Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fundamentals of color theory

Fundamentals of color theory

Published by aof_photo, 2018-12-23 23:05:14

Description: Fundamentals of color theory

Search

Read the Text Version

FUNDAMENTALS OF COLOR THEORY In this lessons we will be focusing on the fundamentals of color theory. We’ll begin by learning about three different groups of color that, together make up the twelve segments of our basic color wheel.

สีคอื อะไร ?สีคือการรับรู้ ไม่มีตัวตนเป็นสารในทางฟิสิกส์ คือไม่ได้อยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรอื กา๊ ซสีจะเกิดข้ึนได้ต้องมีองค์ประกอบ 2ประการคือ แสงและผู้สังเกต โดยตาของมนุษย์จะทาหน้าที่เป็นส่วนรับแสงและส่งสัญญานไปยังสมองเพื่อแปลสัญญาณดังกล่าวเป็นการรับรู้สีตา่ ง ๆ

ภายในตาจะมีส่วนท่ีเรียกว่าเรตินามีหน้าที่รับแสง และเปล่ียนแสงเป็นกระแสประสาท โดยมเี ซลล์รบั แสงอยสู่ องประเภทคือเซลล์รับแสงรูปแท่งและเซลล์รับแสงรูปกรวย เซลล์รับแสงรูปแท่งจะทางานเม่ือแสงน้อย ส่วนเซลล์รับแสงรูปกรวยจะทางานเม่ือมแี สงมากและเป็นเซลล์ท่ีทาให้เกิดการรับรู้สี โดยแสงเซลล์รับแสงรูปกรวยมี 3 ชนิด คือเซลล์ท่ีไวต่อแสงสีแดง (เรียกว่า L) สีเขียว (เรียกว่า M) และสีน้าเงิน(เรียกว่า S) เมื่อได้รับแสง เซลล์รับแสงท้ังสามจะถูกกระตุ้นในอัตราส่วนท่ีต่างกันข้ึนกับสีและความเข้มของแสงที่ตกกระทบ และสมองก็จะแปลสัญญาณท่ีแตกต่างกันนั้นเปน็ สตี า่ งๆ อกี ที

สีของวัตถุแสงขาวที่เห็นในธรรมชาติเม่ือตกกระทบลงบนวัตถุใด ๆ จะเกิดปรากฏการณไ์ ด้หลายอย่างกล่าวคือสามารถ สะท้อน ดูดกลืนและส่องผ่าน ถ้าหากวัตถุสามารถสะท้อนแสงได้หมดทุกความยาวคลื่น ในปริมาณท่ีเท่า ๆ กัน เราจะเห็นวัตถุนั้นเป็นสีขาว ถ้าหากวัตถุดูดกลืนแสงไว้หมดเราจะเห็นวัตถุนั้นเป็นสีดา เพราะไม่มีแสงจากวัตถุน้ันเข้าตาของเราเลย

สขี องวตั ถุเนือ่ งจากวัตถดุ ูดกลนื แสงสีได้ไมเ่ ท่ากันในแตล่ ะความยาวคล่ืน เม่ือมีแสงขาวมาตกกระทบวัตถนุ น้ั จะปรากฎใหเ้ ห็นเปน็ สีตัวอย่างเช่นแอปเป้ิลจะดูดกลืนแสงสีน้าเงินและสีเขียวไว้ และสะท้อนแสงสีแดงออกมา เราจึงเห็นเป็นสแี ดง เป็นตน้

ระบบสี Color Systems - RGB & CMYK การผสมสีแบบบวก การผสมสแี บบลบ(additive color mixing) (subtractive color mixing)Color Systems - RGB & CMYK The color systems used by scientists and artists are entirely different. An artist will mix blue and yellowpaint to get a shade of green; a scientist will mix green and red light to create yellow. The printed page in a magazine isyet another system.

สปี ฐมภูมิ (Primary Color) เปน็ สบี ริสทุ ธจ์ านวน 3 สี ทีไ่ มเ่ คยผสมกบั สีใดมาก่อนและไม่อาจใชส้ ี อน่ื ผสมเพือ่ สรา้ งแมส่ ปี ฐมภมู ไิ ด้ ได้แก่ สเี หลือง แดง และน้าเงิน

สที ตุ ยภมู ิ (Secondary Color)เป็นสีผสมจานวน 3 สีโดยการนาแม่สปี ฐม สเี หลือง + สแี ดง = สีส้มภมู ิมากนั ไดแ้ ก่ สแี ดง + สีน้าเงนิ = สีม่วง สนี าเงิน + สเี หลือง = สเี ขียว

สตี ติยภมู ิ (Tertiary Color)เปน็ สีผสมจานวน 6 สีซงึ่ เกดิ จากแมส่ ีปฐมภูมิกบั สีทุตยิ ภมู มิ าผสมกัน ไดแ้ ก่สเี หลือง + สสี ้ม = สีส้มเหลืองสีแดง + สสี ้ม = สสี ม้ แดงสีแดง + สมี ว่ ง = สีมว่ งแดงสนี ้าเงิน + สีม่วง = สมี ว่ งนา้ เงนิสนี า้ เงิน + สีเขยี ว = สเี ขียวน้าเงนิสีเหลือง + สเี ขยี ว = สเี ขียวเหลอื ง

1. MONOCHROMATIC (ใช้สเี ดียวท้ังภาพ)การใช้ สีเดียว.. ทงั้ ภาพ แตกต่างกนั ท่ี ความสว่างและความเข้มสดของส.ี .(Single hues varied in value and intensity)

1. MONOCHROMATIC (ใชส้ เี ดยี วท้งั ภาพ)

1. MONOCHROMATIC (ใชส้ เี ดยี วท้งั ภาพ)

1. MONOCHROMATIC (ใชส้ เี ดยี วท้งั ภาพ)

2. ANALOGUS (สีใกลเ้ คียง)เป็นสีที่อยู่เคียงกันในวงล้อสี เช่น สีเหลืองกับส้มเหลือง สีทั้ง 2 จะดูกลมกลืนกัน (harmony) สีท่ีอยู่ห่างกันออกไป ความกลกลืนก็จะค่อย ๆลดลง ความขัดแยง้ หรือความตัดกันก็จะเพิ่มมากขึ้น จนกลายเป็นคู่สีหรือสีตัดกันอย่างแท้จริงเม่ือห่างกันจ น ถึ ง จุ ด ต ร ง ข้ า ม กั น

ANALOGUS (สีใกลเ้ คยี ง)

ANALOGUS (สีใกลเ้ คยี ง)

ANALOGUS (สีใกลเ้ คยี ง)

ANALOGUS (สีใกลเ้ คยี ง)

3. Complementary (การใชส้ ีตรงข้าม)การใช้ชุดสหี รือคู่สีทต่ี ัดกนั รนุ แรง เปน็ สีท่อี ยตู่ รงขา้ มกนั ในวงจรสแี ละเปน็ สีทีอ่ ยูต่ ่างวรรณะกนัสีสองสเี มอื่ นามาใช้คกู่ นั จะทาใหส้ ีท้ังสอง มคี วามสวา่ ง และสดใสมากขึน้ การใช้สแี บบนี้ให้ความรู้สกึ ตืน่ เตน้ มชี ีวิตชวี า มพี ลงั การเคลือ่ นไหวและเรา้ ความสนใจไดด้ ี

สที ่ีอยู่ตรงขา้ มกันในวงจรสี มที ั้งหมด 6 คู่ คอืสีเหลือง กบั สีมว่ ง สีเขยี ว กับ สีแดงสสี ้ม กับ สีนา้ เงนิ สีเขียวเหลือง กบั สมี ่วงแดงสเี ขียวนา้ เงนิ กบั สสี ม้ แดง สีส้มเหลือง กับ สีม่วงน้าเงิน

3. Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)วธิ กี ารใชส้ คี ู่ตรงกนั ขา้ ม สามารถใชไ้ ดห้ ลายวิธีได้แก่1) การใช้สคี ู่ตรงขา้ มในอตั ราสว่ นพื้นท่ี 20 : 802) การใช้สีคตู่ รงขา้ มในอตั ราสว่ นพน้ื ท่ี 50 : 50โดยจะตอ้ งลดนา้ หนกั ของสีใดสหี นึ่งหรือทั้งสองสี (ผสมสีขาว สีดาหรอื สีเทา)หรอื ถ้าหากไม่ลดนา้ หนักสีอาจใชว้ ิธีการระบายสีทัง้ สองเป็นริว้ สลบั กนั3) การใชส้ ขี าวหรอื สีเขม้ ๆ มาค่ันกลาง

Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)

Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)

Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)

Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)

Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)

Complementary (การใชส้ ตี รงขา้ ม)

ประโยชน์ของสี1.ทาใหเ้ กิดความนา่ สนใจมากกวา่ ภาพขาวดา2.สีชว่ ยทาให้ภาพมีลักษณะเหมอื นจริง3.สที าใหผ้ ู้ดูรู้สึกเกดิ อารมณร์ ว่ มกับงาน นักออกแบบจงึ มกั ใชส้ เี พือ่ ทาใหผ้ ู้ชมเกดิความรสู้ กึ ตามที่ตนตองการ4. สีทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจและสามารถจดจาภาพได้มากกว่าภาพขาวดา5. สที าใหเ้ กดิ ความประทบั ใจแกผ่ ู้ดู

คุณสมบัตขิ องสีคณุ สมบตั ิของสมี ี 9 ประการคือ1. สแี ท้ (Hue) คอื สีตา่ งๆท่ัวไปทีย่ งั ไมม่ กี ารผสมสขี าวหรอื สดี าลงไป ในปจั จบุ นั มีชือ่ เรียกประมาณ 150 สี สีต่างๆทไ่ี มใ่ ช่สีดา สขี าว หรือสเี ทา มีชอื่ เรยี กว่า Chromatic Color ส่วนดา สขี าว สเี ทา มชี อื่ เรียกวา่ Achromatic Color โดยสีเทาเปน็ สที ี่เกดิ จากการผสมกันของสีปฐมภูมิ 3 สี หรอื การผสมกนั ของสตี รงกนั ข้ามในวงสีมชี อื่ เรยี กอีกอยา่ งว่าสีกลาง (NeutralColor) ซ่ึงหากจดั สเี ทาไวใ้ นวงสี สเี ทาจะอยู่ตรงกลางของวงสี

คุณสมบัติของสีคุณสมบตั ิของสีมี 9 ประการคอื2. ความอมิ่ ตวั ของสี เป็นความสดแท้ หรอื บรสิ ทุ ธโ์ ดยไม่ผา่ นการเจือปน ของสขี าวหรอื สีใดๆ ทท่ี าใหค้ วามเข้มของสลี ดลง โดยสีแบบนโี้ ดยมากมักเรียกวา่ แดงแจ๊ด เขียวอี๊ เหลืองอ๋อย ขาวจว๊ั ะ เปน็ ต้น

คุณสมบตั ขิ องสีคณุ สมบัตขิ องสมี ี 9 ประการคือ3. คา่ สี (Value) เป็นน้าหนกั ความออ่ นแก่ของสี แบง่ ออกเป็น 2 ระดับคอื 3.1 ระดับอ่อนสี (Tint) เป็นคา่ สที ี่ถกู ทาให้อ่อนโดยการเจอื สีขาวลงไป 3.2 ระดับคลา้ (Shade) เป็นค่าสีทเ่ี ขม้ หรือมดื โดยการเจอื สีดาลงไป

คณุ สมบัตขิ องสีคณุ สมบัติของสีมี 9 ประการคอื4. อุณหภูมขิ องสี เปน็ ความสงู ต่าของความร้อนท่สี สี ีหน่ึงสรา้ งใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ แก่ผดู้ ู แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ4.1 สีอ่นุ เป็นสีท่ที าให้เกดิ ความรู้สึกร้อน ได้แก่ สีแดง สเี หลอื ง สเี ทาทีอ่ อกไปทางสีนา้ ตาลและเหลือง ก็ถอื ว่าเป็นสอี ่นุ ดว้ ย ซ่งึ สอี ่นุ ได้แก่ สที ี่ออกในโทน แดง เหลือง ส้ม เป็นต้น สอี นุ่จะใหค้ วามรสู้ กึ ร้อน สนกุ สนาน น่าสนใจ4.2 สเี ย็น เปน็ สีท่ที าใหเ้ กิดความรูส้ กึ เย็น ได้แกส่ นี ้าเงิน สเี ขียว สเี ทาทอ่ี อกไปทางสีนา้ เงนิ ก็ถือว่าเปน็ สเี ยน็ เช่นกัน สเี ย็นได้แก่ สีเขยี ว ม่วง น้าเงิน เป็นตน้ สเี ยน็ จะใหค้ วามรู้สึก สงบเยน็ ลึกลับ

คุณสมบัติของสีคุณสมบัตขิ องสมี ี 9 ประการคือ5. ความเปรียบตา่ งของแสง (Contrast) เปน็ ลักษณะของสที ีร่ ะบายลงไปในองคป์ ระกอบต่างๆแล้วเกิดความแตกตา่ งอย่างตรงข้ามและทาให้สีนั้นย่งิ โดดเด่นขน้ึ สร้างความนา่ สนใจชวนติดตาม สามารถจาแนกออกได้เป็น 3 ประเภทคือ

5.1 ความเปรยี บต่างของสีบริสุทธ์ (Pure Color Contrast) เป็นความแตกต่างของสบี รสิ ทุ ธ์ได้แก่ แมส่ ี แดง เหลือง นา้ เงิน5.2 ความเปรยี บตา่ งของสสี ว่างกับสีมดื (Light-Dark Contrast) เปน็ ความแตกตา่ งของสีสวา่ งและสีมดื5.3 ความเปรียบตา่ งของสตี รงกนั ขา้ ม (Complementary Contrast) เป็นความแตกตา่ งของสี ในวงจรสี ประกอบดว้ ย 3 คูไ่ ด้แก่- สเี หลืองตรงข้ามกับสมี ่วง- สีส้มตรงขา้ มกบั สีนา้ เงิน- สเี ขียวตรงขา้ มกับสแี ดง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook