Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book

E-Book

Description: E-Book

Search

Read the Text Version

การแทนค่าขอ้ มูล ชนิดของขอ้ มูล และสญั ญาณการส่อื สารขอ้ มูล 1 การแทนค่าขอ้ มูล 2 ชนิดของขอ้ มูล 3 ความหมายของสญั ญาณดจิ ติ อล 4 สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาด 5 แนวทางในการป้องกนั ขอ้ มูลผิดพลาด

การแทนคา่ ขอ้ มูล ขอ้ มูลท่ใี ชใ้ นการสื่อสารปัจจุบนั สามารถจาแนกได้ 5 ประเภท ดงั น้ ี ขอ้ ความหรือสายอกั ขระ (Text) วีดโิ อทศั น์ (Video) 1-10 ตวั เลข (Number) เสยี ง (Audio) ภาพ (Image)

แอสกี (ASCII) แอสกี ชื่อเต็มคือ American Standard Code for Information Interchange การแทนตวั อกั ษร ด้วยวิธีน้ ีเป็ นการแทนตัวอักษร 1 ตัวอักษร ด้วยเลขฐานจานวน 7 บิต หรือกล่าวได้ว่า ตวั อกั ษร 1 ตวั จะแทนค่าดว้ ยบิตจานวน 7 บิต ดงั น้ัน ในกรณีน้ ีสามารถแทนค่าตัวอกั ษรได้ 27 เท่ากับ 128 ตัวอักษร จะเห็นไดว้ ่าจานวนตัวอักษรท่ีสามารถแทนค่าไดม้ ีจานวนน้อย และ สามารถแทนคา่ ไดเ้ พียงอกั ษรภาษาองั กฤษและอกั ขระบางตวั เท่าน้ัน แอสกีขยาย (Extended ASCII) จากขอ้ จากัดในการแทนค่าตัวอักของแอสกีที่มีจานวนตัวอักษรไดเ้ พียง 128 ตัวอักษร และความตอ้ งการในการใชต้ ัวอักษรท่ี หลากหลายมีจานวนมากข้ ึนจึงไดม้ ีการขยายจานวนบิตเพ่ือแทนษรค่าขอ้ มูลไดม้ ากข้ ึนจึงไดม้ ีการขยายจานวนบิตเพ่ือแทนค่าขอ้ มูล ไดม้ ากข้ ึนตามความตอ้ งการเรียกว่ารหสั แอสกีขยาย การแทนค่าตัวอกั ษรดว้ ยรหสั น้ ีเป็ นการขยายประสิทธิภาพของก ารแทนค่า ตวั อกั ษรดว้ ยการใชร้ หสั แอสกี 7 บิต ใหส้ ามารถแทนค่าไดม้ ากข้ ึน โดยมีการเพ่ิมบิตข้ ึนอีก 1 บิต ในการแทนค่าแต่ละตวั อกั ษรดงั น้ ี กล่าวไดว้ า่ 1 ตวั อกั ษร สามารถแทนดว้ ยบิตจานวน 8 บิต ซึ่งทาใหส้ ามารถแทนจานวนตวั อกั ษรไดท้ ้งั ส้ ิน 256 ตวั อกั ษร รหสั สลบั เปล่ียนเลขฐานสิบเขา้ รหสั เลขฐานสองแบบขยาย(Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) หรอื เอบซีดิก (EBCDIC) ลกั ษณะของการแทนค่าตวั อกั ษรจะมีความคลา้ ยกบั การแทนค่าดว้ ยระบบแอสกีขยาย กล่าวคือ ความยาวของแต่ละตวั อกั ษรจะแทน ดว้ ยบิตตวั ขอ้ มลู จานวน 8 บิต โดยแต่ละตาแหน่งมีการกาหนดค่าของตวั อกั ษรภาษาองั กฤษและอกั ขระพิเศษไวช้ ดั เจน

ยนู ิโคด (Unicode) แมว้ ่าจะมีการขยายจานวนบิตในการแทนค่าขอ้ มูลจาก 7 บิต เป็ น 8 บิต แต่ รหสั แอสกีก็ไมส่ ามารถรองรบั ความหลากหลายของตวั อกั ษรในโลกน้ ีไดเ้ น่ืองจาก ภาษาในโลกน้ ีมีหลากหลายภาษา และแต่ละภาษามีตัวอักษรของมันเอง เช่ น ภาษาไทย ภาษาญ่ีป่ ุน และภาษาจีน เป็ นต้น ซึ่งรหัสแอสกีท่ีพัฒนาข้ ึนไม่ สามารถรองรับจานวนตัวอักษรของทุกภาษาไดเ้ พียงพอ ดังน้ัน การแทนค่ า ขอ้ มูลจึงปรับเปลี่ยนขอ้ มูลจาก 8 บิต ต่อ 1 ตัวอักษร เป็ นจานวน 16 บิต ต่อ 1 ตวั อกั ษร ทาใหส้ ามารถแทนตัวอกั ษรในโลกไดท้ ้ังส้ ิน 216 หรือ 65,53 6 ตัวอักษร แต่ยูนิโคดมีกลไกในการแทนค่าขอ้ มูลไดเ้ ป็ นลา้ นตัวอักษรโดยไม่ ตอ้ งใชร้ หสั เพ่ิมเติม ซ่ึงเพียงพอที่จะรองรบั ความตอ้ งการในการแทนค่าตวั อกั ษร ต่างๆได้ ยูนิโคดพฒั นาข้ ึนจากความร่วมมือของกลุ่มบริษัทที่เรียกว่า เดอะยูนิ โคดคอนซอเทียม (TheUnicodeConsortium) ซ่ึงประกอบดว้ ยบริษัทไอบีเอ็ม ไมโครซอฟท์ แอปเปิ ล ซีร็อกซซ์ นั คอมแพค โนเวลอะโดบี และเวริ ด์ เฟ็ ค

ชนิดของขอ้ มูล ชนิดขอ้ มูลท่ีเกิดในระบบส่ือสารไมว่ า่ จะเป็ นขอ้ มลู ภายใตร้ หสั แบบใดก็ตาม จะแบง่ เป็ น 2 ประเภท คือ 1. ขอ้ มลู อนาล็อกหรือขอ้ มลู เชิงอุปทาน 2. ขอ้ มลู ดิจติ อลหรือขอ้ มลู เชิงเลข ขอ้ มูลเหล่าน้ ีจะถูกส่งจากแหล่งขอ้ มลู ตน้ ทางไปยงั ปลายทางจะตอ้ งมีการแปลงเป็ นสญั ญาณ ขอ้ มูลก่อนเพ่อื ส่งเขา้ สสู่ ่ือขอ้ มูลที่ใชใ้ นการนาสญั ญาณขอ้ มลู ประเภทต่าง ๆ

ความหมายของสญั ญาณอนาลอ็ ก เมื่อขอ้ ความต่าง ๆ ถูกแปลงเป็ นรหสั ขอ้ มูลแลว้ กอ่ นการส่งขอ้ มูลสู่ช่องทางการส่ือสารขอ้ มูลจะตอ้ งถูกแปลง ใหเ้ ป็ นขอ้ มูลสญั ญาณขอ้ มูลท่ีเหมาะสมกบั สื่อนาสญั ญาณ (เช่น สายทองแดง หรือ วทิ ยาการ เสน้ ใยนาแสง) กอ่ นจึงสามารถส่งสญั ญาณขอ้ มลู ไปบนส่ือเหล่าน้ันได้ สญั ญาณขอ้ มูลสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ สญั ญาณอนาล็อก (Analog Signal) หรือเรียกวา่ สญั ญาณอุปมาน และสญั ญาณดิจิตอล(Digital Signal) ความหมายของคาวา่ อนาล็อกมาจากคาเดิมวา่ Anal ogous แปลวา่ เหมือนกบั เม่ือประมาณความหมายโดยรวมจะหมายถึงความต่อเนื่อง ดงั น้ันขอ้ มูลอนาล็อก จะหมายถึงขอ้ มูลที่ต่อเนื่อง เช่น ขอ้ มูลเสียงรอ้ งของนก ขอ้ มูลความเร็วรถยนต์ เป็ นตน้ ทา นองเดียวกัน สญั ญาณอนาล็อกจะหมายถึงสญั ญาณท่ีมีความต่อเนื่องท่ีใชแ้ ทนขอ้ มูลที่มีความตอ่ เน่ืองเหล่าน้ัน

ลกั ษณะของสญั ญาณอนาล็อก สัญญาณอนาล็อกเป็ นสัญญาณท่ีมีความต่อเนื่องเป็ นลักษณะของคลื่น เช่น สัญญาณเสี ยงเป็ น รูปแบบหนึ่งของสญั ญาณอนาล็อกท่ีรูจ้ กั กนั เป็ นอย่างดี โดยสญั ญาณเสียงจะถูกแปลงใหเ้ ป็ นคล่ืนไฟฟ้าหรือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อส่งไปบนสื่อเพื่อการสื่อสารขอ้ มูล คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็เป็ นอีกประเภทหน่ึงของ สญั ญาณอนาล็อก

คุณสมบตั ิของสญั ญาณอนาล็อก จากลักษณะของสญั ญาณอนาล็อกท่ีไดก้ ล่าวแลว้ ขา้ งตน้ สามารถสรุปไดเ้ ป็ นคุณสมบตั ิ พ้ ืนฐานของ สญั ญาณไดด้ งั น้ ี 1. ความถ่ีของสญั ญาณ คือ อตั ราการเปล่ียนแปลงที่ข้ นึ กบั เวลา 2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ ึนในระยะเวลาส้นั ๆของคล่ืนสญั ญาณแสดงวา่ คล่ืนสญั ญาณมคี วามถ่ีสงู 3. การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ ึนในระยะเวลานานๆของคล่ืนสญั ญาณแสดงวา่ คลื่นสญั ญาณมีความถ่ีตา่ 4. หากสญั ญาณไมม่ กี ารเปล่ียนแปลงเลยในชว่ งเวลาหน่ึงๆกล่าววา่ ความถี่ของสญั ญาณมีค่าเป็ น 0 5. หากสญั ญาณมกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา กล่าววา่ ความถ่ีเป็ นอนันต์ 6. สญั ญาณอนาล็อกที่มีคุณสมบตั ิท่ีแตกต่างกนั สามารถนาส่งในช่วงสญั ญาณเดียวกนั ได้ เรียกว่า การรวม คลื่นสญั ญาณ

ความหมายของสญั ญาณดิจติ อล สญั ญาณดิจิตอล (Digital Signal) เป็ นสญั ญาณอีกรูปแบบหน่ึงที่ใชส้ ง่ ขอ้ มลู ไปบนสื่อ ท้งั น้ ีสญั ญาณดิจิตอลเป็ นสญั ญาณที่สรา้ งข้ นึ จากเคร่ืองกาเนิดสญั ญาณหรืออุปกรณไ์ ฟฟ้า เชน่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ จอเทอรม์ ินอล หรืออุปกรณอ์ ื่น ๆ ในระบบเครือข่าย เป็ นตน้ ลักษณะสัญญาณท่ีเป็ นรูปแบบที่ไม่มีความต่อเน่ือง หรือกล่าวว่ากาลังไฟฟ้าที่ส่งน้ันเป็ นจังหวะของก ารส่งที่ใชแ้ ทนไดด้ ว้ ย เลข 0 และ 1 ซึ่งใชเ้ ป็ นรหสั ขอ้ มุลในระบบการส่ือสารนัน่ เอง สญั ญาณดิจิตอลมีลกั ษณะเป็ นกราฟส่ีเหลี่ยม (Square Graph) เป็ นสญั ญาณแบบไม่ต่อเนื่องรูปแบบของสัญญาณมีการ เปล่ียนแปลงแบบไม่ปะติดปะต่อ กล่าวคือ มีบางช่วงท่ีระดับสัญญาณเป็ น 0 การเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลใหอ้ ยู่ในรูปของสัญญาณ ดิจิตอลตอ้ งทาการแปลงขอ้ มูลใหข้ อ้ มูลเป็ นแบบดิจิตอลก่อน นัน่ คือตอ้ งแปลงใหอ้ ยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 แลว้ ทา การแปลงขอ้ มลู น้ันใหเ้ ป็ นสญั ญาณดิจติ อล ซึ่งสามารถแปลงไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ แบบ Unipolar แทนบิต 0 ดว้ ยระดบั สญั ญาณท่ี เป็ นกลางและบิต 1 ดว้ ยระดบั สญั ญาณเป็ นบวก การสง่ สญั ญาณขอ้ มลู แบบดิจิตอลมีคุณภาพดีกวา่ แบบอนาล็อกเมื่อตอ้ งการส่งใน ระยะทางท่ีไกลไปจะตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ทวนสญั ญาณที่เรียกว่า รีพีตเตอร์ (Repeater) ซ่ึงรีพีตเตอร์จะทาการกรองสัญญาณรบกวน ออกกอ่ นแลว้ ค่อยเพมิ่ ระดบั สญั ญาณ จากน้ันจึงส่งออกไป จะเห็นไดว้ า่ คุณภาพของสญั ญาณที่สง่ ออกไปจะใกลเ้ คียงของเดิมท่ีส่งมา สญั ญาณดิจิตอลมีหน่วยวดั ความเร็วเป็ นบิตต่อนาที หรือ bit per second (bps) หมายถึง จานวนบิตท่ีส่งไดใ้ นช่วงเวลา 1 วนิ าที เชน่ โมเด็มมีความเร็ว 56 kbps ควายความวา่ โมเด็มสามารถผลิตสญั ญาณดิจิตอลไดป้ ระมาณ 56,000 บิต ใน 1 วนิ าที

สญั ญาณแบบดิจิตอลประกอบข้ ึนจากระดบั สญั ญาณเพียง 2 ค่า คือ สญั ญาณระดบั สูงสุดและสญั ญาณระดบั ตา่ สุด ดงั น้ัน จะมีประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือสงู กวา่ แบบอนาล็อก เน่ืองจากมกี ารใชง้ านเพียง 2 คา่ เพอื่ นามาตีความหมายเป็ น On /Off หรือ 1/0 เท่าน้ัน ซึ่งสญั ญาณดิจิตอลน้ ี จะเป็ นสญั ญาณท่ีคอมพิวเตอรใ์ ชใ้ นการทางานและติดต่อสื่อสารกนั ในทาง ปฏิบตั ิ จะสามารถใชเ้ คร่ืองมือในการแปลงสญั ญาณท้ังสองแบบได้ เพื่อช่วยใหส้ ามารถส่งสัญญาณดิจิตอล ผ่านสัญญาณ พาหะที่เป็ นอนาล็อก เชน่ สายโทรศพั ทห์ รือคลื่นวทิ ยุ การแปลงสญั ญาณดิจิตอลเป็ นอนาล็อก เรียกวา่ โมดูเลชนั่ (Modulati on) เช่น การแปลงสญั ญาณแบบ Amplitude Modulation (AM) และ Frequency Modulation ตวั อย่างของเครื่องมือการ แปลง เช่น MODEM (Modulation Demodulation) นัน่ เอง

สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาด สญั ญาณรบกวน (Noise) ที่เกิดข้ ึนระหว่างการส่งขอ้ มูลมีหลายรูปแบบ ดังน้ัน การทาความเขา้ ใจ เก่ียวกบั ความแตกต่างและสาเหตุของการเกิดสญั ญาณรบกวนแต่ละรูปแบบจะช่วยใหก้ ารนาเทคนิค และการนาสัญญาณรบกวน (Noise Reduction) มาใชเ้ พ่ือจากัดปริมาณของสัญญาณรบกวนที่จะ ส่งไปยังผูร้ ับทาไดส้ ะดวกข้ ึน แต่ปัญหาเก่ียวกับสัญญาณรบกวนบางประเภทเป็ นส่ิงที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ เช่น สญั ญาณรบกวนที่เกิดจากการส่งสญั ญาณขอ้ มูลดว้ ยกาลงั สูง ซ่ึงอาจทาใหเ้ กิดการ ผิดพลาด (Error) ได้ ขอ้ ผิดพลาดท่ีเกิดข้ ึนระหวา่ งการส่งขอ้ มูลเกิดข้ นึ ไดห้ ลายสาเหตุ เชน่ การส่งสญั ญาณไฟฟ้าท่ี ไมต่ ่อเน่ือง ซ่ึงอาจเกิดจากไฟฟ้าดบั หรอื การใชส้ ายทองแดงแบบเก่าที่ถูกรบกวนดว้ ยสญั ญาณต่าง ๆ ไดง้ ่ายรวมท้งั ในระบบ ดาวเทียม (Satellite) ไมโครเวฟ (Microwave) และวทิ ยุ (Radio) ก็สามารถถูกรบกวนดว้ ยสญั ญาณ ต่าง ๆได้ แมแ้ ต่การสง่ ขอ้ มลู ผ่านใยแกว้ นาแสง (Fiber-Optic) กส็ ามารถถกู รบกวนโดยสญั ญาณ รบกวนในรูปแบบต่าง ๆ ไดเ้ ช่นกนั ใหพ้ ิจารณารปู แบบของสญั ญาณรบกวนที่พบไดบ้ อ่ ยคร้งั ระหวา่ ง การสง่ ขอ้ มลู

สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาด White Noise Impulse Noise White Noise (อาจเรียกวา่ Thermal Impulse Noise หรือ Noise spike Noise หรือ Gaussian Noise) เป็ นสญั ญาณรบกวนแบบไมต่ ่อเนื่อง เป็ นสัญญาณรบกวนแบบต่อเน่ื องที่ มี (Noncontinuos Noise) ลักษณะเป็ นคล่ืนเสียง ซึ่งทาให้สัญญาณ ที่เกิดข้ ึนในระยะเวลาส้ันๆซ่ึงยากต่อการ อนาล็อกหรือดิจิตอลมีสัญญาณไม่ชัดเจน ตรวจสอบ สญั ญาณรบกวนแบบ Impulse N โดยอาจเกิดข้ ึนโดยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ oise จะเกิดจากแรงดังของไฟฟ้าแรงสูงจาก หรือสายส่งขอ้ มูล รวมท้ังอุณหภูมิของคล่ืน ภ า ย น อ ก เ ช่ น ฟ้ า ผ่ า ซ่ึ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ สื่อกลาง หากอุณหภูมิเพ่ิมข้ ึนจะทาให้ กระแสไฟฟ้าภายในทองแดงเปล่ียนแปลงไป อิเล็กตรอนในสื่อกลางมีการเคลื่อนท่ี มาก จากเดิม ข้ ึน ระดับของสัญญาณรบกวนจะมากข้ ึน ตามไปดว้ ย

สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาด Crosstalk Echo Crosstalk คือสัญญาณรบกวนท่ีเกิด Echo คือ การสะท้อนของสัญญาณท่ี จ า ก ก า ร ว า ง ส า ย สื่ อ ส า ร ห ล า ย ๆ ส า ย ไ ว ้ ส่งผ่านส่ือกลาง คล้ายกับการเปล่งเสียง ดว้ ยกัน ทาให้สัญญาณจากสายสัญญาณ ภายในหอ้ งว่างซ่ึงจะมีเสียงสะทอ้ นกลับมา ต่างๆรบกวนซ่ึงกนั และกนั นอกจากน้ ีการใช้ โดยสัญญาณท่ีอยู่ภายในสายส่ง สามารถ สายส่ือสารท่ีมีขนาดเล็กเกินไปหรือการใช้ กระทบกบั จุดปลายสายและยอ้ นกลบั มาโดย สายสญั ญาณท่ีมีระดบั ความแรงมากเกินไป ก า ร ส อ ด แ ท ร ก กับ สั ญ ญ า ณ ต้น ฉ บั บ จะทาให้เกิดปั ญหาได้ สาเหตุสาคัญอีก ขอ้ ผิดพลาดที่เกิดข้ ึนบ่อยคร้งั กบั จุดเช่ือมต่อ ประการที่ทาใหเ้ กิด Crosstalk คือความช้ ืน สายสญั ญาณ สมั พนั ธแ์ ละอากาศท่ีเปี ยกช้ ืน

สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาด Jitter Delay Distortion Jitter เกิดจากความผิดพลาดใน Delay Distortion เป็ นการผิดเพ้ ียนท่ี เร่ืองของเวลาในขณะท่ีสัญญาณถูกส่งจาก เกิดจากการเคลื่อนที่ของสญั ญาณขอ้ มูลท่ีมี อุปกรณ์ช้ ินหนึ่งไปยังอุปกรณ์อื่น ทาใหม้ ี ความถ่ีต่างกนั ดว้ ยความเร็วท่ีต่างกัน ทาให้ การขยายขนาดของสัญญาณดิจิตอลข้ ึนใน สัญญาณท่ีส่งย้อนมาทีหลังซ้อนทับ กับ บริเวณที่เป็ นชว่ งข้ ึนลงของสญั ญาณดิจิตอล สัญญาณก่อนหน้า จนเกิดการผสมรวมกัน ทาใหข้ อ้ มูลผิดพลาด ส่วนวิธีแกไ้ ขทาไดโ้ ดย ติดต้ังอุปกรณ์ Equalizer เพื่อปรับความเร็ว ในการเคลื่อนท่ีของแต่ละความถ่ีใหเ้ ท่ากนั

สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาด Attenuation Attenuation เกิดจากสญั ญาณอ่อน กาลังลง ทาใหถ้ ูกรบกวนไดง้ ่าย วิธีแกไ้ ข ปัญหาดงั กล่าวทาไดโ้ ดยใชอ้ ุปกรณ์ Amplifie r ห รื อ Repeater เ พื่ อ เ พิ่ ม ก า ลั ง ใ ห้กั บ สญั ญาณอนาล็อกหรือดิจิตอลตามลาดบั

แนวทางในการป้องกนั ขอ้ มูลผิดพลาด สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาดท่ีเกิดข้ ึนระหว่างการส่งขอ้ มูลน้ันมีหลายรูปแบบโดยผลกระทบท่ีไดร้ บั จาก สญั ญาณรบกวนระหว่างการส่งขอ้ มูล คือ สถานีการส่งสญั ญาณท่ีอตั ราการส่งขอ้ มูลลดลง ทาให้อตั ราเร็วใน การรบั ขอ้ มลู ของฝัง่ ผรู้ บั สงู กวา่ วธิ ีแกไ้ ขปัญหาจากสญั ญาณรบกวนท่ีดีที่สุด คือ การป้องกนั ขอ้ ผิดพลาด (Erro r Prevention) กอ่ นท่ีจะเกิดสญั ญาณรบกวนข้ นึ โดยสามารถทาไดห้ ลายวธิ ีดงั น้ ี 1. ติดต้งั สายสญั ญาณที่มฉี นวนหุม้ เพอ่ื ลดสญั ญาณรบกวนท่ีเกิดจากสนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าหรือ Crosstalk 2. ใชส้ ายโทรศพั ทท์ ี่มกี ารกรองสญั ญาณรบกวนซึ่งถูกจดั เตรียมโดยผใู้ หบ้ ริการโทรศพั ท์ เช่น สายคู่เช่า (Leas ed Line) ซึ่งมกี ารกรองใหส้ ญั ญาณมีระดบั คงท่ี และอตั ราการเกดิ ขอ้ ผิดพลาดตา่ 3. เปล่ียนมาใชอ้ ุปกรณ์ท่ีมีเทคโนโลยีใหม่ๆแมว้ ่าอุปกรณ์เหล่าน้ ีจะมีราคาแพง แต่สามารถลดขอ้ ผิดพลาด ต่างๆไดเ้ ป็ นอยา่ งดี 4. ติดต้ังอุปกรณ์ทวนสัญญาณ เช่น รีพีตเตอร์ (Repeater) สาหรับเพ่ิมสัญญาณดิจิตอลหรือแอมพลิไฟ เออร์ (Amplifier) เพอ่ื เพิ่มสญั ญาณอนาล็อก เป็ นตน้ 5. ตรวจสอบคุณสมบตั ิสื่อกลางท่ีนามาใชง้ าน เช่น สาย CAT5e สามารถส่งขอ้ มูลไดไ้ ม่เกิน 100 เมตร หาก นาสาย CAT5e มาใชส้ ่งขอ้ มูลที่มีระยะทางมากกว่า 100 เมตร อาจทาใหส้ ัญญาณขาดหาย ดังน้ัน จะตอ้ ง ติดต้งั รีพตี เตอรเ์ พอ่ื ทวนสญั ญาณดว้ ย

จบการนาเสนอ น.ส.ภณั ฑิรา วฒั นากร ปวส. 2 คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ .1 เลขท่ี 20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook