Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธประวัติ นักธรรมตรี

พุทธประวัติ นักธรรมตรี

Description: พุทธประวัติ นักธรรมตรี

Search

Read the Text Version

ปฐมโพธิกาล ปริจเฉทท่ี ๘เสดจ็ กรุงราชคฤห์แคว้นมคธและได้อัครสาวก จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 51

เสดจ็ กรุงราชคฤห์แคว้นมคธและได้อัครสาวก(๑) ครัน้ พระพทุ ธองค์เสด็จอยู่ ณ ตาบลคยาสีสะตามควรแก่อธั ยาศยั แล้วพร้อมด้วยหม่ภู ิกษุสาวกนนั้ เสด็จไปยงั กรุงราชคฤห์ ประทบั อยู่ ณ ลฏั ฐิวนัสวนตาลหน่มุ กิตติศพั ท์ของพระองค์ขจรไปทว่ั ทิศว่า พระสมณโคดม โอรสแห่งศากยะเป็ นพระอรหนั ต์ตรัสรู้เองโดยชอบ ขณะนีป้ ระทบั อย่ทู ี่ลฎั ฐิวนั พระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าแผ่นดินมคธได้ทรงทราบกิตติศพั ท์นนั้ จึงพร้อมด้วยราชบริพารเสด็จไปเฝ้ า ทรงนมสั การแล้วประทบั นง่ั ณ ที่อนั สมควร ส่วนราชบริพารของพระองค์มีอาการทางกาย วาจาต่าง ๆ กัน เป็ น ๕พวก คือ ๑. บางพวกถวายบงั คม ๒. บางพวกเป็ นแต่กล่าววาจาปราศรัย๓. บางพวกเป็ นแต่ประณมมือ ๔. บางพวกร้องประกาศชื่อและโคตรของตน๕. บางพวกนิ่งอยู่ ที่เป็ นเช่นนีเ้ พราะความไม่แน่ใจว่า อุรุเวลกัสสปะของพวกตนกับพระสมณโคดมใครเป็ นใหญ่กว่ากนั จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 52

เสดจ็ กรุงราชคฤห์แคว้นมคธและได้อัครสาวก(๒) พระอรุ ุเวลกสั สปะ จึงลกุ ขนึ ้ จากท่ีนง่ั ทาผ้าห่มเฉวียงบา่ ข้างหน่ึงซบศีรษะลงท่ีพระบาทพระศาสดา ทลู ประกาศว่า พระองค์เป็ นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเป็ นสาวกผ้ฟู ังคาสอนของพระองค์ และทลู ประกาศความไม่มีแก่นสารแห่งลทั ธิเดิม ราชบริพารจึงน้อมจิตเช่ือถือพระศาสดา ตงั้ โสตคอยฟังพระธรรมเทศนา พระศาสดาทรงแสดงอนปุ พพีกถาและอริยสจั ๔ พระเจ้าพิมพิสารและราชบริพารแบง่ เป็ น ๑๒ ส่วน ๑๑ ส่วนได้จกั ษุเห็นธรรม ส่วน๑ ตงั้ อย่ใู นไตรสรณคมน์ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 53

ความปรารถนา ๕ ประการของพระเจ้าพมิ พสิ าร เม่ือครัง้ ยงั เป็ นราชกุมาร ยงั ไม่ได้รับอภิเษก พระเจ้าพิมพิสารได้ตงั้ความปรารถนาไว้ ๕ อย่าง คือ ๑. ขอให้ข้าพเจ้าได้รับอภิเษกเป็ นพระเจ้าแผ่นดินมคธนี ้ ๒. ขอให้ท่านผ้เู ป็ นพระอรหนั ต์ ผ้รู ู้เอง เห็นเอง โดยชอบ พึงมายงั แว่นแคว้นของข้าพเจ้า ผ้ไู ด้รับอภิเษกแล้ว ๓. ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้เข้าไปนงั่ ใกล้พระอรหนั ต์นนั้ ๔. ขอให้พระอรหนั ต์นนั้ พึงแสดงธรรมแก่ข้าพเจ้า ๕. ขอให้ข้าพเจ้าพงึ รู้ทว่ั ถึงธรรมของพระอรหนั ต์นนั้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 54

ทรงอนุญาตให้ภกิ ษุรับอาราม พระเจ้าพิมพิสารครัน้ กราบทลู ความสาเร็จพระราชประสงค์ทงั้ ๕ แล้วได้แสดงพระองค์เป็ นอบุ าสก จากนนั้ ได้กราบทลู เชิญเสด็จพระศาสดาพร้อมทงั้หม่สู าวก เพื่อเสวยท่ีพระราชนิเวศน์ในวนั รุ่งขนึ ้ วนั รุ่งขึน้ พระศาสดาพร้อมด้วยพระสาวกได้เสด็จไปยงั พระราชนิเวศน์พระเจ้าพิมพิสารทรงองั คาสภิกษุสงฆ์มีพระพทุ ธเจ้าเป็ นประธานแล้ว ทรงพระราชดาริถึงสถานควรเป็ นที่เสด็จอย่แู ห่งพระศาสดา ทรงเห็นว่า พระราชอุทยานเวฬวุ นั สวนไม้ไผ่เหมาะสมท่ีสดุ ทรงจบั พระเต้าทองเต็มด้วยนา้ หลงั่ ลงถวายพระราชอุทยานเวฬวุ นั นนั้ แก่ภิกษุสงฆ์ มีพระพทุ ธเจ้าเป็ นประธาน พระศาสดาทรงรับแล้วเสด็จไปประทบั อยู่ ณ ท่ีนนั้ พระพทุ ธองค์ทรงปรารภเหตนุ นั้ จึงประทานพระพทุ ธอนญุ าตให้ภิกษุรับอารามท่ีทายกถวายตามปรารถนา การถวายอารามเกิดขึน้ เป็ นครัง้ แรกในกาลนนั้และเวฬวุ นั ก็เป็ นอารามของสงฆ์เป็ นแห่งแรกในพระพทุ ธศาสนา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 55

ทรงได้พระอคั รสาวกพระสารีบุตร ได้เป็ นอคั รสาวกเบือ้ งขวา เลิศทางปัญญาพระโมคคัลลานะ ได้เป็ นพระอคั รสาวกเบือ้ งซ้าย เลิศทางมีฤทธิ์ เป็ นกาลงั สาคญั ในการช่วยพระศาสดาประกาศพระศาสนา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 56

ปฐมโพธกิ าล ปริจเฉทท่ี ๙ทรงบาเพญ็ พทุ ธกจิ ในมคธชนบท จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 57

ประทานอุปสมบทแก่พระมหากสั สปะ คราวหน่ึง พระศาสดาเสด็จจาริกโปรดประชาชนในมคธชนบท ประทบั อย่ทู ี่ใต้ร่มไทร เรียกว่า พหุปตุ ตกนิโครธ ระหว่างกรุงราชคฤห์และเมืองนาลนั ทาต่อกนั ในเวลานนั้ ปิ ปผลิมาณพ กัสสปโคตร มีความเบื่อหน่ายในการครองเรือน ละฆราวาสถือเพศเป็ นบรรพชิต ออกบวชอทุ ิศพระอรหนั ต์ในโลก จาริกมาถึงท่ีนนั้ เห็นพระศาสดา มีความเลื่อมใสเข้าไปเฝ้ า รับเอาพระองค์เป็ นศาสดาของตน ทรงรับเป็ นภิกษุในพระธรรมวินยั ด้วย ประทานโอวาท ๓ ข้อ ว่า ๑. กสั สปะ ท่านพึงศึกษาว่า เราจกั เข้าไปตงั้ ความละอายและความยาเกรงในภิกษุ ทงั้ ท่ีเป็ นผ้เู ฒ่า ทงั้ ที่เป็ นผ้ใู หม่ ทงั้ ที่เป็ นปานกลาง อย่างแรงกล้า ๒. เราจะฟังธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยกุศล เราจกั เง่ียหลู งฟังธรรมนนั้ พิจารณาเนือ้ ความแห่งธรรมนนั้ ๓. เราจะไม่ละสติไปในกาย คือ พิจารณาร่างกายเป็ นอารมณ์ (กายคตาสติ) พระมหากสั สปะได้ฟังพทุ ธโอวาทนนั้ แล้ว บาเพ็ญเพียรปฏิบตั ิตามในวนั ที่ ๘แต่อุปสมบทได้สาเร็จพระอรหตั จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 58

มหาสันนิบาตแห่งมหาสาวก ครัง้ พระศาสดาเสด็จประทบั ณ กรุงราชคฤห์ พระนครหลวงแห่งมคธได้มีการประชมุ แห่งพระสาวกคราวหน่ึง เรียกว่า จาตรุ งคสนั นิบาต แปลว่าการประชมุ มีองค์ ๔ คือ ๑. พระสาวกผ้เู ข้าประชมุ กันนนั้ ล้วนเป็ นพระอรหนั ต์จบพรหมจรรย์แล้ว ๒. พระสาวกเหลา่ นนั้ ล้วนเป็ นเอหิภิกขุ สาวกครัง้ แรกที่พระศาสดาประทานอปุ สมบทเอง ๓. พระสาวกเหล่านนั้ ไม่ได้นดั หมายต่างมาพร้อมกนั เอง๑,๒๕๐ องค์ ๔. พระศาสดาประทานพระบรมพทุ โธวาท ซึ่งเรียกว่า โอวาทปาฏิโมกข์ ย่อหวั ใจพระพทุ ธศาสนาแสดงเรียกว่า มาฆบูชา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 59

โอวาทปาฏิโมกข์คาสอนหลักของศาสนา(๑) โอวาทปาฏิโมกข์น้ัน เป็ นคาประพันธ์ ๓ คาถาก่ึงคาถาท่ี ๑ แสดงว่า ขนั ติ คือ ความอดทน เป็ นตบะอย่างยอด ท่านผ้รู ู้กล่าวนิพพานว่าเป็ นยอด บรรพชิตผ้ฆู ่า ผ้เู บียดเบียนสตั ว์อ่ืน ไม่ชื่อว่าเป็ นสมณะคาถาท่ี ๒ แสดงว่า การไม่ทาบาปทงั้ ปวง การยงั กศุ ลให้บริบรู ณ์ การยงั จิตของตนให้ผ่องใส เป็ นคาสอนของพระพทุ ธเจ้าทงั้ หลาย จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 60

โอวาทปาฏิโมกข์คาสอนหลักของศาสนา(๒)คาถาท่ี ๓ แสดงว่า การไม่พดู ข้อนขอดกนั การไม่ประหดั ประหารกนั ความสารวมในพระปาฏิโมกข์ ความรู้จกั ประมาณในอาหาร ความเสพที่นอนที่นง่ั อนั สงดั ความประกอบความเพียรทางใจอย่างสงู เป็ นคาสอนของพระพทุ ธเจ้าทงั้ หลาย การแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ของพระศาสดา ก็เพื่อพระสาวกผ้เู ท่ียวสอนในพระพทุ ธศาสนา จะได้ยกเอาธรรมข้อใดข้อหน่ึงขนึ ้ แสดงโดยเหมาะสมแก่บริษัท ท่านกล่าวว่า โอวาทปาฏิโมกข์นี ้ พระศาสดาเองก็ตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ในอโุ บสถทกุ กึ่งเดือน มางดเสียเม่ือได้ทรงอนญุ าตให้ภิกษุสงฆ์เอาสิกขาบทท่ีทรงบญั ญัติไว้มาสวดในที่ประชมุ แทน เรียกว่า สวดพระปาฏิโมกข์ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 61

ทรงอนุญาตเสนาสนะ ในคราวเสด็จกรุงราชคฤห์ครัง้ แรก พระเจ้าพิมพิสารทรงถวายเวฬวุ นารามเป็ นท่ีประทบั พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ สถานท่ีนนั้ คงเป็ นป่ าไผ่ ไม่มีอาคารแต่อย่างใด สมด้วยข้อความในเสนาสนะขนั ธกะว่า ครัง้ พระศาสดายงั ไม่ได้อนุญาตเสนาสนะ ภิกษุทงั้ หลายอย่กู ันในป่ าบ้าง โคนไม้บ้าง บนภเู ขาบ้าง ซอกเขาบ้าง ในถา้ บ้าง ป่ าช้าบ้าง ที่สมุ ทมุพ่มุ ไม้บ้าง ท่ีแจ้งบ้าง ลอมฟางบ้าง วนั หนึ่ง ราชคหกเศรษฐีไปอุทยานแต่เช้า เห็นภิกษุทงั้ หลายออกจากสถานท่ีเหล่านนั้ ด้วยกิริยาอาการน่าเล่ือมใส จึงถามว่า ถ้าเขาทาวิหารถวาย จะอย่ใู นวิหารได้ไหม ภิกษุทงั้ หลายตอบว่า พระศาสดายงั ไม่ทรงอนญุ าต เขาขอให้กราบทลู ถามแล้วบอกแก่เขา ภิกษุทงั้ หลายได้ทาตามนนั้ พระศาสดาทรงอนญุ าตที่นัง่ ท่ีนอน ๕ ชนิด คือวิหาร ๑ อทั ฒโยค ๑ ปราสาท ๑ หมั มิยะ ๑ คุหา ๑ วิหาร คือ กุฏิธรรมดา อทั ฒโยค คือ เพิง ปราสาท คือ เรือนชนั้ เช่นตึกแถว หมั มิยะ คือ ที่อย่กู ่อด้วยอิฐหรือดินเหนียว โดยหาสิ่งอ่ืนมาทาหลงั คา คุหาคือ ถา้ ทวั่ ไป จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 62

ทรงแสดงวธิ ีทาปุพพเปตพลี(๑) พระเจ้าพิมพิสาร ทรงทาปพุ พเปตพลี คือ การทาบญุ อทุ ิศบรรพบุรุษ ภายหลงั จากพระองค์ทรงนบั ถือพระพทุ ธศาสนาแล้ว ในวนั ทรงทาปพุ พเปตพลี ทรงทูลเชิญสมเด็จพระศาสดาพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ไปทรงองั คาสท่ีพระราชนิเวศน์ พระสงฆ์ฉนั เสร็จแล้ว ทรงบริจาคไทยธรรมต่าง ๆรวมทงั้ ผ้าด้วยแก่พระภิกษุสงฆ์ แล้วทรงอทุ ิศบรุ พบิดร คือ บรรพบุรุษผู้ล่วงลบั วายชนม์ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 63

ทรงแสดงวธิ ีทาปพุ พเปตพลี(๒) พระศาสดาทรงอนโุ มทด้วยคาถา มีคาว่า อทาสิ เม อกาสิ เมเป็ นต้น แปลว่า ญาติก็ดี มิตรก็ดี ระลึกถึงอุปการะอนั ท่านทาแล้วในกาลก่อนว่า ท่านได้ให้ส่ิงนีแ้ ก่เรา ได้ทาสิ่งนีแ้ ก่เรา เป็ นญาติ เป็ นมิตร เป็ นสขา (สหาย)ของเรา พึงให้ทกั ษิณา เพื่อชนผ้ลู ่วงลบั ไปแล้ว ไม่พงึ ทาการร้องไห้ เศร้าโศกราพนั ถึง (เพียงอย่างเดียว) เพราะการอย่างนนั้ ไม่เป็ นไปเพ่ือประโยชน์แก่ญาติผ้ลู ่วงลบั ไป แต่ญาติทงั้ หลายก็มกั เป็ นอย่างนี ้ (คือร้องไห้ เป็ นต้น) ส่วนทกั ษิณานีท้ ่ีท่านทงั้ หลายบริจาคในสงฆ์ ย่อมสาเร็จประโยชน์แก่ญาติผ้ลู ว่ งลบั ไปแล้วนนั้ โดยพลนั ท่านทงั้ หลาย (ช่ือว่า) ได้แสดงออกซ่ึงญาติธรรมด้วย ได้ทาบชู าญาติผ้ลู ่วงลบั อย่างย่ิงด้วย ได้เพิ่มกาลงั ให้แก่ภิกษุทงั้ หลายด้วย เป็ นอนั ได้บญุไม่น้อยเลย การทาปพุ พเปตพลี ย่อมบารุงความรัก ความนบั ถือ ในบรรพบรุ ุษของตน ให้เจริญกุศล ส่วนกตญั ญกู ตเวทิตาเป็ นทางมาแห่งความรุ่งเรืองแห่งสกลุ วงศ์พระศาสดาจึงได้ทรงอนมุ ตั ิ ด้วยประการฉะนี ้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 64

ทรงมอบให้สงฆ์เป็ นใหญ่ในกิจ วนั หนึ่ง พระศาสดาประทบั อย่ทู ่ีวิหารเชตวนั อารามของอนาถปิ ณฑิกเศรษฐี เมืองสาวตั ถี แคว้นโกศล มีพราหมณ์ชราคนหน่ึงศรัทธามาขอบวช จึงทรงมอบให้พระสารีบุตรบวชให้ โดยทาพิธีเป็ นการสงฆ์ ในมธั ยมชนบทต้องประชุมภิกษุ ๑๐ รูป ในปัจจนั ตชนบทมีพระน้อยประชมุ ภิกษุ ๕ รูป ภิกษุรูปหน่ึงเป็ นพระอปุ ัชฌาย์ คือ เป็ นผ้รู ับรอง (รับผิดชอบ) ผ้จู ะอุปสมบท รูปหน่ึงประกาศสงฆ์ให้รู้เร่ือง แต่ในปัจจบุ นั นีน้ ิยมใช้ ๒ รูป เรียกว่า กรรมวาจาจารย์กับอนสุ าวนาจารย์ แต่ชาวบ้านมกั เรียกว่า ค่สู วด ครัน้ ประกาศสงฆ์ให้รู้เร่ือง๓ ครัง้ ถ้าไม่มีภิกษุคดั ค้าน ผ้นู นั้ ช่ือว่าเป็ นภิกษุ ถ้าถกู คดั ค้านแม้เสียงเดียวเป็ นอนั ไม่ยอมรับ อุปสมบทชนิดนีเ้ รียก ญัตติจตตุ ถกรรมอปุ สมั ปทา แปลว่าอปุ สมบทด้วยการสงฆ์ มีวาจาประกาศเป็ นท่ี ๔ เมื่อทรงอนญุ าตวิธีอปุ สมบทนี ้แล้ว ทรงยกเลิกการอปุ สมบทแบบไตรสรณคมน์ที่ทรงอนญุ าตไว้เดิม จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 65

ทรงสอนพระศาสนาผ่อนลงมาถงึ คดโี ลก พระพทุ ธองค์ตรัสแก่เขาว่า ในแวดวงของอารยชน เขาไม่ไหว้ทิศตะวนั ออก ทิศตะวนั ตก เป็ นต้น อย่างนีห้ รอก เขาไหว้ทิศ ๖ แต่ก่อนจะไหว้ทิศต้องทากิจเบือ้ งต้นให้สมบรู ณ์ด้วย คือ ต้องเว้นกรรมกิเลส ๔ ไม่ทาบาปกรรมเพราะอคติ ๔ และไม่เกี่ยวข้องกับอบายมขุ ๖ ต่อจากนนั้ จึงไหว้ทิศ ๖ คือ ๑. ทิศบูรพา อนั เป็ นทิศเบือ้ งหน้า ได้แก่ มารดา บิดา ๒. ทิศทกั ษิณ อนั เป็ นทิศเบือ้ งขวา ได้แก่ อาจารย์ ๓. ทิศปัจจิม อนั เป็ นทิศเบือ้ งหลงั ได้แก่ บุตรภรรยา ๔. ทิศอดุ ร อนั เป็ นทิศเบือ้ งซ้าย ได้แก่ มิตรอมาตย์ ๕. ทิศเบือ้ งล่าง ได้แก่ บ่าวและลกู จ้าง ๖. ทิศเบือ้ งบน ได้แก่ สมณพราหมณ์ ส่วนความละเอียดแห่งเทศนานี ้ มีอย่ใู นวิชาธรรมแผนกคิหิปฏิบตั ิ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 66

ทรงแสดงวิธีทาเทวตาพลี ครัง้ หน่ึง พระศาสดาเสด็จจาริกไปถึงบ้านปาฏลิคาม แคว้นมคธคราวนนั้ สนุ ีธพราหมณ์ และวสั สการพราหมณ์ มหาอามาตย์มคธ มาอย่ทู ่ีนนั่กาลงั สร้างนครเพ่ือป้ องกนั ชาววชั ชี สองอามาตย์นนั้ มาเฝ้ า เชิญเสด็จรับภตั ตาหารท่ีเมืองใหม่นนั้ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว พระศาสดาทรงอนโุ มทนาด้วยคาถา มีคาว่า ยสฺมึ ปเทเส กมฺเปติ วาส ปณฺฑิตชาติโย เป็ นต้น มีความว่า กลุ บตุ รผ้มู ีชาติแห่งบณั ฑิต สาเร็จการอย่ใู นประเทศใด พึงนิมนต์พรหมจารี ผ้มู ีศีลสารวมดีให้ฉัน ณ ท่ีนนั้ แล้ว อทุ ิศทกั ษิณาเพ่ือเทวดาผ้สู ถิตย์ ณ ท่ีนนั้ เทวดาทงั้ หลายนนั้ อนั กลุ บตุ รนนั้ บชู าแล้วย่อมบูชาตอบ อนั กุลบตุ รนนั้ นบั ถือแล้ว ย่อมนบั ถือตอบ แต่นนั้ ย่อมอนเุ คราะห์กุลบตุ รนนั้ ด้วยเมตตา ดจุ มารดากบั บุตร กุลบตุ รนนั้ อนั เทวดาอนเุ คราะห์แล้วย่อมเห็น (ได้) ผลอนั เจริญทกุ เม่ือ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 67

ปัจฉิมโพธิกาล ปริจเฉทท่ี ๙ทรงบาเพญ็ พทุ ธกจิ ในมคธชนบท จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 68

ปลงอายุสังขาร เมื่อพระศาสดาตรัสรู้แล้ว และได้เสด็จพระพทุ ธดาเนินสญั จรสง่ัสอนเวไนยสตั ว์ในคาม นิคม ชนบท ราชธานี มีเมืองราชคฤห์ แคว้นมคธเป็ นต้น จนประดิษฐานพระพทุ ธศาสนามี ภิกษุ ภิกษุณี อบุ าสก และอบุ าสิกา ซง่ึ เรียกว่า บริษัท ๔ นบั เวลาแต่อภิสมั โพธิสมยั ล่วงได้ ๔๔พรรษา ครัน้ ณ พรรษากาลท่ี ๔๕ เสด็จจาพรรษา ณ บ้านเวฬวุ คามเขตพระนครไพสาลี ทรงบาเพ็ญพทุ ธกิจจนเวลาล่วงไปถึงเดือนท่ี ๓ แห่งฤดเู หมนั ต์ อนั ได้แก่ มาฆมาส (เดือน ๓) วนั บุรณมี ทรงปลงอายุสงั ขาร ณ ปาวาลเจดีย์ว่า อีก ๓ เดือนต่อแต่นีไ้ ปตถาคตจกั ปรินิพพาน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 69

ทรงแสดงอภญิ ญาเทสิตธรรม เม่ือพระศาสดาประทบั อย่ทู ่ีกฏู าคารศาลาป่ ามหาวนั ตรัสประทานโอวาทสอนภิกษุสงฆ์ด้วยอภิญญาเทสิตธรรมว่า ธรรมทงั้ หลายที่เราแสดงด้วยปัญญาย่ิง คือ สติปัฏฐาน ๔ สมั มปั ปธาน ๔ อิทธิบาท ๔อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘ ช่ืออภิญญาเทสิตธรรมท่านทงั้ หลายพงึ เรียนให้ดี และส้องเสพเจริญทาให้มากในสนั ดานเถิด จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 70

ทรงแสดงอริยธรรม ๔ ประการ เมื่อพระศาสดาประทบั อยู่ ณ บ้านภณั ฑุคาม ทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุสงฆ์ว่า เพราะไม่หยง่ั รู้ธรรม ๔ ประการ คือ ศีล สมาธิ ปัญญาและวิมตุ ติ อนั เป็ นอริยธรรม นีแ้ ลเป็ นเหตุ เราและท่านทงั้ หลาย จึงได้ท่องเที่ยวไปในกาเนิดและคติ สิน้ กาลนานนกั อย่างนี ้ แต่บดั นีเ้ ราและท่านทงั้ หลายได้ตรัสรู้ธรรมทงั้ ๔ นนั้ แล้ว ตดั ตณั หาได้ ภพใหม่จึงไม่มีด้เป็ นอคั รสาวกเบือ้ งขวา เลิศทางปัญญา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 71

ทรงแสดงมหาปเทส ฝ่ ายพระสูตร ๔ เม่ือพระศาสดาประทบั อยู่ ณ อานนั ทเจดีย์ ในเขตโภคนครตรัสเทศนามหาปเทส ๔ ฝ่ ายพระสตู รว่า ถ้ามีผ้มู าอ้างพระศาสดา สงฆ์คณะ หรือบคุ คล แล้วแสดงว่านีธ้ รรม นีว้ ินยั นีส้ ตั ถศุ าสน์ อย่าด่วนรับหรือปฏิเสธ พึงสอบดกู บั พระสตู รและพระวินยั ถ้าไม่ตรงกนั พึงเข้าใจว่านน่ั ไม่ใช่คาสอนของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ถ้าตรงกนั พงึ ทราบว่า นน่ั เป็ นคาสอนของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า มหาปเทส แปลว่า ที่อ้างใหญ่ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 72

นายจุนทะถวายปัจฉิมบณิ ฑบาต ครัน้ ใกล้ถึงวนั ปรินิพพาน ตามท่ีทรงปลงอายสุ งั ขารไว้ สมเด็จพระโลกนาถพร้อมภิกษุสงฆ์พทุ ธบริวาร ได้เสด็จถึงปาวานคร ประทบั อยู่ ณ อมั พวนั สวนมะม่วงของนายจนุ ทะ บตุ รช่างทอง นายจนุ ทะทราบข่าว จึงไปเฝ้ าฟังธรรมเทศนาแล้ว กราบทลู เชิญเสด็จเพื่อทรงรับภตั ตาหารในวนั รุ่งขึน้ ทรงรับนิมนต์และเสด็จไปตามนนั้ ซ่ึงวนั นนั้ เป็ นวนั ก่อนวนั ปรินิพพานหน่ึงวนั (ขึน้๑๔ คา่ ) นายจนุ ทะได้ถวายสกู รมทั วะแก่พระศาสดา ทรงรับสงั่ ให้ถวายเฉพาะพระองค์เท่านนั้ ส่วนภิกษุสงฆ์ให้ถวายอาหารอย่างอ่ืน และให้เอาสกู รมทั วะท่ีเหลือจากท่ีเสวยฝังเสียในบ่อ หลงั จากทรงเสวยสกู รมทั วะได้ทรงประชวรลงพระโลหิต เกิดเวทนากล้าใกล้ตอ่ มรณทกุ ข์ จึงตรัสเรียกพระอานนท์มาว่า จกั เสด็จเมืองกุสินารา พระอานนท์ได้ปฏิบตั ิตามนนั้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 73

ผิวกายพระตถาคตผ่องใสย่งิ ๒ กาล ระหว่างทางเสด็จไปเมืองกสุ ินารา บุตรแห่งมลั ลกษัตริย์นามว่า ปกุกุสะ เป็ นสาวกของอาฬารดาบส กาลามโคตร ได้ถวายผ้าค่สู ิงคิวรรณตรัสให้ถวายพระอานนท์ผืนหน่ึง เมื่อปกุ กุสะหลีกไปแล้ว พระอานนท์ได้ถวายผ้าของท่านแก่พระศาสดา ทรงน่งุ ผืนหน่ึง ห่มผืนหน่ึง พรรณแห่งผิวพระกายผดุ ผ่องย่ิงนกั สมดงั ที่ตรัสว่า ดกู ่อนอานนท์ กายแห่งพระตถาคตย่อมบริสทุ ธิ์ ผิวพรรณผดุ ผ่องย่ิง ๒ เวลา คือ ในราตรีท่ีจะตรัสรู้ ๑ ในราตรีท่ีจะปรินิพพาน ๑ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 74

บณิ ฑบาตทาน ๒ คราว มีผลเสมอกัน ลาดบั นนั้ พระผ้มู ีพระภาคเจ้าได้ตรัสแก่พระอานนท์ว่า ดกู ่อนอานนท์บิณฑบาต ๒ อย่างนี ้ มีผลเท่ากนั มีอานิสงส์มากกว่าบิณฑบาตอย่างอ่ืน คือ บิณฑบาตท่ีตถาคตบริโภคแล้วได้ตรัสรู้ ๑ บิณฑบาตที่ตถาคตบริโภคแล้วปรินิพพาน ๑ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 75

ประทมอนุฏฐานไสยา ครัง้ นนั้ สมเด็จพระผ้มู ีพระภาคเจ้า พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ เสด็จพทุ ธดาเนินข้ามแม่นา้ หิรัญญวดี ถึงเมืองกสุ ินาราบรรลถุ ึงสาลวนั ตรัสสง่ั พระอานนท์ว่า เธอจงแต่งตงั้ ปลู าดซงึ่ เตียง ให้มีเบือ้ งศีรษะ ณ ทิศอดุ ร ณ ระหว่างแห่งไม้รังทงั้ คู่ เราเป็ นผ้เู หน็ดเหน่ือยนกั จกั นอนระงบั ความลาบาก พระเถระได้ทาตามพทุ ธอาณัติโดยเคารพ สมเด็จพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ทรงสาเร็จสีหไสยาโดยข้างเบือ้ งขวา ตงั้ พระบาทเหล่ือมด้วยพระบาท มีสติสมั ปชญั ญะ แต่มิได้มีอฏุ ฐานสญั ญามนสิการ เพราะเหตเุ ป็ นไสยาอวสาน เรียกว่า อนฏุ ฐานไสยา ข้อสังเกต อนุฏฐานไสยา การนอนโดยไม่มีสญั ญามนสิการว่าจะเสด็จลกุ ขนึ ้ อฏุ ฐานไสยา การนอนโดยมีสญั ญามนสิการว่า จะเสด็จลกุ ขนึ ้ ทรงประทบั โดยข้างเบือ้ งขวา ตงั้ พระบาทเหลื่อมกันทงั้ ๒ อย่าง ไม่มีความต่างกัน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 76

ทรงปรารภสักการบชู า สมยั นนั้ เทวดาทงั้ หลายได้บชู าสกั การะพระศาสดา ด้วยเคร่ืองบูชา มีดอกไม้ ของหอม ดนตรีทิพย์ สงั คีตทิพย์ เป็ นต้น มากมาย ทรงทราบด้วยจกั ษุทิพย์และทิพยโสต จึงตรัสแก่พระอานนท์ว่า พระตถาคตเจ้าไม่ช่ือว่าอนั บริษัทสกั การะนบนอบ นบั ถือ บชู า คานบั ด้วยสกั การะพิเศษเพียงเท่านี ้แต่ภิกษุ ภิกษุณี อบุ าสก อบุ าสิกา ผ้ปู ฏิบตั ิสมควรแก่ธรรมปฏิบตั ิชอบย่ิง ประพฤติธรรมสมควรแล้ว จึงช่ือว่าสกั การะ เคารพ นบนอบ นบั ถือ พระตถาคตเจ้าด้วยบูชาอย่างย่ิง จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 77

ทรงแสดงสังเวชนียสถาน ๔ ตาบล ครัง้ นนั้ พระโลกนาถทรงแสดงสถาน ๔ ตาบลแก่พระอานนท์ว่าเป็ นท่ีควรจะดู ควรจะเห็น คือ ๑. สถานท่ีพระตถาคตประสตู ิ ๒. สถานที่พระตถาคตตรัสรู้ ๓. สถานที่พระตถาคตแสดงพระธรรมจกั ร ๔. สถานท่ีพระตถาคตปรินิพพาน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 78

ทรงแสดงถปู ารหบคุ คล ๔ สมเด็จพระผ้มู ีพระภาคเจ้าทรงแสดงถปู ารหบคุ คล คือ ผ้คู วรแก่การประดิษฐานพระสถปู ๔ ประเภท คือ ๑. พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ๒. พระปัจเจกพทุ ธเจ้า ๓. พระอรหนั ตสาวก ๔. พระเจ้าจกั รพรรดิราช จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 79

โปรดสุภทั ทปริพาชก สมยั นนั้ ปริพาชกผ้หู นึ่งชื่อ สภุ ทั ทะ อาศยั อยู่ ณ เมืองกุสินารา มีความสงสยัมานานว่า ครูทงั้ ๖ คือ ปรู ณกัสสป มกั ขลิโคศาล อชิตเกสกมั พล ปกุทธกจั จายนะสญั ชยเวลฎั ฐบตุ ร นิครนถนาฏบตุ ร ซงึ่ คนเป็ นอนั มากสมมติกนั ว่าเป็ นผ้ปู ระเสริฐ ทงั้๖ ท่านได้ตรัสรู้จริงหรือไม่ จึงเข้าไปเฝ้ าพระศาสดาเพื่อทลู ถามปัญหานนั้ พระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรัสแก่เขาว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ ไม่มีในธรรมวินยั ใดสมณะที่ ๑ (คือ พระโสดาบนั ) สมณะที่ ๒ (คือ พระสกิทาคามี) สมณะท่ี ๓ (คือพระอนาคามี) สมณะที่ ๔ (คือ พระอรหนั ต์) ย่อมไม่มีในธรรมวินยั นนั้ สภุ ทั ทปริพาชกได้ทลู ขออุปสมบท จึงทรงมอบหมายให้พระอานนท์ว่า ถ้ากระนนั้ ท่านทงั้ หลายจงให้สภุ ทั ทะบวชเถิด พระอานนท์ได้ทาตามพุทธประสงค์ สภุ ทั ทปริพาชก ช่ือว่าได้อุปสมบทในสานกั แห่งพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ไม่นานนกั ก็ได้บรรลุอรหตั ผล จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 80

ทรงตงั้ พระธรรมวนิ ัยเป็ นศาสดา ลาดบั นนั้ สมเด็จพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกพระอานนท์ให้เป็ นผ้รู ับเทศนา ประทานโอวาทแก่ภิกษุบริษัท เพื่อจะให้มีความเคารพต่อพระธรรมวินยั ตงั้ ไว้ในท่ีแห่งพระศาสดาว่า ดกู ่อนอานนท์ ความดาริดงั นี ้ จะพึงมีบ้างแก่ท่านทงั้ หลายว่า ศาสนามีศาสดาล่วงแล้ว พระศาสดาแห่งเราทงั้ หลายไม่มี ดกู ่อนอานนท์ ท่านทงั้ หลายไม่พึงเห็นอย่างนนั้ ธรรมก็ดีวินยั ก็ดี อนั ใด อนั เราได้แสดงแล้ว ได้บญั ญัติไว้แล้วแก่ท่านทงั้ หลายธรรมและวินยั นนั้ จกั เป็ นศาสดาแห่งท่านทงั้ หลาย โดยกาลที่ล่วงไปแล้วแห่งเรา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 81

ปัจฉิมโอวาท ลาดบั นนั้ สมเด็จพระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุทงั้ หลายมาประทานปัจฉิมโอวาทว่า ดกู ่อนภิกษุทงั้ หลาย บดั นีเ้ ราขอเตือนทงั้ หลายว่า สงั ขารทงั้ หลายมีความเส่ือมความสิน้ ไปเป็ นธรรมดา ท่านทงั้ หลายจงยงั กิจทงั้ ปวงอนั เป็ นประโยชน์ตนและประโยชน์ผ้อู ่ืน ให้บริบูรณ์ด้วยไม่ประมาทเถิด พระวาจานีเ้ ป็ นท่ีสดุ ของพระตถาคตเจ้า ซง่ึ รวมเอาพระโอวาทท่ีได้ประทานแล้วตลอด ๔๕ พรรษา ไว้ในความไม่ประมาท จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 82

ปรินิพพาน หลงั จากตรัสปัจฉิมโอวาทแล้ว พระองค์ไม่ได้ตรัสอะไรอีกเลยทรงทาปรินิพพานบริกรรม (เตรียมปรินิพพาน) ด้วยอนปุ พุ พวิหารสมาบตั ิทงั้ ๙ คือ รูปฌาณ ๔ อรูปฌาณ ๔ สญั ญาเวทยิตนิโรคสมาบตั ิ ดบัจิตสงั ขาร คือ สญั ญาและเวทนา ๑ พระพทุ ธองค์ได้เสด็จดบั ขนั ธปรินิพพาน ในปัจฉิมยามแห่งราตรีวิสาขปรุ ณมีดิถีเพ็ญกลางเดือน ๖ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 83

อปรกาล จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 84

แจกพระบรมสารีริกธาตุ พระบรมสารีริกธาตุของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า มี ๓ ขนาด ขนาดใหญ่เท่ากบั เมล็ดถว่ั เขียวแตก (ครึ่ง) ขนาดกลางเท่ากบั เมล็ดข้าวสารแตก ขนาดเล็กเท่ากบัเมล็ดผกั กาด ขนาดใหญ่ ๕ ทะนาน ขนาดกลาง ๕ ทะนาน ขนาดเล็ก ๖ทะนาน โทณพราหมณ์ ได้แบ่งให้กษัตริย์และพราหมณ์ท่ีมาขอท่านละ ๒ ทะนานเอาไปประดิษฐานในสถปู ณ เมืองของตน ๘ แห่ง คือ ๑. พระนครราชคฤห์ ๒.พระนครเวสาลี ๓. พระนครกบิลพสั ด์ุ ๔. อลั ลกัปปนคร ๕. รามคาม ๖. นครเวฏฐทีปกะ ๗. นครปาวา ๘. นครกุสินารา ฝ่ ายโทณพราหมณ์ก็ได้เชิญตุมพะ คือ ทะนานตวงพระธาตไุ ปก่อพระสถปู บรรจุไว้ มีชื่อว่า ตุมพสถูป กษัตริย์เมืองปิ ปผลิวนั เชิญพระองั คาร คือ เถ้าถ่านที่ถวายพระเพลิงไปทาพระสถปู บรรจไุ ว้ มีช่ือว่า พระองั คารสถปู จึงรวมพระสถปู เจดีย์สถานเมื่อปฐมกาล ๑๐ แห่งด้วยประการฉะนี ้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 85

ประเภทแห่งเจดยี ์ ในปฐมกาล หลงั จากพระศาสดาเสด็จดบั ขนั ธปรินิพพานใหม่ ๆ มีเจดีย์๒ ประเภท คือ ๑. พระสถปู ท่ีบรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุ ๘ ส่วน ท่ีโทณพราหมณ์แบ่งให้ เรียกว่า ธาตุเจดีย์ ๒. ตมุ พสถปู องั คารสถปู และสงั เวชนียสถาน ๔ ตาบล เรียกว่าบริโภคเจดีย์ ครัน้ ต่อมา พระพทุ ธศาสนาแผ่กว้างออกไป พทุ ธศาสนิกชนหาพระธาตุไม่ได้ จึงได้สร้างสถปู แล้วนาเอาคมั ภีร์พระธรรมไปบรรจไุ ว้ เรียกว่า ธรรมเจดีย์ ต่อมา เมื่อโลกเจริญขึน้ จึงมีการสร้างพระพทุ ธรูปขนึ ้ กราบไหว้บชู าเรียกว่า อทุ เทสิกเจดีย์ รวมทงั้ หมดจึงเป็ นเจดีย์ ๔ ประเภท เป็ นท่ีเคารพนบัถือบชู าแทนองค์พระศาสดา แห่งพทุ ธศาสนิกชน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 86

ความเป็ นมาแห่งพระธรรมวนิ ัย สังคายนาครัง้ ท่ี ๑ เพราะพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าได้ตรัสว่า ดกู ่อนอานนท์ ธรรมก็ดี วินยั ก็ดีอนั ใด อนั เราแสดงแล้วบญั ญัติไว้แล้ว แก่ท่านทงั้ หลาย ธรรมและวินยั นนั้ จกั เป็ นศาสดาแห่งท่านทงั้ หลาย โดยกาลที่ลว่ งไปแล้วแห่งเรา ดงั นนั้ การสงั คายนาคือ รวบรวมพระธรรมวินยั ที่พระองค์ทรงแสดงไว้ในท่ีนนั้ ๆ ตลอดเวลา ๔๕ ปีให้เป็ นหมวดหมู่ เพ่ือเป็ นหลกั ฐานในการประพฤติปฏิบตั ิ จึงเป็ นเร่ืองท่ีจาเป็ น เม่ือถวายพระเพลิงพระสรีระของพระศาสดาแล้ว ท่านพระมหากสั สปะได้นาเร่ืองหลวงตาสภุ ทั ทะกล่าวล่วงเกินพระธรรมวินยั ว่า บดั นีพ้ ระสมณโคดมนิพพานแล้ว พวกเราอยากจะทาอะไรก็ทา พดู เหมือนกบั ไม่เคารพพระธรรมวินยัปรารถนาจะทาอะไรตามใจตนเอง โดยไม่ต้องปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั เป็ นสญั ญาณบ่งบอกถึงอนั ตรายที่จะเกิดแก่พระพทุ ธศาสนา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 87

สังคายนาครัง้ ท่ี ๑(ต่อ) พระมหากสั สปะ จึงชกั ชวนภิกษุทงั้ หลายให้ทาการสงั คายนาพระธรรมวินยั ได้คดั เลือกภิกษุสงฆ์องค์อรหนั ต์ ๕๐๐ รูป ไปทาสงั คายนาท่ีถา้สตั ตบรรณคหู า ข้างภเู ขาเวภารบรรพต แขวงเมืองราชคฤห์ เป็ นสงั คายนาครัง้ แรก เม่ือพระศาสดาปรินิพพานได้ ๓ เดือน โดยมีพระเจ้าอชาตศตั รูเป็ นองค์อปุ ถมั ภ์ กระทาอยู่ ๗ เดือนจึงสาเร็จ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 88

สังคายนาครัง้ ท่ี ๒ เม่ือพระศาสดาปรินิพพานได้ ๑๐๐ ปี ภิกษุวชั ชีบตุ ร ชาวเมืองเวสาลี แสดงวตั ถุ ๑๐ ประการ อนั ผิดพระธรรมวินยั มีทงั้ บรรพชิตและคฤหสั ถ์เห็นดีเห็นชอบด้วยจานวนมาก ยากท่ีจะแก้ไข องค์พระอรหนั ต์๗๐๐ รูป มีพระยสกากณั ฑกบุตรเป็ นประธาน ได้ประชุมกนั ที่วาลิการามเมืองเวสาลี ชาระวตั ถุ ๑๐ ประการ ประดิษฐานธรรมวงศ์ให้บริสทุ ธิ์สืบมาทาอยู่ ๘ เดือนจึงสาเร็จ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 89

สังคายนาครัง้ ท่ี ๓ เม่ือพระศาสดาปรินิพพานได้ ๒๑๘ ปี ในรัชสมยั ของพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งปาฏลีบุตร เดียรถีย์ปลอมบวชในพระพทุ ธศาสนาจานวนมาก ประพฤติผิดแปลกแตกต่างไปจากพระธรรมวินยั พระโมคคลั ลีบุตรติสสเถระ ได้พ่ึงราโชปถมั ถ์ในพระเจ้าอโศกมหาราช กาจดั เดียรถีย์เหล่านนั้ ออกจากสงั ฆมณฑล แล้วพร้อมด้วยพะอรหนั ต์ ๑,๐๐๐ องค์ ชาระวาทะซง่ึ เป็ นมลทินแห่งพระธรรมวินยั ออกได้แล้วประดิษฐานธรรมวงศ์ให้ดารงสืบมา กระทาอยู่ ๙ เดือนจึงสาเร็จ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 90


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook