Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

Published by นวลจันทร์ จรจรัญ, 2022-04-19 17:00:08

Description: กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

Search

Read the Text Version

2หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี

สง่ เสรมิ ใหท้ กุ คนเหน็ ความสาคญั การทคี่ นไทยมีสิทธิในการศึกษา และปฏบิ ตั ติ ่อกันอย่างเหมาะสม ทาใหส้ ามารถพัฒนา เช่นกฎหมายค้มุ ครองเดก็ คุณภาพของประชากรใหส้ ูงขน้ึ กจ็ ะมบี ทบญั ญตั ิสาคญั เพอ่ื ท่จี ะนาความรไู้ ปพฒั นา ในการปกป้องคมุ้ ครองเด็ก ประเทศชาตไิ ด้อยา่ งยั่งยนื ต่อไป เยาวชนไทยไม่ว่าจะอยทู่ ีใ่ ด นบั ถือศาสนาใด ก็ย่อมจะได้รบั การคมุ้ ครองและพัฒนาใหม้ ีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ี

• ทาให้มกี ารกาหนดแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพของประชาชนชาวไทยทางดา้ น การศกึ ษาตามสิทธิทพ่ี ึงไดร้ บั • ประชาชนได้เขา้ ถึงขอ้ มลู ขา่ วสารต่างๆ ซึ่งเปน็ ประโยชน์ต่อการบริโภค เชน่ กฎหมายคมุ้ ครองผู้บริโภค • ส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีโอกาสรว่ มมือกันคดิ สร้างสรรคส์ ่ิงต่างๆ อันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คม ประเทศชาติ และโลก • ทาให้ประชาชนได้รับการคมุ้ ครองสิทธทิ พ่ี งึ ไดร้ ับตามกฎหมาย ไม่ถกู เอารดั เอาเปรยี บ หรอื ไม่ถกู ละเมดิ สิทธทิ พ่ี งึ ไดร้ ับ • ทาใหป้ ระชาชนได้รับการคุ้มครองทรัพยส์ นิ ของตนเอง เม่อื ทกุ คนสามารถ • ใชท้ รพั ย์สินของตนเองใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ และคมุ้ คา่ • ทาให้ประชาชนรู้สกึ ปลอดภัยในการดารงชีวิตในสงั คม

กฎหมายคมุ้ ครองสทิ ธขิ องบคุ คลล เปน็ เครอื่ งมอื ของรฐั ทกี่ าหนดขน้ึ เป็นมาตรฐาน เพื่อการอยรู่ ่วมกนั อยา่ ง ในการใหค้ วามคุ้มครอง สงบสุข สิทธขิ องบุคคล

กฎหมายคมุ้ ครองสิทธิของบุคคล ที่ควรเรียนรู้ เช่น • กฎหมายคุม้ ครองเดก็ • กฎหมายการศกึ ษา • กฎหมายคมุ้ ครองผ้บู ริโภค • กฎหมายลขิ สทิ ธิ์

“ บคุ คลซง่ึ มอี ายตุ า่ กวา่ 18 ปบี ริบรู ณ์ แต่ไมร่ วมถงึ ผทู้ บี่ รรลนุ ติ ภิ าวะด้วยการสมรส ”

• เพอ่ื ประโยชนส์ งู สดุ ของเดก็ และไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ • ยอมรบั นบั ถอื อานาจปกครองของบดิ ามารดาหลกั การทว่ี า่ เดก็ ยอ่ มเหมาะสมทจี่ ะอยรู่ ว่ มกบั บดิ ามารดาผใู้ หก้ าเนดิ • แทรกแซงอานาจปกครองของบดิ ามารดาโดยอานาจรฐั ต้อง เป็นไปเพอื่ ประโยชนส์ งู สดุ ของเดก็

• ให้การอปุ การะเล้ยี งดู อบรมส่ังสอน และพัฒนาเดก็ ทอ่ี ยใู่ น ความปกครองดูแลของตนตามความสมควร • การอุปการะเลีย้ งดอู บรมสงั่ สอนและพัฒนาน้นั ต้องไมต่ ่ากว่า มาตรฐานขัน้ ต่าตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง • คุ้มครองสวัสดภิ าพเดก็ ที่อยใู่ นความปกครองดแู ลของตน ไม่ใหต้ กอยู่ ในภาวะอันน่าจะเกิดอนั ตรายแกร่ า่ งกายหรอื จติ ใจ • ไม่ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรบั เลี้ยงเด็กหรอื สถานพยาบาล หรือ ไว้กบั บุคคลท่ีรบั จา้ งเล้ียงเดก็ หรือที่สาธารณะ หรือสถานทใ่ี ด โดยเจตนาท่จี ะไมร่ บั เด็กกลบั คืน • ไม่ละทง้ิ เดก็ ไว้ ณ สถานท่ใี ดๆ โดยไม่จัดใหม้ กี ารป้องกันและ ดูแล สวสั ดิภาพหรอื ให้การเล้ียงดูทเ่ี หมาะสม • ไมจ่ งใจหรอื ละเลยไมใ่ ห้สิง่ ที่จาเปน็ แก่การดารงชวี ติ หรือ สุขภาพอนามยั จนน่าจะเกิดอันตรายแก่รา่ งกายหรือจิตใจของ เดก็ • ไม่ปฏิบตั ติ ่อเดก็ ในลักษณะท่เี ป็นการขดั ขวางการเจริญเตบิ โต หรือพฒั นาการของเด็ก • ไมป่ ฏิบตั ติ ่อเด็กในลกั ษณะทเี่ ป็นการเลย้ี งดูโดยมิชอบ

ผปู้ กครองมหี น้าท่ใี ห้การอปุ การะเล้ยี งดู และให้การศึกษาตลอดจนสง่ เสริม ให้บตุ รหลานได้ทากิจกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนท์ ้ังต่อตนเอง และสงั คมสว่ นรวม

บทบาทหนา้ ทข่ี องรฐั

• คุ้มครองสวัสดิภาพที่อยู่ในเขตพื้นท่ี รับผิดชอบ ไม่ว่าเด็กจะมีผู้ปกครองหรือไม่ ก็ตาม • ดูแลและตรวจสอบสถานรับเลี้ยงเด็ก สถาน แรกรบั สถานสงเคราะห์สถานคุ้มครองสวัสดิ ภาพ สถานพัฒนาและฟื้นฟู และสถานพินิจที่ ตั้งอยู่ในเขตพืน้ ทีท่ ีร่ ับผดิ ชอบ

เดก็ เร่ร่อนหรือเดก็ กาพร้า เด็กที่ผูป้ กครองไมส่ ามารถอปุ การะเล้ยี งดูได้ เช่น ถกู จาคุก พิการ ทพุ พลภาพ เจ็บป่วยเรื้อรงั ยากจน เปน็ ผเู้ ยาว์ ถูกทิง้ ร้าง เป็นโรคจติ หรอื โรคประสาท เด็กทผ่ี ู้ปกครองมพี ฤติกรรมหรือประกอบอาชพี ไม่เหมาะสม อาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกายและจิตใจของ เดก็ ท่อี ยใู่ นความปกครองดูแล

เด็กทีไ่ ด้รบั การเล้ยี งดูโดยมิชอบ ถูกใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ใน การกระทาหรือแสวงหาประโยชนโ์ ดยมชิ อบ ถกู ทารุณ กรรม เปน็ เหตุให้เกิดอันตรายแกร่ า่ งกายหรอื จิตใจ เด็กทถี่ ูกทอดทิง้ หรอื พลัดหลง เดก็ ทอ่ี ยู่ในสภาพยากลาบาก เดก็ พิการ เดก็ ทีอ่ ยใู่ นสภาพทจี่ าตอ้ งได้รับการสงเคราะห์ ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง



ตามพระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 ได้แก่ เด็กทีถ่ กู ทารณุ กรรม เดก็ ทเ่ี สยี่ งต่อการกระทาความผิด เด็กท่อี ยู่ในสภาพที่จาต้องได้รับการ คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพตามทีก่ าหนดไว้ ในกฎกระทรวง

ตามพระราช-บญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 นักเรียน หมายถงึ เดก็ ซ่งึ กาลังรับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ระดับประถมศกึ ษาและระดบั มธั ยมศึกษา ท้ังประเภทสามัญศึกษาและอาชวี ศกึ ษา หรือเทียบเท่าอยู่ในสถานศึกษา ของรฐั หรอื ของเอกชน

ตามพระราช-บญั ญัตคิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 นกั ศกึ ษา หมายถึง เด็กทกี่ าลงั รบั การศึกษา ระดบั อดุ มศึกษาหรอื เทียบเทา่ ในสถานศกึ ษาของรฐั หรอื ของเอกชน

ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 ไดก้ าหนดมาตรการสง่ เสรมิ ความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษาไว้ ดงั น้ี หนา้ ทีข่ องโรงเรยี นและสถานศกึ ษาที่ หน้าทขี่ องนักเรียน นักศึกษา ทจี่ ะต้อง จะต้องจัดให้มรี ะบบงานและกิจกรรมใน ประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรยี น การแนะแนวให้คาปรึกษาและฝกึ อบรมแก่ หรือสถานศกึ ษา นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง

ความมุ่งหมายและหลักการ การจดั การศึกษาต้อง กระบวนการเรียนรูต้ ้อง การจัดการศึกษา การจดั ระบบโครงสร้าง เปน็ ไปเพอ่ื พฒั นา ม่งุ ปลกู ฝงั จิตสานึกที่ ใหย้ ดึ หลกั การศกึ ษา และกระบวนการจดั ตลอดชวี ติ สาหรบั การศกึ ษา คนไทย ใหเ้ ป็นมนุษย์ท่ี ถกู ตอ้ งเก่ียวกบั ประชาชน ใหส้ ังคมมี ใหย้ ดึ หลกั การ สมบรู ณท์ ั้งร่างกาย การเมือง ส่วนรว่ มในการจัด มีเอกภาพดา้ นนโยบาย จติ ใจ สติปัญญา ความรู้ การปกครองในระบอบ การศึกษา และมคี วามหลากหลาย และคณุ ธรรม มี ประชาธปิ ไตย จริยธรรม และ ในการปฏบิ ัติ มกี าร วัฒนธรรม อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ กระจายอานาจไปสู่พ้ืนท่ี ในการดารงชวี ติ ทรงเป็นประมขุ การศึกษา สถานศกึ ษา และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่

รฐั ต้องจัดการศกึ ษาขั้น พน้ื ฐานเป็นพเิ ศษสาหรบั บคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ ง ทางร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม รัฐตอ้ งจดั การศึกษา รัฐตอ้ งมกี ารสอ่ื สารและการ ขนั้ พน้ื ฐาน เรยี นรู้สาหรบั ผ้ทู ม่ี รี า่ งกาย พิการหรือทพุ พลภาพ หรือ ไมน่ อ้ ยกวา่ 12ปี โดยใหบ้ ุคคลมีสิทธิ บุคคลซง่ึ ไม่สามารถ และโอกาสเสมอกัน พึง่ ตนเองได้ หรอื ไมม่ ผี ูด้ ูแล ในการรบั การศึกษา หรือดอ้ ยโอกาส ขั้นพืน้ ฐาน หนา้ ทข่ี องรฐั

มหี นา้ ที่จดั ใหบ้ ุตรหรือบคุ คล ซึ่งอยู่ในความดแู ลไดร้ ับการศึกษา ภาคบงั คบั จานวนเกา้ ปี โดยใหเ้ ดก็ ซึง่ มอี ายยุ า่ งเขา้ ปีที่ 7 เข้าเรียนในสถานศกึ ษา ข้นั พืน้ ฐานจนอายยุ า่ งเข้าปที ่ี16 หนา้ ที่ของบดิ า มารดา หรือ ผู้ปกครอง

สิทธปิ ระโยชนท์ างการศกึ ษา บดิ า มารดา หรอื ผูป้ กครอง ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สังคมอนื่ ๆ ซ่งึ สนบั สนนุ หรือจัดการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน มสี ทิ ธไิ ด้รบั สทิ ธปิ ระโยชน์ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

ิสท ิธประโยช ์นทางการ ึศกษา การสนับสนนุ จากรฐั ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการอบรมเล้ียงดู และการให้การศึกษาแก่บตุ รหรือ บุคคลซงึ่ อยู่ในความดแู ล เงนิ อุดหนนุ จากรัฐสาหรบั การจัด การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของบุตรหรอื บคุ คล ซงึ่ อยูใ่ นความดแู ลที่ ครอบครวั จัดให้ ท้งั น้ตี ามท่ี กฎหมายกาหนด การลดหยอ่ นหรือยกเวน้ ภาษี สาหรบั คา่ ใช้จา่ ยการศึกษา ตามท่ีกฎหมายกาหนด

การศกึ ษาในระบบ เป็นการศกึ ษาทกี่ าหนด จดุ มงุ่ หมาย วธิ กี ารศกึ ษาหลกั สตู ร ระยะเวลาของการศกึ ษา การ วัดและประเมนิ ผล ซ่ึงเปน็ เงอื่ นไขของการ สาเรจ็ การศกึ ษาทแี่ น่นอน

การศกึ ษานอกระบบ เปน็ การศกึ ษาทีม่ คี วามยดื หยนุ่ ใน การกาหนดจดุ ม่งุ หมาย รปู แบบ วธิ ีการจัดการศกึ ษา ระยะเวลาของ การศึกษา การวดั และประเมินผล เปน็ เงื่อนไขสาคัญของการสาเรจ็ การศกึ ษา โดยเนอ้ื หาและหลกั สูตร จะตอ้ งมีความเหมาะสมสอดคลอ้ ง กบั สภาพปญั หาและความต้องการ ของบคุ คลแตล่ ะกลุ่ม

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เป็นการศกึ ษาที่ใหผ้ ้เู รยี นได้เรยี นรู้ ดว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอ้ ม และโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สภาพแวดลอ้ ม สังคม ส่ือ หรือ แหลง่ ความรอู้ ืน่ ๆ

ในการจดั การศกึ ษาน้นั จะต้องยดึ หลักวา่ ผู้เรยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรียนร้แู ละ พัฒนาตนเองไดแ้ ละถือวา่ ผูเ้ รยี น มคี วาม สาคัญทีส่ ดุ กระบวนการจัดการ ศึกษาตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถพฒั นา ตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพการจดั การศึกษาต้องเน้นความสาคญั ทงั้ ความรู้ คณุ ธรรม กระบวนการเรยี นร้แู ละ บรู ณาการตามความเหมาะสมของ แต่ละระดบั การศกึ ษา

สิทธิของผบู้ ริโภค • สิทธิทีจ่ ะได้รบั ทราบข่าวสารรวมทั้งคาพรรณนาคณุ ภาพท่ี ถกู ต้องและเพียงพอ เกย่ี วกบั สนิ ค้าหรือบรกิ าร • สิทธิที่จะมอี สิ ระในการเลือกซ้ือสนิ คา้ หรอื บรกิ าร • สิทธทิ จ่ี ะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สนิ ค้าหรือบริการ • สิทธทิ ี่จะได้รบั ความเปน็ ธรรมในการทาสัญญา • สทิ ธิทจ่ี ะไดร้ ับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย

พจิ ารณาเร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์จากผู้บรโิ ภคที่ ดาเนินการเกย่ี วกบั สนิ ค้าทีอ่ าจเปน็ ไดร้ บั ความเดือดร้อน หรือเสยี หาย อันตรายแก่ผู้บรโิ ภคตามกฎหมาย อันเนอ่ื งมาจากการ กระทาของผูป้ ระกอบธรุ กจิ ดาเนนิ คดีเก่ยี วกบั การละเมิดสทิ ธิของ แจง้ หรอื โฆษณาขา่ วสารเกี่ยวกับสินค้าหรือ ผู้บรโิ ภคท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควร บริการท่อี าจจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายหรอื หรอื มผี ้รู ้องขอตามกฎหมาย เสือ่ มเสียแกส่ ทิ ธิของผู้บริโภค โดยจะระบุชอ่ื สนิ คา้ หรอื บรกิ ารหรอื ชอ่ื ของ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ด้วยกไ็ ด้

งานอนั มลี ขิ สทิ ธ์ิ พระราชบญั ญตั ิลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2537 งานสรา้ งสรรค์ประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม (แก้ไขเพม่ิ เตมิ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ.2558) ศิลปกรรม ดนตรกี รรม โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์ ภาพยนตรท์ ี่บนั ทกึ อยใู่ นรูปของแผน่ ซดี ีหรอื ดวี ดี ี มกี าร ส่ิงบนั ทึกเสียง งานแพรเ่ สียงแพรภ่ าพหรอื งานอนื่ ละเมิดลขิ สทิ ธิ์กันอยา่ งแพรห่ ลาย สร้างความเสยี หายอย่าง ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร์ แผนก มากให้กบั ผู้สรา้ งสรรค์และประเทศชาติ ศลิ ปะของผสู้ รา้ งสรรค์ ไมว่ ่างานดังกลา่ วจะ การแก้ปัญหาใหไ้ ดผ้ ล ผู้บรโิ ภคตอ้ งใหค้ วามรว่ มมือ แสดงออกโดยวธิ ีหรือรูปแบบอยา่ งใด โดยไม่ซอ้ื แผน่ ทล่ี ะเมิดลิขสิทธิ์ การคมุ้ ครองลขิ สทิ ธ์ิ เจา้ ของลิขสทิ ธิ์มสี ทิ ธิแต่เพยี ง ผู้เดียวในการทาซา้ หรอื ดัดแปลง เผยแพร่ ต่อสาธารณชน บทกาหนดโทษการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ เชน่ ในกรณีที่รอู้ ยแู่ ลว้ หรือมีเหตุอันควรรู้วา่ งาน ใดได้ทาขน้ึ โดยละเมิดลิขสทิ ธิ์ของผอู้ ่ืน กระทา อยา่ งใดอย่างหนงึ่ แก่งานนนั้ เพื่อหากาไรให้ถือว่าผู้ น้ันกระทาการละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ การกระทาอยา่ งหนง่ึ อย่างใดแก่งานอันมีลิขสิทธ์ิ โดยไม่ได้รับอนญุ าตตามบทบัญญตั ิของกฎหมาย







พระราชบญั ญตั ิสทิ ธบิ ตั ร พ.ศ. 2522 (แก้ไขเพิม่ เติม ฉบบั ที่ 3 พ.ศ.2542) • สิทธบิ ัตรการประดิษฐ์ • สทิ ธิบตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ์ • อนสุ ทิ ธบิ ัตรหรอื ผลติ ภณั ฑ์อรรถประโยชน์

จะต้องมลี ักษณะ ดังน้ี

จะตอ้ งมลี ักษณะ ดงั นี้ อายกุ ารคุม้ ครองสทิ ธิบตั ร • สทิ ธิบัตรการประดิษฐม์ อี ายุ 20 ปี • นบั แต่วันขอรบั สิทธบิ ตั ร สิทธบิ ัตรการออกแบบผลติ ภัณฑม์ อี ายุ 10 ปี • นับแตว่ ันขอรบั สทิ ธบิ ัตรสว่ นอนุสทิ ธบิ ัตรให้มีอายุ 6 ปี • นบั แตว่ ันขอรับสิทธบิ ัตร และผู้ทรงอนสุ ิทธบิ ตั รอาจขอต่ออายอุ นุสิทธิบตั รได้ 2 ครง้ั ครัง้ ละ 2 ปี โดยให้ยืน่ คาขอต่ออายุตอ่ พนักงานเจ้าหน้าทภ่ี ายใน 90 วันกอ่ นวนั สิ้นอายุ สาหรบั ความผดิ ฐานละเมดิ สิทธิบัตรโดยไมไ่ ด้รับอนุญาตจากผ้ทู รงสิทธบิ ัตร ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ 2 ปี หรือปรับไมเ่ กิน 400,000บาท หรือท้ังจาท้ังปรับ ความผดิ ตามกฎหมายสิทธิบตั รนี้เปน็ ความผิดอาญาแผน่ ดิน จึงไมอ่ าจยอมความกนั ได้

ทาให้บ้านเมอื งสงบเรียบร้อย เปา้ หมายของกฎหมายคุม้ ครอง สิทธขิ องบคุ คลคอื การคมุ้ ครอง สิทธิเสรภี าพของประชาชนและจัด ระเบียบบา้ นเมือง ทาใหป้ ระเทศชาติพัฒนา เจริญกา้ วหนา้ การที่ประชาชนทุก คนปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย คุ้มครองสิทธขิ องบคุ คลอย่าง เคร่งครดั

ทาให้ชมุ ชนหรือสังคมเกดิ การพฒั นา เมื่อบดิ ามารดาหรอื ผ้ปู กครองปฏิบัติ ตนตามกฎหมายคุ้มครองสทิ ธิของ บคุ คล โดยการส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ ใน ปกครองเข้ารับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ทาให้เดก็ เปน็ ผูม้ ีสมรรถนะ มีคุณลักษณะทพี่ ึง ประสงค์ ทาให้ทุกคนในสงั คม ไดร้ ับการปฏบิ ัติต่อกันด้วยความเสมอ ภาคและเท่าเทียม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook