่แลว หรือมีการสอบถาม จากกำนัน ผใู หญบาน สมาชิกสภาทอ งถนิ่ ผูนำหมบู า น/ชมุ ชน การทำประชาคมแลว หรอื มีการตรวจสอบขอบญั ญตั ิ/เทศบัญญัติทองถิ่น แลว ปรากฏวาในพน้ื ทไี่ มมผี ูด อ ยโอกาส/คนไรท ี่พ่ึงก็สามารถตัดฐานการประเมนิ ได 2. ผูดอยโอกาส หมายถึง ผูประสบปญหาความเดือดรอ น และไดรับผลกระทบในดานเศรษฐกจิ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติ และภัยสงคราม รวมถึงผูที่ขาดโอกาสที่จะเขา ถึงบริการขัน้ พื้นฐานของรัฐ ตลอดจนผูป ระสบปญหาที่ ยงั ไมม อี งคก รหลักรับผดิ ชอบ อันจะสงผลใหไ มสามารถดำรงชีวิตไดเทาเทยี มกบั ผูอ่ืน 3. คนไรที่พึ่ง หมายถึง บุคคลซึ่งไรที่อยูอาศัยและไมมีรายไดเพียงพอแกการยังชีพและใหรวมถึงบุคคลที่อยูในสภาวะยากลำบากและ ไมอ าจพ่ึงพาบคุ คลอืน่ ได (ตามพระราชบญั ญัติการคมุ ครองคนไรทพี่ ่ึง พ.ศ. 2547) 4. ตัวอยางกจิ กรรม เชน การจัดตัง้ สถานคุมครองคนไรท่ีพึ่ง/ศูนยคุมครองคนไรที่พึ่ง โดยความสนบั สนุนจากกระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย การสำรวจ/จัดทำขอมูลผูดอยโอกาส/คนไรที่พึ่ง การจัดทำแผนเพื่อพัฒนาผูดอยโอกาส/คนไรที่พึ่ง การจดั สวสั ดิการสงั คม การเสริมสรา งสมรรถภาพทางรางกายและจติ ใจการรักษาพยาบาล การสงเสรมิ การศกึ ษาและอาชพี การสง เสริม สนับสนุนการสรางโอกาสในสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต การสนับสนุนใหคนไรที่พึ่งมีงานทำและมีที่พักอาศัย การปองกันมิให มีการเลอื กปฏิบตั ิท่ไี มเ ปน ธรรมตอ คนไรท พี่ ึ่ง การประสานหนวยงานที่เก่ยี วของเพือ่ ใหก ารชว ยเหลือเปน ตน 5. คนไรท่พี ึง่ ท่เี ขา รว มกจิ กรรมจะตองเปน คนในพืน้ ที่ที่มที ะเบยี นบานอยใู นพ้ืนท่ีขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ ๕๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook