คู่มือพนักงาน วนั ที่ปรับปรุงเอกสาร แก้ไขเอกสารคร้ังที่ จานวนหน้า 11 /03/2564 04 30 คู่มอื พนักงาน เลขท่ี 700/686 หมู่ 1 นคิ มอตุ สาหกรรมอมตะนคร ตาบลพานทอง อาเภอพานทอง จงั หวดั ชลบรุ ี 20160 โทรศพั ท์ 038-079-850, แฟกซ์ 038-079-851 0
บทนา คมู่ ือพนกั งานฉบบั นี้ ไดจ้ ดั ทาขนึ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคใ์ หเ้ ป็นแหลง่ ขอ้ มลู เบือ้ งตน้ สาหรบั พนกั งานทกุ ระดบั ในเรื่องเก่ียวกบั นโยบาย ระเบียบขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการทางาน และสวสั ดิการตา่ งๆ ท่พี นกั งานควรทราบ และยดึ ถือปฏบิ ตั ิเป็นแนวทางเดียวกนั เพ่อื จะทาใหเ้ กิดการประสานการทางานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของบรษิ ทั ฯ และบงั เกดิ ความเจรญิ กา้ วหนา้ แก่องคก์ ร ในขณะเดยี วกนั กเ็ ป็นการสรา้ งบรรยากาศใหอ้ ยู่รว่ มกนั อย่าง ราบรื่น สงบสขุ ทงั้ นี้ พนกั งานจะตอ้ งทาความเขา้ ใจ และปฏิบตั ิตาม “ประมวลจรยิ ธรรม กลมุ่ บรษิ ัท อดมั แพค (ADAMPAK GROUP GOVERNANCE PACK)” อย่างเครง่ ครดั รวมทงั้ ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา และเทคโนโลยสี ารสนเทศ พนกั งานตกลงท่จี ะมอบหมายสิทธิ์กรรมสิทธิ์ ทงั้ หมดดงั กลา่ ว และผลประโยชนท์ งั้ หมด ในปัจจบุ นั และอนาคตใหแ้ ก่ บรษิ ัททงั้ หมด (“ ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา”) ท่ีสรา้ ง หรอื คน้ พบระหว่างการจา้ งงานแก่นายจา้ ง ทรพั ยส์ ินทางปัญญา รวมถึง แตไ่ ม่ จากดั (ไม่ว่าจะเป็นการผลิตจากภายนอกหรือภายใน) ซอฟตแ์ วร์ ฐานขอ้ มลู สือ่ การเรียนรู้ อเิ ลค็ ทรอนิคส์ งานเผยแพร่ และงานประชาสมั พนั ธ์ และสอ่ื สง่ เสรมิ การขาย วิดโี อ เอกสารการเผยแพร่ สาธารณะ บทความโฆษณา สอ่ื การนาเสนอ ขอ้ กาหนดทางเทคนิค การจดั การ และเอกสารระบบกระบวนการ อ่นื ๆ พนกั งานจะไม่เรียกรอ้ ง หรอื มขี อ้ พพิ าทใดๆ ในอนาคต กบั ทางเจา้ ของในกรรมสิทธิ์ ดงั กลา่ วทงั้ หมดนี้ และพนกั งานจะตอ้ งรกั ษาความลบั ของขอ้ มลู หรือการไม่เปิดเผย รวมทงั้ จะไม่คดั ลอก ลบ ละเมิด หรือขโมย โดยพนกั งานไดล้ งนามและรบั ทราบ ใน “ปฏิญญาทางจรยิ ธรรม” ดงั ท่ไี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ว่าขอ้ มลู ในค่มู ือฉบบั นเี้ ป็นเพยี งเบือ้ งตน้ เทา่ นนั้ และอาจปรบั เปล่ียนแกไ้ ข แนวทางปฏบิ ตั ิตามความเหมาะสมต่อไป โดยใหย้ ดึ ตามประกาศ หรือนโยบายต่างๆท่มี ีการปรบั เปล่ียน ของ บรษิ ทั ดงั นนั้ หากพนกั งานตอ้ งการทราบรายละเอียดในเรอ่ื งใดเพิม่ เติม ขอใหส้ อบถามไดจ้ ากหวั หนา้ งาน หรอื แผนกทรพั ยากรมนษุ ยไ์ ด้ บรษิ ทั ฯ หวงั เป็นอย่างยิ่งว่าพนกั งานทกุ คนจะไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากค่มู อื ฉบบั นเี้ ป็นแหลง่ อา้ งอิงในการ คน้ หาขอ้ มลู สาหรบั พนกั งานต่อไปดว้ ย แผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ บรษิ ทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั 1
สารบญั หนา้ แนะนาบรษิ ัท 3 สถานท่ตี งั้ และแผนท่ีบรษิ ัทฯ 4 นโยบายคณุ ภาพ และนโยบายส่ิงแวดลอ้ ม 5 นโยบายหลกั จรรยาบรรณแห่งพนั ธมิตรธุรกิจผมู้ คี วามรบั ผิดชอบ 6 นโยบายดา้ นจรยิ ธรรม 7 นโยบายดา้ นแรงงาน 8 นโยบายและการปอ้ งกนั การลว่ งละเมิดทางเพศ 11 นโยบายระบบการบรหิ ารความตอ่ เน่ืองทางธรุ กิจ 12 นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 12 ขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั การทางาน 1. การวา่ จา้ ง 13 2. วนั ทางาน เวลาทางานปกติ เวลาทางานลว่ งเวลาและเวลาพกั 13 3. วนั หยุด และหลกั เกณฑก์ ารหยดุ 14 4. วนั ลา หลกั เกณฑก์ ารลาประเภทต่าง ๆ การเกษียณอายุและการลาออก 14 5. หลกั เกณฑ์ การทางานลว่ งเวลาในวนั ทางานปกติ และการทางานลว่ งในวนั หยดุ 18 6. วนั และสถานท่จี า่ ยค่าจา้ ง ค่าลว่ งเวลา และค่าทางานในวนั หยุด 20 7. สวสั ดกิ าร และผลประโยชนต์ า่ งๆ 20 8. ระเบยี บปฏิบตั ิตา่ งๆ วินยั และโทษทางวนิ ยั 23 9. การรอ้ งทกุ ข/์ การเขียนขอ้ รอ้ งเรยี นหรือการแจง้ ขอ้ เสนอแนะ/แจง้ เบาะแส 29 10. แบบฟอรม์ ตา่ งๆ 30 2
แนะนาบริษัท อดัมแพค (ประเทศไทย) จากัด ประวตั ิความเป็ นมาของบริษทั อดัมแพค (ประเทศไทย) จากดั บรษิ ทั อดมั แพค กอ่ ตงั้ เม่ือ ค.ศ.1979 (พ.ศ.2522) ท่ปี ระเทศสิงคโปร์ ในปัจจบุ นั มีบรษิ ัทในเครือ ทงั้ ภายในและต่างประเทศอาทิเชน่ มาเลเซีย, ฟิลปิ ปินส์ และ จีน บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั เร่มิ ดาเนนิ การครง้ั แรกเม่ือเดือน มนี าคม 2545 เป็นบริษัทท่ี ไดร้ บั การสง่ เสรมิ การลงทนุ ในการผลิต ADHESIVE LABEL ประเภทกจิ การผลิตส่งิ พิมพ์ 3
สถานทต่ี งั้ บรษิ ทั อดัมแพค (ประเทศไทย) จากดั เลขท่ี 700/686 หมู่ 1 นิคมอตุ สาหกรรมอมตะนคร ตาบลพานทอง อาเภอพานทอง จงั หวดั ชลบรุ ี 20160 โทรศพั ท์ 038-079-850, แฟกซ์ 038-079-851 แผนที่ บรษิ ทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั 4
นโยบายคุณภาพ บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มงุ่ ม่นั ในการสง่ มอบสนิ คา้ ท่มี คี ณุ ภาพ และบรกิ ารท่ดี ที ่สี ดุ ในราคาท่ีเหมาะสม จดั สง่ สินคา้ ตรงเวลาใหก้ บั ลกู คา้ รวมถึงการพฒั นาคณุ ภาพของสินคา้ บรกิ าร และดา้ น เทคนิค อยา่ งตอ่ เน่อื ง (ประกาศวนั ท่ี 3 มกราคม 2563) นโยบายส่ิงแวดล้อม บรษิ ทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มงุ่ ม่นั ท่จี ะปรบั ปรุง และปกปอ้ งรกั ษาสภาพแวดลอ้ มอยา่ ง ต่อเน่ือง ตงั้ แต่กระบวนการคดั เลือกวตั ถดุ ิบ การดาเนนิ การผลิต ผลิตภณั ฑ์ รวมไปถงึ บรกิ ารต่างๆ เพ่อื ท่จี ะลด ผลกระทบท่ีกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม โดยมคี วามม่งุ ม่นั ในการดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ มดงั ต่อไปนี้ 1. ดาเนนิ งานภายใตข้ อ้ กฎหมายตา่ งๆ ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม และขอ้ กาหนดอ่นื ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั บรษิ ทั ฯ ให้ ไดเ้ ป็นอยา่ งนอ้ ย 2. มงุ่ ม่นั ท่จี ะลดผลกระทบ และปัญหาส่งิ แวดลอ้ มอนั เกดิ จากการดาเนนิ กิจการของบริษัทฯ ในเร่ือง ตอ่ ไปนี้ 2.1 ลดปรมิ าณขยะท่ีเกดิ จากกระบวนการการผลติ 2.2 ควบคมุ ปรมิ าณสารโลหะหนกั หรือสารตอ้ งหา้ มในผลติ ภณั ฑ์ และวตั ถุดบิ ใหเ้ ป็นไป ตามมาตรฐาน หรือกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง 2.3 ตระหนกั ถงึ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ และพลงั งานอย่างคมุ้ ค่า กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ 2.4 ลดมลภาวะทางอากาศ และนา้ 3. สรา้ งจิตสานึก และฝึกอบรมใหก้ บั พนกั งานในการดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม และพรอ้ มท่ีจะเผยแพร่ นโยบายสงิ่ แวดลอ้ มนีแ้ ดส่ าธารณะชน หรือผทู้ ่สี นใจท่วั ไป (ประกาศวนั ท่ี 20 มกราคม 2563) 5
ประกาศเลขท่ี MS-21-001 (TH) (ประกาศวนั ท่ี 12 มกราคม 2564) นโยบายหลักจรรยาบรรณแหง่ พนั ธมติ รธุรกิจผู้มคี วามรบั ผิดชอบ บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มงุ่ ม่นั ท่จี ะปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรมาภิบาล และการกากบั กจิ การท่ี ดี และหลกั จรรยาบรรณแหง่ พนั ธมิตรธรุ กจิ ผมู้ คี วามรบั ผิดชอบ (RBA) เพ่อื ใหแ้ นใ่ จว่าสภาพการทางานท่มี ี ความปลอดภยั วา่ พนกั งานไดร้ บั การปฏิบตั ิดว้ ยความเคารพ และศกั ดิศ์ รี และการดาเนนิ ธรุ กจิ ท่มี ีความ รบั ผดิ ชอบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม และดาเนนิ การตามหลกั จรยิ ธรรม โดยการกระทา และการใชม้ าตรฐาน RBA บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั ไดก้ าหนดนโยบาย ดงั นี้ 1. แรงงาน: บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั ม่งุ ม่นั ท่จี ะปฏิบตั ิตามหวั ขอ้ ดา้ นแรงงาน ตาม หลกั เกณฑใ์ น RBA การดาเนนิ การ และเสรภี าพในการเลอื กงาน, หา้ มใชแ้ รงงานเด็ก, แรงงานเยาวชน (ถา้ มี การจา้ ง) จะจดั รูปแบบงานท่ีเหมาะสม, ช่วั โมงการทางาน, ค่าจา้ ง และสวสั ดกิ ารตา่ งๆ, ความมมี นษุ ยธรรม, หา้ มเลอื กปฏบิ ตั ิ, และเสรภี าพในการสมาคม 2. สุขภาพและความปลอดภัย: บริษทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั คานงึ ถงึ สขุ ภาพ ความ ปลอดภยั ของพนกั งาน สตรีตงั้ ครรภ์ และใหน้ มบตุ ร โดยการชบี้ ง่ ประเมนิ ความเส่ยี ง และจดั ทาแผนควบคมุ การเตรียมรบั มือกบั เหตฉุ กุ เฉิน การเจ็บป่วยอนั เน่อื งมาจากการทางาน สขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม งานท่ตี อ้ งใช้ แรงงานหนกั การควบคมุ ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องจกั ร สขุ อนามยั อาหาร บรรยากาศในการทางาน และ สือ่ สารดา้ นสขุ ภาพ และความปลอดภยั 3. ดา้ นสง่ิ แวดล้อม: บริษทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั ตกลงท่ีจะดแู ลสภาพแวดลอ้ มโดย ใบอนญุ าตดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม และการรายงานขอ้ มลู ปอ้ งกนั มลภาวะ ควบคมุ ตรวจสอบ และติดตามการใช้ และลดผลกระทบจากสารพษิ นา้ เสยี ขยะ และมลพษิ ทางอากาศใหเ้ หลือนอ้ ยท่สี ดุ การควบคมุ สว่ นประกอบ ของสนิ คา้ ลดการใชท้ รพั ยากร, พลงั งาน, การปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก และการจดั การนา้ 4. จรยิ ธรรม: บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มีความม่งุ ม่นั สงู สดุ ของความซื่อสตั ยส์ จุ รติ และ ความโปรง่ ใสในการปฏิบตั ทิ างธรุ กจิ , ไม่มกี ารเอือ้ ประโยชนโ์ ดยไม่เหมาะสม, การเปิดเผยขอ้ มลู , ทรพั ยส์ ินทาง ปัญญา, การทาธุรกิจการโฆษณา และการแขง่ ขนั อย่างเป็นธรรม, การปกป้องลกั ษณะบคุ คลและการไมต่ อบ โต,้ จดั หาทรพั ยากรแรธ่ าตดุ ว้ ยสานกึ รบั ผิดชอบ, ความเป็นสว่ นตวั การปกป้องขอ้ มูลสว่ นบคุ คล 5. ระบบการจดั การ: บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มีการดาเนินการจดั ทาระบบ และปฏิบตั ิ ตามมาตรฐาน RBAโดยมอบความไวว้ างใจ และเป็นไปตามความมงุ่ ม่นั ของบรษิ ทั ซ่งึ รบั ผิดชอบการบรหิ าร จดั การ และรบั ผิดชอบทางกฎหมาย และความตอ้ งการของลกู คา้ , การชบี้ ่ง ประเมินความเส่ยี ง และบรหิ าร ความเสยี่ งปรบั ปรุงวตั ถปุ ระสงค,์ การฝึกอบรม, การสื่อสาร, การตอบรบั ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และการมีส่วนรว่ ม รวมถงึ กาหนดกลไกสาหรบั การรอ้ งทกุ ขข์ องพนกั งาน การตรวจสอบและการประเมิน กระบวนการแกไ้ ข เอกสารและบนั ทกึ ความรบั ผดิ ชอบของซพั พลายเออร์ 6
ประกาศเลขท่ี MS-21-002 (TH) (ประกาศวนั ท่ี 12 มกราคม 2564) นโยบายด้านจริยธรรม บริษัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จำกัด มงุ่ ม่นั ท่จี ะรกั ษามาตรฐานดา้ นจรยิ ธรรมสงู สดุ ในสงั คม ธุรกิจ เพ่อื ใหค้ วามไวว้ างใจและความเช่ือม่นั ต่อผูม้ ีสว่ นไดเ้ สียทงั้ หมดของเรา รวมถงึ พนกั งาน, ลกู คา้ , ซพั พลายเออรแ์ ละนกั ลงทนุ ทงั้ นีพ้ นกั งานทงั้ หมดจะตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม เพ่อื ตอบสนองต่อ ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม เรำจะรกั ษามาตรฐานสงู สดุ ดา้ นจรยิ ธรรม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ความซ่ือสัตยท์ างธุรกจิ ตอ้ งยึดถือมาตรฐานความซื่อสตั ยข์ นั้ สงู สดุ ในทกุ การดาเนินทางธรุ กิจ ผเู้ ขา้ รว่ มตอ้ งมีนโยบายไม่ ประนีประนอมต่อการทจุ ริตโดยสนิ้ เชิง ทงั้ นี้ เพ่ือป้องกนั การติดสนิ บน การคอรร์ ปั ชนั การรีดไถ และการฉอ้ ฉล ในทกุ รูปแบบ 2) ไม่มีการเอือ้ ประโยชนท์ ไี่ มเ่ หมาะสม ตอ้ งไมส่ ญั ญา เสนอ มอบอานาจ ให้ หรอื ยอมรบั การติดสินบนหรือวิธีการอ่นื ใดท่จี ะทาใหไ้ ดร้ บั ผลประโยชนท์ ่ี ไมค่ วรหรือไม่เหมาะสม ขอ้ หา้ มนรี้ วมถึงการสญั ญา เสนอ มอบอานาจ ให้ หรอื ยอมรบั ส่ิงของใดท่มี ีมลู ค่า ไม่ ว่าโดยตรงหรอื โดยออ้ ม เพ่อื ใหไ้ ดม้ าหรือรกั ษาธรุ กจิ ไว้ ชีน้ าธุรกิจแกผ่ ใู้ ดผหู้ นงึ่ หรือไดร้ บั ผลประโยชนท์ ่ไี ม่ เหมาะสม ตอ้ งมีการตรวจสอบติดตาม, การเกบ็ บนั ทกึ และบงั คบั ใชก้ ระบวนการต่างๆ เพ่อื ใหม้ ่นั ใจวา่ เป็นไป ตามกฏหมายต่อตา้ นการคอรร์ ปั ชนั 3) การเปิ ดเผยขอ้ มลู การเจรจาทางธรุ กิจทงั้ หมดควรกระทาอย่างโปรง่ ใสและมีการอา้ งองิ ในเอกสารและบนั ทกึ ขอ้ มลู ทางธุรกจิ ของ ผเู้ ขา้ รว่ มอย่างถกู ตอ้ งแม่นยา ขอ้ มลู เกี่ยวกบั แรงงาน สขุ ภาพและความปลอดภยั วธิ ีปฏิบตั ิดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม กจิ กรรมทางธุรกจิ โครงสรา้ ง สถานะและผลประกอบการทางการเงนิ ของผเู้ ขา้ รว่ ม ตอ้ งไดร้ บั การเปิดเผยตาม กฎระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ทิ ่เี ก่ียวขอ้ งของอตุ สาหกรรม การปลอมแปลงบนั ทกึ ขอ้ มลู หรือแถลงขอ้ ความอนั เป็น เทจ็ เก่ียวกบั เง่ือนไขหรือวิธีปฏบิ ตั ใิ นห่วงโซอ่ ปุ ทานเป็นสงิ่ ท่ยี อมรบั ไมไ่ ด้ 4) ทรัพยส์ ินทางปัญญา สทิ ธิในทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาตอ้ งไดร้ บั การเคารพ กลา่ วคือ การถ่ายโอนเทคโนโลยีและฐานความรูต้ อ้ งกระทา ในลกั ษณะท่มี กี ารปกป้องสิทธิในทรพั ยส์ ินทางปัญญา ขอ้ มลู ของลกู คา้ และ ผสู้ ง่ มอบ ตอ้ งไดร้ บั การปกป้อง 5) การดาเนินธุรกจิ การโฆษณา และการแขง่ ขนั ทเ่ี ป็ นธรรม ตอ้ งรกั ษามาตรฐานของการดาเนนิ ธุรกจิ การโฆษณา และการแข่งขนั ท่เี ป็นธรรม 7
6) การปกป้องลักษณะบุคคลและการไมต่ อบโต้ มีโครงการคมุ้ ครองความลบั ความเป็นนริ นาม และการปกปอ้ งซพั พลายเออรแ์ ละลกู จา้ งท่ีเป็นผรู้ อ้ งเรียน เวน้ แต่จะถกู หา้ มโดยกฏหมาย ผเู้ ขา้ รว่ มควรมีกระบวนการสื่อสารสาหรบั บคุ ลากรเพ่ือใหส้ ามารถแจง้ ความกงั วล ของตนไดโ้ ดยปราศจากความกลวั จากการถกู ตอบโต้ 7) การหาแหล่งแร่ธาตโุ ดยมีความรับผิดชอบ ผเู้ ขา้ รว่ มตอ้ งนานโยบายและดาเนนิ การตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ เกยี่ วกบั แหลง่ ทมี่ าและห่วงโซ่การดแู ล แทนทาลมั ดบี ุก ทงั สเตนและทองคา ในผลติ ภณั ฑ์ทผี่ ลติ เพอื่ ใหม้ น่ั ใจอย่างสมเหตสุ มผล วา่ มที มี่ าในลกั ษณะ ทสี่ อดคลอ้ งกบั คาแนะนาขององคก์ ารเพอื่ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจและการพฒั นา (OECD)สาหรบั เครือข่าย การจดั หาแร่ธาตอุ ย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบจากความขดั แยง้ ในพนื้ ทที่ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบและมีความเสยี่ งสงู หรือ กรอบการตรวจสอบสถานะธุรกจิ ทเี่ ทยี บเท่าและไดร้ บั การยอมรบั 8) ความเป็ นสว่ นตวั ผเู้ ขา้ รว่ มใหค้ าม่นั ในการปกปอ้ งขอ้ มลู สว่ นบคุ คลตามความคาดหมายและดว้ ยเหตผุ ลอนั ควรของผทู้ ่ีทาธุรกจิ ดว้ ย รวมถึงผสู้ ง่ มอบ ลกู คา้ ผบู้ รโิ ภค และพนกั งาน ผเู้ ขา้ รว่ มตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายรกั ษาความปลอดภยั ความเป็นสว่ นตวั และระเบียบขอ้ กาหนดในกรณีท่ไี ดร้ วบรวม เกบ็ รกั ษา ประมวลผล สง่ ตอ่ และแบ่งปันขอ้ มลู สว่ นบุคคล เลขท่ี ADMHR 005/2564 (วนั ท่ี 22 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564) นโยบายดา้ นแรงงาน บริษัท อดัมแพค (ประเทศไทย) จากัด มุ่งม่ันท่ีจะรกั ษามาตรฐานดา้ นแรงงานสูงสุดในสังคมธุรกิจ เพ่ือใหค้ วามไวว้ างใจและความเช่ือม่นั ตอ่ ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียทงั้ หมดของเรา รวมถึงพนกั งาน,ลกู คา้ , ซพั พลายเออร์ และนักลงทุน ทั้งนีพ้ นักงานทัง้ หมดจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานทางดา้ นแรงงาน เพ่ือตอบสนองต่อความ รบั ผิดชอบตอ่ สงั คม เราจะรกั ษามาตรฐานสงู สดุ ดา้ นแรงงาน ดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานแรงงานมีดงั นี้ : 1. เสรีภาพในการเลือกงาน : หา้ มมิใหม้ ีการบงั คบั ใชแ้ รงงาน การผูกมดั แรงงาน (รวมถงึ ผกู มดั ดว้ ยภาระ หน)ี้ ไม่ว่าจะโดยสมคั รใจหรือไม่สมคั รใจ หรือแรงงานตามพนั ธะสญั ญา หรอื การหาประโยชนจ์ ากแรงงาน นกั โทษ ทาส หรือการคา้ มนุษย์ ซง่ึ รวมไปถงึ การขนสง่ การเคลื่อนยา้ ย การเกณฑ์ การถ่ายโอน หรอื การ บงั คบั บคุ คลเขา้ ทางานดว้ ยการขม่ ขู่ บงั คบั ข่เู ขญ็ ลกั พาตวั หรอื หลอกลวงใหใ้ ชแ้ รงงานหรอื ใหบ้ รกิ าร หา้ มมีขอ้ จากดั ท่ีปราศจากเหตผุ ลอนั ควรในการหา้ มแรงงานเคลื่อนท่ภี ายในสถานท่ปี ระกอบการ นอกจากนยี้ งั รวมถึงขอ้ จากดั ท่ปี ราศจากเหตผุ ลอนั ควรในการเขา้ หรือออกจากสถานท่ีซง่ึ จดั หาใหโ้ ดย บรษิ ัท รวมถงึ หอพกั หรอื ท่ีพกั อาศยั สาหรบั คนงาน ถา้ มี ในสว่ นของกระบวนการจา้ งงาน แรงงานตอ้ ง 8
ไดร้ บั สญั ญาจา้ งงานเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรในภาษาทอ้ งถ่นิ ซ่งึ มรี ายละเอียดขอ้ กาหนดและเง่ือนไขการ จา้ งงาน แรงงานตา่ งดา้ วตอ้ งไดร้ บั หนงั สอื สญั ญาจา้ งงานกอ่ นท่ีแรงงานจะออกจากประเทศท่เี ป็นถ่นิ กาเนดิ ของตน และตอ้ งไมม่ กี ารสบั เปล่ียนหรือการเปล่ียนแปลงเนือ้ หาในสญั ญาจา้ งงานหลงั จากท่ี แรงงานมาถงึ ยงั ประเทศปลายทางท่ีรบั แรงงาน เวน้ แตเ่ ปลยี่ นแปลงใหต้ รงตามกฎหมายในทอ้ งถ่ิน และมี เง่อื นไขท่ีเทียบเท่าหรือดีกวา่ งานทงั้ หมดตอ้ งเป็นไปโดยสมคั รใจ และแรงงานตอ้ งมอี สิ ระท่ีจะออกจาก งานหรอื พน้ จากการจา้ งงานเม่ือใดกไ็ ดโ้ ดยไม่มีการลงโทษ หากไดร้ บั แจง้ อยา่ งสมเหตสุ มผลตามสัญญา ของแรงงาน ผวู้ ่าจา้ ง ตวั แทน และตวั แทนช่วงจะไม่ยดึ ถือหรือทาลาย ปกปิด หรืออายดั เอกสารระบตุ วั บคุ คลหรือเอกสารการเขา้ เมืองของแรงงาน เช่น บตั รประจาตวั ท่ีออกใหโ้ ดยรฐั บาล หนงั สอื เดินทาง หรือ หนงั สืออนญุ าตทางาน นายจา้ งสามารถเก็บเอกสารไดก้ ็ต่อเม่อื กฎหมายกาหนดใหม้ ีการเก็บรกั ษา เอกสารดงั กลา่ วเท่านนั้ ในกรณีนี้ ไม่ควรปฏิเสธไมใ่ หแ้ รงงานเขา้ ถึงเอกสารของตนไม่ว่าเม่ือใดกต็ าม แรงงานตอ้ งไมม่ กี ารจา่ ยค่าธรรมเนยี มใด ๆ หรือค่าธรรมเนยี มอ่นื ท่เี กี่ยวกบั การจา้ งงานของตนใหแ้ ก่ ตวั แทนของนายจา้ งหรือตวั แทนชว่ งในการจดั หางาน หากพบว่าแรงงานเป็นผจู้ ่ายคา่ ธรรมเนียมดงั กลา่ ว ค่าธรรมเนียมจานวนนนั้ ๆ ตอ้ งถกู คืนใหก้ บั แรงงาน 2. แรงงานเยาวชน : หา้ มใชแ้ รงงานเดก็ ในทกุ ขนั้ ตอนของการผลิต “เด็ก” หมายถงึ บคุ คลใด ๆ ท่มี ีอายตุ ่า กว่า 15 ปี หรือมีอายุต่ากว่าอายสุ าเรจ็ การศกึ ษาภาคบงั คบั หรือมีอายตุ ่ากว่าอายกุ ารจา้ งงานขนั้ ต่าใน ประเทศ โดยถืออายทุ ่สี งู สดุ เป็นหลกั ผเู้ ขา้ รว่ มจะตอ้ งใชก้ ลไกท่เี หมาะสมในการตรวจสอบอายขุ อง แรงงาน บรษิ ัทสามารถสนบั สนนุ ใหม้ ีโครงการฝึกงานเพ่อื การเรียนรูท้ ่ีถกู ตอ้ งตามกฎหมายและ กฎระเบยี บ แรงงานท่มี อี ายุต่ากว่า 18 ปี (แรงงานเยาวชน) ตอ้ งไม่ทางานท่เี สยี่ งอนั ตรายต่อสขุ ภาพหรือ ความปลอดภยั ของตน ทงั้ นีร้ วมถึงการไมท่ างานกะกลางคนื และการไม่ทางานลว่ งเวลา ผเู้ ขา้ รว่ มจะตอ้ ง ตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่ามีระบบการจดั การแรงงานนกั เรยี นอยา่ งเหมาะสม โดยมกี ารเก็บรกั ษาขอ้ มลู ระเบยี นนกั เรยี น ตรวจสอบเง่ือนไขการจา้ งงานของหนว่ ยงานการศกึ ษาท่เี ขา้ รว่ มอย่างเขม้ งวด และ ปกป้องสทิ ธิของนกั เรยี นตามกฎหมายและกฎระเบียบท่เี ก่ียวขอ้ งผเู้ ขา้ รว่ มจะตอ้ งใหก้ ารสนบั สนนุ และ การฝึกอบรมแกแ่ รงงานนกั เรียนทกุ คนตามสมควร หากไม่มีกฎหมายในทอ้ งถ่ินกาหนดไว้ อตั ราค่าจา้ ง แรงงานนกั เรียนผฝู้ ึกงาน และแรงงานฝึกหดั อย่างนอ้ ยตอ้ งเทา่ กบั อตั ราค่าจา้ งของแรงงานขนั้ เรม่ิ ตน้ ท่ี ทางานแบบเดียวกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั หากพบวา่ มกี ารใชแ้ รงงานเดก็ จะตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือและ ดาเนินการแกไ้ ข 3. ช่วั โมงทางาน : ช่วั โมงการทางานของลกู จา้ ง มีจานวนวนั ทางาน ไม่เกนิ กว่ากฏหมายแรงงานไทยกาหนด ซง่ึ ไม่ควรเกิน 60 ช่วั โมงต่อสปั ดาห์ รวมการทางานลว่ งเวลา (ยกเวน้ มีเหตฉุ กุ เฉิน หรอื สถานการณท์ ่ไี ม่ ปกต)ิ ลกู จา้ งจะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตใหม้ ีวนั หยุดอย่างนอ้ ย หนง่ึ วนั ต่อสปั ดาห์ 4. ค่าจา้ ง และสวสั ดิการ: คา่ ตอบแทนท่จี า่ ยใหแ้ ก่แรงงานตอ้ งเป็นไปตามท่กี ฎหมายกาหนดไว้ รวมถึงกรณี ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ค่าแรงขนั้ ต่า คา่ ลว่ งเวลา และสวสั ดิการตามท่ีกฎหมายไดก้ าหนดไว้ แรงงานตอ้ งไดร้ บั 9
คา่ ตอบแทน สาหรบั การทางานลว่ งเวลามากกวา่ อตั ราค่าแรงรายช่วั โมงในเวลาทางาน ปกติ เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎหมายทอ้ งถ่ิน หา้ มใชว้ ธิ ีการหกั ค่าแรงเพ่อื เป็นมาตรการลงโทษทางวินยั ใน แต่ละรอบของการจ่ายคา่ แรง แรงงานตอ้ งไดร้ บั แจง้ รายการค่าจา้ งภายในเวลาอนั ควรและสามารถเขา้ ใจ ไดง้ า่ ย รวมถงึ ขอ้ มลู ท่เี พียงพอต่อการพสิ จู นค์ วามถกู ตอ้ งของค่าจา้ งต่องานท่ีไดท้ าการใชแ้ รงงานช่วั คราว แรงงานนอกพืน้ ท่ี และแรงงานภายนอกทงั้ หมดตอ้ งอย่ภู ายใตข้ อ้ จากดั ของกฎหมายทอ้ งถ่ิน 5. ความมมี นุษยธรรม : ตอ้ งไมม่ กี ารปฏิบตั ิโดยใชค้ วามรุนแรงหรอื ไรม้ นษุ ยธรรม รวมถึงความรุนแรง ความรุนแรงตามเพศภาวะ การลว่ งละเมิดทางเพศ การข่มเหงทางเพศ การลงโทษรุนแรง การข่เู ขญ็ ทาง จิตใจหรือรา่ งกาย การกล่นั แกลง้ การทาใหอ้ บั อายตอ่ หนา้ สาธารณะ หรือการละเมดิ ดว้ ย วาจาต่อแรงงาน หรือแมแ้ ต่การข่วู ่าจะกระทาการดงั กลา่ ว นโยบายและกระบวนการทางวินยั เพ่อื ปอ้ งกนั การกระทาขา้ งตน้ ตอ้ งไดร้ บั การกาหนดไว้ อยา่ งชดั เจนและแจง้ ใหแ้ รงงานรบั ทราบ 6. หา้ มเลอื กปฏบิ ตั ิ : บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั ใหค้ าม่นั ต่อแรงงานเก่ียวกบั การปราศจากการ ข่มเหง และปราศจากการเลอื กปฏบิ ตั ิท่ผี ดิ กฎหมาย บรษิ ัทตอ้ งไม่เลอื กปฏบิ ตั หิ รือคกุ คามอนั เน่ืองมาจาก ชาตพิ นั ธุ์ สีผิว อายุ เพศ รสนิยมทางเพศ อตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื การแสดงออกทางเพศภาวะ เผ่าพนั ธุห์ รอื ถ่นิ กาเนิด ความพกิ าร การตงั้ ครรภ์ ศาสนา ความสมั พนั ธท์ างการเมือง สมาชิกสหภาพ สถานะทหาร ผ่านศกึ ขอ้ มลู ทางพนั ธกุ รรมท่ีไดร้ บั การคมุ้ ครอง หรือสถานะการสมรส ในการจา้ งงานและวธิ ีปฏบิ ตั ใิ น การทางาน เช่น ค่าแรง การเลื่อนขนั้ การใหร้ างวลั และโอกาสในการไดร้ บั การฝึกอบรม แรงงานตอ้ งมี สถานท่ปี ฏบิ ตั ิศาสนกจิ ตามเหตผุ ลอนั ควร นอกจากนี้ แรงงานหรือผทู้ ่อี าจเป็นแรงงานไมค่ วรตอ้ งถกู กาหนดใหท้ าการตรวจสขุ ภาพ รวมทงั้ การตรวจการตงั้ ครรภห์ รือความบรสิ ทุ ธิ์ หรือทดสอบสมรรถภาพ ทางรา่ งกายซง่ึ อาจนาไปสกู่ ารเลือกปฏิบตั ิ โดยไดม้ ีการรา่ งเอกสารฉบบั นีต้ ามอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการเลือก ปฏิบตั ิ (การจา้ งงานและอาชีพ) ขององคก์ ารแรงงานสากล (ฉบบั ท่ี 111) 7. เสรภี าพในการสมาคม : การติดต่อส่อื สารโดยตรงระหวา่ งลกู จา้ งกบั ผบู้ รหิ าร เป็นวิธีการท่มี ี ประสทิ ธิภาพมากท่สี ดุ ในการแกป้ ัญหาเก่ียวกบั สถานท่ที างาน และค่าตอบแทน ลกู จา้ งมีสิทธิเสรภี าพ ในการเขา้ รว่ มหรือไม่เขา้ รว่ มกบั สหภาพแรงงานตามความสมคั รใจ การเลือกตงั้ สภาลกู จา้ งตาม กฏหมาย การเขา้ ร่วม หรือจดั การชมุ นมุ โดยสนั ติ และไมข่ ดั ตอ่ กฎหมาย ลกู จา้ งสามารถติดต่อพดู คยุ และเจรจาต่อรองกบั ผบู้ รหิ ารอยา่ งเปิดเผย สามารถบอกถงึ ความคบั ขอ้ งใจ เก่ียวกบั สภาพการทางาน โดยปราศจากความกลวั จากการถกู เลือกปฏิบตั ิ ลงโทษ ข่มขู่ หรอื คกุ คาม 10
ประกาศเลขท่ี MS-21-005 (TH) (ประกาศวนั ท่ี 12 มกราคม 2564) นโยบายและการป้องกันการลว่ งละเมิดทางเพศ บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จำกดั ไดต้ ระหนกั ถงึ ปัญหาการลว่ งละเมดิ ทางเพศ โดยผถู้ ูกคกุ คาม อาจเป็นใครกไ็ ดท้ งั้ เพ่อื นร่วมงาน หวั หนา้ ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ลกู นอ้ งเป็นตน้ ซ่งึ ปัญหานเี้ ป็นปัญหาสาคญั ใน ปัจจบุ นั ท่ีมสี าเหตหุ ลกั มาจากเจตคตขิ องคนในสงั คมท่ปี ราศจากความตระหนกั ในเร่ืองศกั ดิ์ศรี และคณุ คา่ ความเป็นมนษุ ย์ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนดกฎหมายของ มรท.8001 วา่ ดว้ ยวินยั และการลงโทษดว้ ยการ ลว่ งละเมดิ ทางเพศต่อลกู จา้ งไม่ว่าจะเป็นเพศหญิง หรือเพศชาย ดงั นนั้ ทางบรษิ ัทฯ จึงตอ้ งดาเนนิ การควบคมุ และปอ้ งกนั ปัญหาดงั กลา่ วไมใ่ หเ้ กิดขนึ้ ในสถานประกอบการ บรษิ ทั ฯ ในฐานะเป็นสว่ นหนงึ่ ของสงั คม จงึ ขอ ประกาศนโยบาย และการปอ้ งกนั การลว่ งละเมดิ ทางเพศต่อลกู จา้ งทงั้ เพศหญิง และเพศชาย ดงั นี้ 1) การลว่ งละเมิดทางเพศ หมายถึง การแสดงอาการเกินสมควรต่อลกู จา้ งทงั้ เพศหญิง และเพศชาย โดยการลว่ งจารีตประเพณี หรือจรรยามารยาท เช่น การใชค้ าพดู ในเชิงลามก การใชส้ ายตา ท่าทาง รวมไปถึง การบงั คบั ใหม้ ีเพศสมั พนั ธ์ 2) บรษิ ัทจะคานึงถือความรูส้ กึ ของลกู จา้ งทงั้ เพศหญิง และเพศชายโดยเท่าเทียมกนั การกลน่ั แกลง้ หรอื การกระทาใดๆ กต็ ามท่ีทาใหล้ กู จา้ งเกิดความอบั อายต่อสาธารณะชน เป็นการลว่ งเกนิ ความเป็นสว่ นตวั และลกู จา้ งไมย่ ินยอมใหท้ า ทางบรษิ ทั จะถือเป็นการลว่ งละเมดิ ทางเพศทงั้ สนิ้ ซง่ึ การลว่ งละเมดิ ทางเพศมี ดว้ ยกนั 3 ลกั ษณะ คือ 2.1) การลว่ งละเมิดทางเพศโดยวาจา เช่น การพดู จาแทะโลม หรือพดู ในเชิงลามกเรอ่ื งเพศ 2.2) การลว่ งละเมิดทางกริ ิยา เช่น การใชส้ ายตา การแสดงท่าทางท่ีสอ่ ไปในเร่อื งเพศ 2.3) การลว่ งละเมิดทางเพศโดยการสมั ผสั รา่ งกาย เชน่ การแตะเนือ้ ตอ้ งตวั การกอด 3) บรษิ ทั จะดาเนินการควบคมุ และปอ้ งกนั มใิ หม้ ีเพ่อื นรว่ มงาน หวั หนา้ ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ลกู นอ้ ง คนใด กระทาการล่วงเกินทางเพศตอ่ ลกู จา้ งทงั้ สนิ้ ไมว่ ่าจะเป็นเพศหญิง หรือเพศชาย 4) บรษิ ัทขอมอบหมายใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาในแตล่ ะระดบั มีหนา้ ท่สี อดสอ่ งดแู ล และใหค้ วามร่วมมอื กบั บรษิ ัทในการแจง้ ขอ้ มลู เม่อื พบเห็นว่ามีการลว่ งละเมดิ ทางเพศในสถานประกอบการ 5) บรษิ ัทจะดาเนินการลงโทษทางวินยั กบั ผทู้ ่มี พี ฤติกรรมดงั กลา่ วตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของบรษิ ัทต่อไป 11
ประกาศเลขท่ี MS-20-010 (ประกาศวนั ท่ี 3 มกราคม 2563) นโยบายระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกจิ บรษิ ทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มีความมงุ่ ม่นั ท่จี ะดาเนนิ การผลิต/สง่ มอบสินคา้ ท่มี ีคณุ ภาพ ตลอดจนสรา้ งความม่นั ใจใหก้ บั ลกู คา้ โดยปฏบิ ตั ิตามการบรหิ ารความตอ่ เน่อื งทางธุรกิจ ภายใตน้ โยบาย และ การดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้ 1. สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรภายในองคก์ รทกุ หน่วยงาน เตรยี มความพรอ้ มในการรบั มือกบั สถานการณท์ ่ี จะมีผลกระทบต่อธุรกิจ โดยจดั ใหม้ ีคณะทางานเพ่ือรบั ผิดชอบต่อสถานการณต์ า่ งๆ อย่างต่อเน่ือง และเป็นรูปแบบ 2. ม่งุ ม่นั และพฒั นาระบบการบรหิ ารความต่อเน่อื งทางธุรกิจ โดยปฏบิ ตั ติ ามความตอ้ งการของ ลกู คา้ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ อย่างสงู สดุ 3. ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งอยา่ งเครง่ ครดั ตลอดจนตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ และ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี กบั องคก์ ร เพ่ือใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกนั 4. สง่ เสรมิ และปฏบิ ตั ิตามระบบการบรหิ ารความต่อเน่อื งทางธรุ กิจ ตลอดจนเฝา้ ติดตาม และ พฒั นาระบบอยา่ งตอ่ เน่ือง ประกาศเลขที่ MS-20-004 (ประกาศวนั ท่ี วนั ที่ 3 มกราคม 2563) นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน บรษิ ัท อดมั แพค (ประเทศไทย) จากดั มีความม่งุ ม่นั ในการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีว อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ควบค่ไู ปกบั การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีประจาของพนกั งานทกุ คน โดยมี นโยบายในการดาเนินงานดงั นี้ 1. ควบคมุ การดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2. ดาเนินการปอ้ งกนั อนั ตราย การบาดเจบ็ หรอื เจ็บป่วยจากการทางาน ท่มี ีโอกาสเกิดขึน้ และลด ความเสี่ยงตงั้ แต่ระดบั ปานกลางขึน้ ไปอนั จะมผี ลตอ่ พนกั งาน และผเู้ กี่ยวขอ้ ง รวมถงึ ทรพั ยส์ ินของบริษทั ฯ เพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความสญู เสียจากอบุ ตั เิ หตุ หรืออบุ ตั ิการณต์ า่ งๆ 3. สนบั สนนุ และสอื่ สาร สรา้ งจติ สานกึ ใหพ้ นกั งาน และผเู้ กี่ยวขอ้ งทกุ คนปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภยั และมสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ กิจกรรมดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 12
ข้อตกลงเก่ยี วกับการทางาน 1. การวา่ จา้ ง 1.1 พนักงานทอี่ ย่ใู นชว่ งทดลองงาน 90-119 วนั เม่อื บรษิ ัทฯ ตกลงจา้ งพนกั งานเขา้ ทางาน พนกั งานจะอย่ใู นชว่ งทดลองงาน 90-119 วนั หากในชว่ งทดลองงานมผี ลการทางานเป็นท่นี ่าพอใจและเขา้ เกณฑม์ าตรฐาน จะบรรจเุ ป็นพนกั งานประจา ตอ่ ไป หากผลการปฏบิ ตั ิงานในระยะทดลองงานต่ากว่าเกณฑม์ าตรฐาน จะพิจารณาใหพ้ น้ สภาพจากการ เป็นพนกั งาน โดยบรษิ ทั ฯ จะแจง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ 1.2 พนักงานประจาทไี่ ดร้ ับการบรรจุแลว้ จะไดร้ บั สิทธิประโยชนแ์ ละสวสั ดกิ ารตามขอ้ กาหนดของระเบียบและขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน 2. วนั ทางาน เวลาทางานปกติ เวลาทางานล่วงเวลาและเวลาพัก ประเภทพนักงาน กะการ วนั ทางาน เวลาทางานปกติ พนง. ทางาน รายเดอื น รายวัน พนกั งาน สว่ นสานกั งาน และ สว่ น - จนั ทร-์ ศกุ ร์ 08.00-17.30 น. 08.00-17.00 น. สานกั งานท่สี นบั สนนุ การผลิต พนกั งานสว่ นสนบั สนนุ การผลติ กะเชา้ จนั ทร-์ ศกุ ร์ 08.00-17.30 น. 08.00-17.00 น. กะดกึ อาทิตย-์ พฤหสั 20.00-05.30 น. 20.00-05.00 น. พนักงาน เวลาพัก พนกั งาน สว่ นสานกั งาน และ สว่ นสานกั งานท่สี นบั สนนุ การผลติ (รบั ประทานอาหาร) พนกั งานสว่ นสนบั สนนุ การผลติ (กะเชา้ ) พนกั งานสว่ นสนบั สนนุ การผลิต (กะดกึ ) 12.00-13.00 น. 12.00-13.00 น. 00.00-01.00 น. หมายเหตุ 1. วนั -เวลาทางานดงั กลา่ ว อาจปรบั เปล่ียนวนั -เวลาทางาน ตามความเหมาะสมกบั ปรมิ าณงาน 2. พนกั งานทกุ คนจะมเี วลาพกั วนั ละ 1 ช่วั โมง และไม่ถือเป็นช่วั โมงทางาน ทางบริษทั ฯ อาจจดั ให้ พนกั งานมีเวลาพกั สบั เปลย่ี นหมนุ เวียนเป็นกลมุ่ ตามความเหมาะสม และเวลาพกั เบรคพนกั งาน สามารถพกั ได้ โดยอิสระตามความเหมาะสม 13
3. วันหยดุ และหลักเกณฑก์ ารหยุด 3.1 วันหยุดประจาสปั ดาห์ พนักงาน วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ พนกั งาน สว่ นสานกั งาน และ สว่ นสานกั งานท่สี นบั สนนุ การผลิต วนั เสาร์ – วนั อาทิตย์ พนกั งานสว่ นสนบั สนนุ การผลติ (กะเชา้ ) วนั เสาร์ – วนั อาทิตย์ พนกั งานสว่ นสนบั สนนุ การผลิต (กะดกึ ) วนั ศกุ ร์ – วนั เสาร์ 3.2 วันหยดุ ตามประเพณี ในรอบปีปฏทิ นิ จะมีวนั หยดุ ประเพณีไม่นอ้ ยกว่าปีละ 3.3 วันหยุดพกั ผ่อนประจาปี 13 วนั (โดยรวมวนั แรงงานแห่งชาติ) โดยพนกั งานจะ ไดร้ บั ค่าจา้ งเท่ากบั วนั ทางานปกติ ทงั้ นี้ บรษิ ทั ฯ จะ ประกาศใหพ้ นกั งานทราบลว่ งหนา้ เป็นรายปี พนกั งานท่ที างานติดต่อกนั มาแลว้ ครบ 1 ปี มสี ทิ ธิลาหยดุ พกั ผ่อนประจาปี ตามหลกั เกณฑข์ องบรษิ ทั ฯ 4. วนั ลา และหลกั เกณฑก์ ารลาประเภทต่าง ๆ คาวา่ “ปี ละ” ตามระเบยี บนีใ้ หห้ มายถงึ ปีปฏิทิน คือนบั จากวนั ท่ี 1 มกราคม ถงึ 31 ธนั วาคมของปี เดียวกนั 4.1 การลาพกั ผ่อนประจาปี (ลาพกั ร้อน) บรษิ ัทฯ กาหนดใหพ้ นกั งานมสี ทิ ธิลาหยดุ พกั ผ่อนประจาปีไดต้ ามความเหมาะสม โดยไดร้ บั ค่าจา้ งเทา่ กบั วนั ทางานปกติ โดยมีรายละเอยี ด ขนั้ ตอนดงั นี้ 4.1.1 พนกั งานจะตอ้ งมีอายงุ านครบ 1 ปีขนึ้ ไป 4.1.2 พนกั งานจะตอ้ งย่นื ใบลาลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 วนั ทางาน 4.1.3 ตอ้ งไดร้ บั การพิจารณาอนมุ ตั จิ ึงจะลาหยดุ ได้ 4.1.4 มสี ิทธิลาหยดุ ไดต้ งั้ แต่ ครง่ึ วนั ขึน้ ไป 4.1.5 วนั ลาพกั ผอ่ นท่เี หลือไมส่ ามารถนามาสะสมกบั ปีถดั ไปได้ 4.1.6 การใชส้ ทิ ธิการลาพกั รอ้ น ใหเ้ ฉลยี่ การใช้ โดยแบง่ ครง่ึ ปีแรก และครง่ึ ปีหลงั ตามสดั สว่ น จานวนวนั ลาพกั รอ้ น ท่ไี ดร้ บั 4.1.7 ทางบรษิ ทั ฯ จะทาการคนื เงินคา่ ลาหยดุ พกั ผ่อนประจาปี ใหก้ บั พนกั งาน ในกรณีท่มี ีวนั ลาหยดุ พกั ผ่อนประจาปีท่เี หลอื โดยคนื ตามกาหนดเง่อื นไข ของบรษิ ัทฯ 14
ตารางคานวณวันลาพักร้อน พกั ผ่อนประจาปี ทไี่ ด้ ทางานครบ (ปี ) 6 วนั 1 ปี 7 วนั 3 ปี 8 วนั 5 ปี 9 วนั 7 ปี 10 วนั 9-10 ปี 12 วนั ตงั้ แต่ 10 ปีขนึ้ ไป 4.2 การลาป่ วย พนกั งานท่เี จ็บป่ วยจนไม่สามารถมาปฏบิ ตั ิงานได้ สามารถขออนญุ าตลาป่วยโดยไดร้ บั ค่าจา้ งได้ สงู สดุ ปี ละไม่เกิน 30 วัน และ 4.2.1 พนกั งานจะตอ้ งตดิ ต่อใหท้ างบรษิ ทั ฯ ทราบภายใน 4 ช่วั โมงแรกของวนั ท่หี ยดุ งาน 4.2.2 หากการเจบ็ ป่ วยนนั้ จะตอ้ งหยดุ พกั รกั ษาตวั ตงั้ แต่ 3 วนั ทางานติดต่อกนั ไม่วา่ จะมี วนั หยดุ ค่นั หรือไม่ พนกั งานตอ้ งนาใบรบั รองแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั้ หนง่ึ ซง่ึ ระบุคาวินิจฉยั ของแพทย์ และจานวนวนั หยุดมาประกอบการลาดว้ ย 4.2.3 ภายในวนั แรกของการกลบั มาทางานพนกั งานจะตอ้ งเขียนใบลา และสง่ ใบลาท่ไี ดร้ บั การ อนมุ ตั ิคนื แผนกทรพั ยากรมนษุ ยภ์ ายในวนั นนั้ 4.2.4 พนกั งานท่ลี าป่ วยบ่อยๆ หรือลางานจนเตม็ หรอื เกินสทิ ธิ บรษิ ัทฯ ถือว่าเป็นพนกั งานท่ีไร้ ประสทิ ธิภาพ และบรษิ ัทฯ จะคงไวซ้ ่งึ สทิ ธิท่จี ะสง่ ตวั พนกั งานผนู้ นั้ ใหแ้ พทยท์ าการตรวจ วเิ คราะหโ์ ดยละเอยี ด เพ่อื วินิจฉยั หาสาเหตกุ ารป่วยตามท่ีอา้ ง และหากพบว่าไม่ไดป้ ่วย จรงิ แตใ่ ชส้ ทิ ธิการลาป่วยบรษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาลงโทษตามแต่กรณีจนถงึ เลกิ จา้ ง 4.2.5 พนกั งานท่หี ยดุ งานโดยไม่มีสาเหตอุ นั ควร และหรือโดยท่ีแพทยไ์ มอ่ อกความเห็นรบั รอง วา่ ป่วยจรงิ หรือควรพกั รกั ษาตวั บรษิ ทั จะถือว่า ขาดงาน 4.3 การลากจิ 4.3.1 การลากจิ ท่ัวไป เช่น กรณีกิจธุระสว่ นตัว หรือติดต่อหน่วยราชการ 4.3.1.1 พนกั งานมสี ิทธิลากจิ เพ่อื ทาธุระจาเป็นสว่ นตวั โดยไดร้ บั ค่าจา้ งตามปกติเดือนละ ไมเ่ กิน 1 วนั ทางานและใหส้ ะสมวนั ลากิจเพ่อื ลารวมกนั ไดป้ ีละไม่เกิน 7 วนั ทางาน 4.3.1.2 พนกั งานจะตอ้ งเขียนใบลาลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 วนั ทางาน 15
4.3.1.3 พนกั งานจะตอ้ งไดร้ บั การพจิ ารณาอนมุ ัตจิ งึ ลาหยุดได้ กรณีลากจิ เร่งดว่ นฉุกเฉนิ 4.3.1.4 พนกั งานจะตอ้ งติดต่อใหท้ างบรษิ ัทฯ ทราบภายใน 4 ช่วั โมงแรกของวนั ท่ีหยดุ งาน 4.3.1.5 จะตอ้ งมีเอกสารหลกั ฐานประกอบการลา มาย่นื กบั ทางบรษิ ัทฯ โดยจะ พิจารณาอนมุ ตั ิ เป็นรายกรณีไป 4.3.1.6 ภายในวนั แรกของการกลบั มาทางานพนกั งานจะตอ้ งเขียนใบลา และสง่ ใบลา ท่ไี ดร้ บั การอนมุ ตั ิคนื แผนกทรพั ยากรมนษุ ยภ์ ายในวนั นนั้ 4.3.2 การลาสมรส 4.3.2.1. พนกั งานตอ้ งมอี ายุการทางานตดิ ต่อกนั ครบ 1 ปีขนึ้ ไป 4.3.2.2. ลาโดยไดร้ บั ค่าจา้ งเท่าวนั ท่ลี าจรงิ แตไ่ ม่เกิน 3 วนั ทางานตดิ ตอ่ กนั 4.3.2.3. ตอ้ งย่ืนใบลาล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 7 วนั ทางาน พรอ้ มย่ืนหลกั ฐานประกอบ ใบลา 4.3.2.4. ใชส้ ทิ ธิการลาไดค้ รง้ั เดียวตลอดอายงุ าน 4.3.3 การลาอุปสมบท/ ลาเพอ่ื บวชชี / ลาเพอ่ื ประกอบพิธฮี ัจจ์ หรือ พธิ ีสาคัญของ ศาสนาอ่นื ๆ 4.3.3.1 ตอ้ งเป็นพนกั งาน ท่มี ีอายกุ ารทางานติดตอ่ กนั ครบ 1 ปีขึน้ ไป 4.3.3.2 มสี ิทธิลาไดเ้ ป็นเวลาไมเ่ กิน 15 วนั โดยนบั รวมวนั หยดุ ท่ีมีในระหว่างการลา โดยไดร้ บั ค่าจา้ งตามวนั ท่ลี าจรงิ 4.3.3.3 ตอ้ งย่ืนใบลาล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 15 วนั ทางาน พรอ้ มย่นื หลกั ฐานประกอบ ใบลา 4.3.3.4 ใชส้ ทิ ธิการลาไดค้ รง้ั เดียวตลอดอายุงาน 4.3.4 การลาเพอ่ื ฌาปนกิจศพ (บคุ คลภายในครอบครัว และญาติใกลช้ ิด) บคุ คลภายในครอบครวั หมายถงึ บดิ า, มารดา, บตุ ร และค่สู มรสเทา่ นนั้ ญาตใิ กลช้ ิด หมายถงึ ป่,ู ย่า, ตา, ยาย และพ่นี อ้ งรว่ มบดิ ามารดา ของ พนกั งาน และบิดามารดาของคสู่ มรส 4.3.4.1 พนกั งานจะตอ้ งแจง้ ใหบ้ รษิ ัททราบ ภายในวนั แรกท่หี ยดุ งาน 4.3.4.2 มสี ิทธิลาโดยไดร้ บั ค่าจา้ งเทา่ วนั ท่ลี าจรงิ แต่ไมเ่ กิน 3 วนั ทางาน 16
4.3.4.3 หลกั ฐานประกอบการลา คอื ใบมรณะบตั รและเอกสารแสดงความสมั พนั ธ์ กบั พนกั งาน 4.4 การลาคลอด 4.4.1 เม่อื ทราบว่าตงั้ ครรภพ์ นกั งานจะตอ้ งรายงานใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบทนั ที 4.4.2 การลาคลอดจะตอ้ งย่นื ใบลา หรอื แจง้ ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื แผนกทรพั ยากรมนษุ ยท์ นั ทีท่ี ขอลาคลอด 4.4.3 การลาคลอด พนกั งานหญิงมสี ทิ ธิลาทงั้ กอ่ นและหลงั คลอดรวมกนั ไดไ้ มเ่ กิน 98 วนั โดย นบั รวมวนั หยุดท่มี ีในระหว่างวนั ลา ซ่งึ บริษทั ฯ จะจ่ายค่าจา้ งใหต้ ามวนั ท่ลี าจรงิ แตไ่ ม่ เกนิ 45 วนั 4.4.4 หลกั ฐานประกอบการลา คอื ใบรบั รองแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั้ หน่ึง ซง่ึ ระบคุ าวนิ จิ ฉัยของ แพทยแ์ ละสตู ิบตั รมาแสดงในวนั แรกเม่ือกลบั เขา้ มาทางาน 4.5 การเกษียณ และการลาออก 4.5.1 ลกั ษณะการเกษียณและการลาออก พนกั งานจะสิน้ สภาพดว้ ยการเป็นพนกั งาน ดว้ ยเหตุ ดงั ต่อไปนี้ 4.5.1.1 พนกั งานเสียชีวิต 4.5.1.2 พนกั งานอายุครบกาหนดเกษียณอายุ หรือขอเกษียณอายกุ ่อนกาหนด(อา้ งอิง ตามประกาศบรษิ ัท) 4.5.1.3 พนกั งานลาออกโดยสมคั รใจ และไดม้ กี ารแจง้ ใหก้ บั ทางบรษิ ัทฯ ไดร้ บั ทราบ 4.5.1.4 พนกั งานถกู เลิกจา้ งดว้ ยเหตผุ ลตามท่รี ะบุ ขอ้ 8.5 การลงโทษทางวินยั 4.5.2 การเกษียณ 4.5.2.1 การเกษียณอายุ ใหย้ ดึ ตามท่ีกฎหมายกาหนด 4.5.2.2 การขอเกษียรอายกุ อ่ นครบกาหนด ทงั้ นีข้ นึ้ อยู่กบั การพิจารณาของทางบรษิ ทั ฯ เป็นบางราย หรือกรณีไป (อา้ งองิ ตามประกาศบรษิ ทั ) 4.5.3 การลาออก 4.5.3.1 พนกั งานท่ีตอ้ งการลาออก จะตอ้ งขอใบลาออกท่ีแผนกทรพั ยากรมนษุ ยเ์ ทา่ นนั้ 4.5.3.2 พนกั งานท่ีตอ้ งการลาออก บรษิ ัทฯ ขอความรว่ มมือพนกั งานในการเขียนใบลาออก ลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 วนั เพ่อื ทางบรษิ ัทฯ จะไดด้ าเนินการสรรหาพนกั งานมา ทดแทนตาแหนง่ งานท่วี ่างลง 17
4.5.3.3 พนกั งานจะตอ้ งรบั ผิดชอบงานในหนา้ ท่ที ่ไี ดร้ บั มอบหมายใหส้ าเรจ็ การลาใดๆ ทไ่ี ม่เป็ นไปตามหลกั เกณฑก์ ารลา หรือการหยุดงานโดยไม่ไดร้ ับอนุญาตให้ถือว่า ขาดงาน จะไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ ง และถกู พจิ ารณาโทษทางวินัยอกี ทัง้ จะนามาเป็ นเงื่อนไขในการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานเพอื่ ปรับค่าจ้างเงนิ เดือน และหรือ การจา่ ยเงนิ โบนัสด้วย 5. หลกั เกณฑ์ การทางานล่วงเวลาในวันทางานปกติ และการทางานลว่ งเวลา ในวนั หยุด 5.1 หลกั เกณฑก์ ารทางานลว่ งเวลาในวันทางานปกติ และการทางานล่วงเวลาใน วันหยดุ 5.1.1 พนกั งานตอ้ งเขยี นแบบคาขอทางานลว่ งเวลา ทางานในวนั หยุด ตามแบบท่บี รษิ ทั ฯ กาหนด พรอ้ มใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การแผนกขึน้ ไปเซน็ อนมุ ตั ิจึงจะสามารถทางาน ลว่ งเวลา หรือทางานในวนั หยดุ ได้ 5.1.2 พนกั งานจะตอ้ งใหค้ วามรว่ มมือในการทางานในวนั หยุด หรอื กรณีท่เี ป็นงานอนั มี ลกั ษณะตอ้ งทาตอ่ เน่ืองถา้ หยดุ จะทาใหเ้ สียงาน หรอื เป็นงานฉกุ เฉิน ทงั้ นีข้ นึ้ อย่กู บั ดลุ พินจิ ของผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การแผนกขนึ้ ไป 5.2 อตั ราการจา่ ยคา่ ทางานล่วงเวลาในวันทางานปกติ และค่าทางานลว่ งเวลา ในวันหยุด 5.2.1 ค่าทางานลว่ งเวลา 5.2.1.1 ค่าทางานลว่ งเวลาในวนั ทางานปกติ อตั ราการจ่ายคา่ จา้ งต่อช่ัวโมง (เทา่ ) ประเภทวนั พนักงานรายเดือน พนักงานรายวัน (ถา้ ม)ี วนั ทางานปกติ (สว่ นสานักงาน และส่วนสนับสนุนการผลติ ) 1.5 เท่า 1.5 เท่า 18
5.2.1.2 ค่าทางานลว่ งเวลาในวนั หยุด (อา้ งตามประกาศเลขท่ี ADMHR 012/2558) อัตราการจ่ายคา่ จ้างต่อช่วั โมง (เท่า) พนักงานรายเดือน พนักงานรายวัน (ถา้ มี) (ส่วนสานักงาน และสว่ นสนับสนุนการผลติ ) ประเภทวัน 08.00 น.- 17.30 น. 18.00 น. เป็นตน้ ไป 08.00 น.- 17.00 น. 17.30 น. เป็นตน้ ไป - วนั หยดุ ประจา สปั ดาห์ หรือ 20.00 น. - 05.30 น. หรือ 06.00 น. เป็นตน้ ไป หรือ 20.00 น. - 05.00 น. หรือ 05.30 น. เป็นตน้ ไป - วนั หยดุ ตาม ประเพณีซ่งึ บริษัทฯ 1 เท่า 3 เทา่ 2 เทา่ 3 เท่า ประกาศใหห้ ยดุ 1 เทา่ 3 เท่า 2 เท่า 3 เท่า 5.2.1.3 การคานวณอตั ราค่าจา้ งต่อช่วั โมง เพ่อื ใชใ้ นการคานวณค่าทางานลว่ งเวลา ในวนั ทางานปกติ และค่าทางานลว่ งเวลาในวนั หยุด ใชห้ ลกั เกณฑด์ งั นี้ ประเภทพนักงาน การคานวณ พนกั งานรายเดอื น อตั ราค่าจา้ งต่อเดือน จานวนวนั ใน 1 เดือน (30 วนั ) ผลลัพธ์ จานวนช่วั โมงทางานปกติใน 1 วนั ผลลพั ธ์ X อตั ราการจ่ายค่าจา้ งตอ่ ช่วั โมง (เทา่ ) ผลลพั ธ์ X ช่วั โมงท่ที างานลว่ งเวลา พนกั งานรายวนั (ถา้ มี) อตั ราค่าจา้ งต่อวนั จานวนช่วั โมงทางานปกติใน 1 วนั ผลลัพธ์ X อตั ราการจ่ายค่าจา้ งตอ่ ช่วั โมง (เทา่ ) ผลลพั ธ์ X ช่วั โมงท่ที างานล่วงเวลา 19
6. วนั และสถานทจี่ า่ ยค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา และคา่ ทางานในวนั หยดุ บรษิ ัทฯ จะคานวณ และจา่ ยคา่ จา้ งโดยการจ่ายผา่ นบญั ชเี งินฝากธนาคาร ตามท่ีบรษิ ัทฯ กาหนด หลงั จากบรษิ ัทฯ หกั เงินค่าประกนั สงั คมและเงนิ คา่ ภาษีเงนิ ไดห้ กั ณ. ท่จี ่ายของพนกั งาน โดย จา่ ยค่าจา้ ง ค่าลว่ งเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ เดอื นละ 1 ครง้ั ทกุ วนั ท่ี 28 ของเดือน การจ่ายค่าจา้ ง เป็นการคิดคานวณ การทางานช่วงวนั ท่ี 1-31 ของเดือนนนั้ ๆ และการจา่ ยค่าลว่ งเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ เป็นการคิดคานวณ การทางาน ชว่ งวนั ท่ี 1-31 ของเดอื นท่ีผ่านมากอ่ นหนา้ นนั้ อน่ึง หากวนั ท่กี าหนดจา่ ยเงนิ ขา้ งตน้ ตรงกบั วนั หยุดของบรษิ ัทฯ หรือวนั หยดุ ของทางธนาคาร บรษิ ทั จะเลอ่ื นกาหนดการจา่ ยเงนิ ใหเ้ รว็ ขนึ้ 7. สวสั ดิการ และผลประโยชน์ สวสั ดกิ ารตา่ งๆ ท่ีบรษิ ทั ฯ จดั ใหก้ บั พนกั งานมดี งั นี้ สวัสดิการทจ่ี ัดให้ จานวนทไี่ ด้รับ เงอ่ื นไข 1. เบยี้ ขยนั 600 บาทต่อเดือน จา่ ยใหท้ กุ งวดค่าจา้ ง แต่ตอ้ งเป็นการ (ตามสญั ญาจา้ งท่กี าหนด) ทางานท่เี ตม็ งวดการจา่ ยคา่ จา้ ง คอื วนั ท่ี 1-31 ของเดอื น ไมห่ ยดุ งาน ลางาน มาสาย หรือกลบั กอ่ น (ยกเวน้ การลาพกั ผ่อนประจาปี หรือ บรษิ ัทฯ ประกาศใหพ้ นกั งานหยดุ งาน) บนั ทกึ เวลาทางาน เขา้ -ออก ครบถว้ น ในรอบระยะเวลาการจ่ายเงิน 2.ค่าอาหารมือ้ กลางวนั 30 บาทต่อวนั วนั ทางานปกติ โดยมาปฏบิ ตั งิ าน หรือ ทางานเกนิ 4 ชม. ขนึ้ ไป (ตามสญั ญาจา้ งท่กี าหนด) สาหรบั การทางานวนั หยุดประจา 3.ค่าอาหารสาหรบั การ 35 บาทต่อวนั สปั ดาห์ หรือวนั หยดุ ตามประเพณีซง่ึ บรษิ ัทฯ ทางานลว่ งเวลา (OT) ประกาศใหห้ ยุด จะตอ้ งมาทางาน เกิน 4 ชม.ขนึ้ ไป และจะตอ้ งมาทางานตามเวลาท่ี (ตามสญั ญาจา้ งท่กี าหนด) ทางบรษิ ทั ฯกาหนด การทางานลว่ งเวลาวนั ทางานปกติ , วนั หยุดประจาสปั ดาห์ และวนั หยดุ ตาม ประเพณี ซง่ึ บรษิ ทั ฯ ประกาศใหห้ ยดุ ท่มี ี การปฏิบตั งิ านลว่ งเวลาตงั้ แต่ 2 ชม.ขนึ้ ไป 20
สวสั ดิการทจ่ี ดั ให้ จานวนทไ่ี ดร้ ับ เงอ่ื นไข 4.ค่ากะ 50 บาทต่อวนั เฉพาะวนั ท่มี าปฏิบตั ิงานในกะดึก 100 บาทต่อวนั ตงั้ แตเ่ วลา 20.00-05.30 น. (ตามสญั ญาจา้ งท่ีกาหนด) ตามท่ี บรษิ ัทฯกาหนด วนั ทางานปกติ โดยมาปฏบิ ตั ิงาน หรือ 5.ค่าเบีย้ ขยนั รายวนั บรษิ ทั ฯ ทาประกนั อบุ ตั ิเหตุ ทางานเกิน 4 ชม. ขนึ้ ไป กลมุ่ สาหรบั พนกั งาน (ตามสญั ญาจา้ งท่กี าหนด) สาหรบั การทางานวนั หยุดประจา พนกั งาน 1 คนต่อ 1 ชอ่ ง สัปดาห์ หรือวนั หยดุ ตามประเพณซี ่ึง 6.รถรบั -สง่ พนกั งาน บริษทั ฯ ประกาศให้หยดุ จะตอ้ งมา 7.ประกนั อบุ ตั เิ หตุ ทางานเกิน 4 ชม.ขึน้ ไป และจะต้องมา ทางานตามเวลาทท่ี างบริษัทฯ กาหนด (ตามสญั ญาจา้ งท่กี าหนด) สายรถ และเสน้ ทางเดินรถ ตามท่ี บรษิ ัทฯกาหนด 8.ตเู้ ก็บของ (Locker) เป็นพนกั งานท่ผี ่านการทดลองงาน ขอ้ กาหนดในการใชส้ ิทธิ - รพ. ในโครงการ ไม่ตอ้ งเสียคา่ รกั ษาพยาบาล - รพ. นอกโครงการ เสียค่า รกั ษาพยาบาลแลว้ นาเอกสารมาเบกิ กบั บริษทั ประกนั ฯ วงเงินค่ารกั ษาพยาบาลอบุ ตั ิเหตตุ ่อ ครง้ั กาหนดอย่บู นหนา้ บตั ร เป็นพนกั งานในสว่ นท่สี นบั สนนุ การผลติ 9. เครอื่ งแบบพนกั งาน - เสือ้ ยนู ิฟอรม์ 2 ตวั เป็นพนกั งานบรษิ ัทฯ ครบ 1 ปี - รองเทา้ 1 ค่ตู ่อปี (สาหรบั ผทู้ ่ี สาหรบั พนกั งานเขา้ ใหม่ เกี่ยวขอ้ งกบั ไลนก์ ารผลติ ) - วนั แรกท่เี ร่มิ งาน - รองเทา้ 1 คู่ - เม่อื ทางานครบ 3 วนั (สาหรบั ผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั ไลนก์ าร ผลติ ) - เสือ้ ก๊กั 1 ตวั 21
สวัสดกิ ารทจ่ี ดั ให้ จานวนทไี่ ด้รับ เงอื่ นไข - เสือ้ ยนู ิฟอรม์ 4ตวั - เม่อื ผา่ นการทดลองงาน 10.โบนสั ประจาปี (โดยจะตอ้ งนาเสอื้ กก๊ั มาคนื กาหนดจ่ายในเดือนธันวาคมของทกุ ปี 11. เงินช่วยเหลือกรณี แผนกทรพั ยากรมนษุ ย)์ หรือตามประกาศของบริษัท ฯ ในแต่ละปี มรณกรรม กรณีท่บี รษิ ัทฯ มกี าไรในการ กรณีพนกั งานเสียชีวติ ประกอบกิจการ บรษิ ัทฯ จะ พจิ ารณาจ่ายเงนิ โบนสั ตาม ค่สู มรส และบุตรเสียชีวิต หลกั เกณฑท์ ่ีบรษิ ัทฯ กาหนด บิดา มารดา ซง่ึ เป็นผใู้ หก้ าเนดิ ของ - เงินช่วยเหลือ 5,000 บาท พนกั งานเสยี ชีวิต - บรษิ ทั ฯ เป็นเจา้ ภาพ 5,000 บาท - ค่าพวงหรีด 500 บาท - เงินชว่ ยเหลือ 5,000 บาท - ค่าพวงหรีด 500 บาท - เงนิ ชว่ ยเหลือ 2,000 บาท - ค่าพวงหรีด 500 บาท 12. เงนิ พิเศษ สาหรบั - 3,000 บาท (จ่ายครงั้ เดียว) พนกั งานหญิงท่ีลาคลอด 45 วนั และ พนกั งานหญิงลาคลอด กลบั มาทางาน 22
8. ระเบยี บปฏิบตั ิ วินัย และโทษทางวินัย พนกั งานทกุ คนตอ้ งปฏบิ ตั ิตามระเบียบขอ้ บงั คบั อย่างเครง่ ครดั 8.1 เจตนารมณ์ 8.1.1 บรษิ ทั ฯ ไดก้ าหนดวินยั และการลงโทษทางวินยั ไว้ เพ่อื ใหพ้ นกั งานไดท้ ราบถงึ ขอ้ ควร ปฏบิ ตั ิ และขอ้ หา้ มตา่ งๆ อนั จะช่วยใหเ้ กิดความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ยในการทางาน รว่ มกนั ของพนกั งาน 8.1.2 บรษิ ัทฯ ถือว่าการลงโทษพนกั งานมิใชเ่ ป็นการกล่นั แกลง้ หรือตอ้ งการใหพ้ นกั งาน เดอื ดรอ้ น แต่เพ่อื ปอ้ งกนั มิใหม้ ีการกระทาผดิ อกี หรือเพ่ือปอ้ งกนั มใิ หม้ กี ารกระทาผิดท่ี รา้ ยแรงย่ิงขนึ้ 8.2 ระเบยี บปฏบิ ัติท่วั ไป 8.2.1 แตง่ กายดว้ ยเคร่ืองแบบพนกั งาน ตามท่ีบรษิ ัทฯ กาหนด 8.2.2 พนกั งานจะตอ้ งบนั ทกึ เวลาทางานดว้ ยตนเองทกุ ครงั้ ทงั้ เวลาเขา้ และออกจากการ ทางาน ตามท่ีบรษิ ัทฯ กาหนด หากครง้ั ใดลืม หรือไมไ่ ดบ้ นั ทกึ เวลาทางาน เน่ืองจาก สาเหตอุ ่นื ๆ เช่น อบรมนอกสถานท่ี จะตอ้ งแจง้ ต่อหวั หนา้ งานและแผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ ทราบทนั ที พรอ้ มเขียนแบบขอบนั ทึกเวลาและตอ้ งไดร้ บั การพจิ ารณาอนมุ ตั ิจากผจู้ ดั การ แผนก การบนั ทกึ เวลาการทางานใหผ้ อู้ ่นื หรือใหผ้ อู้ ่ืนบนั ทกึ เวลาการทางานใหต้ นเองถือ เป็นความผดิ รา้ ยแรง ถงึ ขนั้ เลกิ จา้ ง 8.2.3 ใสร่ องเทา้ ท่ีบรษิ ัทฯ แจกใหเ้ ม่ืออย่ใู นบรเิ วณโรงงาน และไม่ใสร่ องเทา้ ท่บี ริษัทฯ แจกให้ ออกนอกบรเิ วณอาคารโรงงาน 8.2.4 พนกั งานท่ีปฏิบตั ิงานในพนื้ ท่คี วบคมุ เฉพาะจะตอ้ งสวมชดุ ปฏบิ ตั งิ านท่ีบรษิ ัทจดั เตรียม ให้ และปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของพนื้ ท่นี นั้ ๆ เช่น Clean-room 8.2.5 หา้ มเกบ็ ส่ิงของท่ีเป็นอปุ กรณก์ ารทางานไวใ้ น Locker 8.2.6 หา้ มสบู บหุ รภี่ ายในตวั อาคารโรงงาน สบู บหุ รไี่ ดเ้ ฉพาะสถานท่ที ่จี ดั ไวใ้ หเ้ ทา่ นนั้ 8.2.7 หา้ มมิใหพ้ นกั งานเขา้ มาทางานในอาการมนึ เมา เน่อื งจากด่มื สรุ ายาเสพติด หรือของมนึ เมาทกุ ชนดิ 8.2.8 หา้ มนาส่ิงของเขา้ มาขายในบรเิ วณบริษทั ฯไม่ว่าจะเป็นในรูปการส่งั ซอื้ เพ่อื มาจาหน่าย รวมทงั้ เลน่ แชร์ หรือหวยตลอดจนการกเู้ งินในหม่พู นกั งาน 8.2.9 พนกั งานท่นี าทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ัทฯ ออกนอกบรษิ ัทฯ จะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจาก ผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การแผนกขนึ้ ไป และผจู้ ดั การแผนกทรพั ยากรมนษุ ยต์ อ้ งเซ็น รบั ทราบ (ตามแบบฟอรม์ ของบรษิ ัทฯ เทา่ นนั้ ) ก่อนท่จี ะนาทรพั ยส์ ินบริษทั ฯ ออกนอก บรษิ ทั ฯ 23
8.2.10 หา้ มพนกั งานทาการเคลือ่ นยา้ ยสบั เปล่ียนทรพั ยส์ ินของบรษิ ัทฯ จากสถานท่ีหนึง่ ไปยงั อกี สถานท่หี นง่ึ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากผจู้ ดั การแผนกขนึ้ ไป 8.2.11 สาหรบั พนกั งานท่มี คี วามประสงคจ์ ะขอใชร้ ถตบู้ รษิ ัทฯ ออกนอกบรษิ ัทฯ จะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การแผนกขนึ้ ไป และผคู้ วบคมุ การใชร้ ถตบู้ รษิ ัทฯ เซ็นรบั ทราบ (ตามแบบฟอรม์ ของบรษิ ทั ฯ เทา่ นนั้ ) ก่อนท่ีจะนารถตบู้ รษิ ทั ฯ ออกนอก บรษิ ทั ฯ 8.2.12 พนกั งานท่ี เขา้ – ออก นอกบรษิ ัทฯ ในเวลาพกั กลางวนั จะตอ้ งลงบนั ทึกการเขา้ – ออกไว้ ท่ปี อ้ มยาม 8.2.13 ไม่อนญุ าตใหพ้ นกั งานนาอาหาร/เครอ่ื งดืม่ มารบั ประทานในบรเิ วณดงั ต่อไปนี้ คือ พนื้ ท่กี ารผลิต, สว่ นสนบั สนนุ การผลิต, บรเิ วณดา้ นขา้ งบรษิ ทั ฯ, หอ้ งประชมุ เล็ก(ชนั้ 1) และบรเิ วณหนา้ Lobby โดยใหพ้ นกั งานรบั ประทานอาหารในสถานท่ีท่บี รษิ ัทฯ จดั ให้ ( โรงอาหาร) 8.2.14 ไมอ่ นญุ าตใหพ้ นกั งานนอนบรเิ วณหนา้ Lobby ทุกเวลา 8.2.15 พนกั งานตอ้ งใหค้ วามรว่ มมือ ชว่ ยเหลือ ปอ้ งกนั และแจง้ ใหบ้ รษิ ัทฯ ทราบทนั ทีเม่ือพบเห็น เหตรุ า้ ยเกดิ ขึน้ ภายในบรษิ ทั เชน่ อบุ ตั เิ หตุ โจรกรรม อคั คีภยั ฯลฯ 8.2.16 เป็นความรบั ผิดชอบของพนกั งานท่จี ะตอ้ งอา่ น และทราบประกาศซง่ึ ทางบรษิ ัทฯ ปิดไว้ ณ ท่ปี ิดประกาศของบรษิ ัทฯ หรือจากระบบสื่อสารอ่นื ใดท่ีบรษิ ทั ฯ จดั ขนึ้ 8.2.17 พนกั งานจะตอ้ งช่วยกนั รกั ษาความสะอาดทงั้ ในท่ีทางานของตน และบรเิ วณสว่ นรวม 8.2.18 หากพนกั งานท่ีตอ้ งเปลย่ี นแปลงเสน้ ทางรถรบั -สง่ บรษิ ัทฯ ตอ้ งแจง้ ใหแ้ ผนกทรพั ยากร มนษุ ยท์ ราบทกุ กรณี 8.2.19 การขบั ข่ียานพาหนะเขา้ มาภายในบรษิ ัทฯ จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของการจอดรถ ตามท่กี าหนดไว้ 8.2.20 การเบกิ จ่ายชดุ พนกั งาน และรองเทา้ ทกุ วนั ศกุ ร์ เวลา 17.00 น. 8.2.21 การขอใบลา ขอไดท้ กุ วนั ภายในเวลาทาการ 8.2.22 หา้ มนาบุคคลภายนอกท่ไี มเ่ ก่ียวขอ้ ง เขา้ มาในบรษิ ัทฯ ก่อนไดร้ บั การอนญุ าตจากทาง บรษิ ทั ฯ 8.3 ระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการทางาน 8.3.1 พนกั งานจะตอ้ งเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มท่ีจะเรม่ิ ทางานไดต้ ามเวลาท่บี รษิ ัทฯ กาหนดไว้ การ มาสายเป็นประจา หรอื กลบั ก่อนโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต หรือขาดงานนอกจากจะไม่ไดร้ บั คา่ จา้ ง ยงั ถือว่าเป็นการละเมิดระเบียบขอ้ บงั คบั ในการทางานของบริษัทฯ ฉบบั นี้ 24
8.3.2 พนกั งานมีหนา้ ท่ีตอ้ งปฏบิ ตั ิตามระบบการจดั การคณุ ภาพ และระบบการจดั การ สงิ่ แวดลอ้ ม อย่างเครง่ ครดั 8.3.3 พนกั งานท่ปี ฏิบตั งิ านผิดขนั้ ตอนของการปฏิบตั ิงาน หรอื จากความประมาท เลินเลอ่ ตลอดจนขาดความรอบคอบในการทางาน แลว้ มีผลความเสยี หายต่อทรพั ยส์ ินบริษทั ฯ โดยเสียหายต่อเคร่ืองจกั ร และอปุ กรณ์ บรษิ ทั ฯ มีบทลงโทษเป็นใหเ้ ป็นไปตาม กฎระเบียบขอ้ บงั คบั ในการทางานวา่ ดว้ ยเรื่องการลงโทษทางวินยั 8.3.4 พนกั งานตอ้ งปฏิบตั งิ านตามคาแนะนาของหวั หนา้ งาน หรือผบู้ งั คบั บญั ชา หรือระเบียบท่ี กาหนดไว้ เม่อื สงสยั ใหถ้ ามอยา่ เกบ็ ความสงสยั ไว้ 8.3.5 พนกั งานตอ้ งทาความสะอาดอปุ กรณก์ ่อน และหลงั การทางานทกุ ครงั้ 8.3.6 หากพบทรพั ยส์ ินของบรษิ ัทฯ ไดร้ บั ความเสียหายหรอื สญู หาย ใหร้ ีบแจง้ ผบู้ งั คบั บญั ชา หรือพนกั งานท่ีเก่ียวขอ้ งทราบโดยทนั ที 8.3.7 ในระหวา่ งเวลาทางาน พนกั งานจะออกนอกบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตไม่ได้ หากมี ธุระจาเป็นจะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การแผนกขนึ้ ไป และ ผจู้ ดั การแผนกทรพั ยากรมนษุ ยต์ อ้ งเซ็นรบั ทราบ (ตามแบบฟอรม์ ของบริษทั ฯ เทา่ นนั้ ) กอ่ นท่ีจะออกนอกบริษทั ฯ 8.3.8 ไม่อนญุ าตใหพ้ นกั งานรบั หรือเลน่ โทรศพั ทม์ อื ถือส่วนตวั ในเวลางาน 8.4 วินัย พนกั งานซ่งึ กระทา หรอื ละเวน้ การกระทาในส่งิ ใด หรือหลายสง่ิ ดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ หรือ ดงั ต่อไปนถี้ ือว่าเป็นการทาผิดวนิ ยั และจะถกู ลงโทษตามลกั ษณะแหง่ ความผดิ ควรแก่กรณี จนถึง ขนั้ เลกิ จา้ งโดยไม่มีการเตือนลว่ งหนา้ 8.4.1 ข้อพงึ ปฏิบตั ิ พนักงานทกุ คนพึงประพฤติปฏบิ ัตดิ งั ตอ่ ไปนี้ 8.4.1.1 ปฏบิ ตั ิงานใหบ้ ริษัทฯ ดว้ ยความซือ่ สตั ย์ ขยนั หม่นั เพียร จรงิ ใจ และทางานท่ี ไดร้ บั มอบหมายอย่างเตม็ ความสามารถ 8.4.1.2 เช่ือฟังและปฏิบตั ิตามคาแนะนา หรอื คาส่งั โดยชอบธรรมของผบู้ งั คบั บญั ชา และใหค้ วามเคารพต่อผบู้ งั คบั บญั ชา 8.4.1.3 รกั ษาและปฏบิ ตั ิตามระเบียบขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ฯ โดยเครง่ ครดั และใหค้ วาม รว่ มมอื อย่างเตม็ ท่กี บั บริษัทฯ และพนกั งานดว้ ยกนั 8.4.1.4 ปฏบิ ตั งิ านตรงตามกาหนดเวลาทางาน 8.4.1.5 ปฏบิ ตั ิตามกฎแห่งความปลอดภยั ในการทางาน 25
8.4.1.6 ดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ ินของบริษัทฯ ทงั้ มวลท่ีอย่ใู นความดแู ลรบั ผดิ ชอบของตน ใหเ้ รียบรอ้ ย และชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดในบรเิ วณสถานท่ขี องบริษทั ฯ 8.4.1.7 ละเวน้ จากการดหู ม่นิ หม่นิ ประมาท ทา้ ทาย ทะเลาะวิวาท หรือทาใหแ้ ตก ความสามคั คีในระหวา่ งพนกั งาน 8.4.2 การกระทาอันเป็ นความผดิ ตอ่ กฎหมายบา้ นเมือง 8.4.2.1 ประกอบอาชญากรรมอนั ทาใหม้ บี าดเจ็บหรือเสยี ชีวิตหรือทรพั ยส์ ิน 8.4.2.2 ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย สญู หาย หรือไดร้ บั โทษตามคาพพิ ากษาใหจ้ าคกุ 8.4.2.3 ทารา้ ย หรอื พยายามทารา้ ยร่างกายบุคคลใดๆ หรือยุยงสง่ เสรมิ ใหม้ ีการ กระทาดงั กลา่ ว เวน้ แต่ในกรณีท่ปี ้องกนั ตนเอง หรือปอ้ งกนั ทรพั ยส์ ินของ บริษัทฯ 8.4.2.4 ยกั ยอก ลกั ขโมย ทาลาย จงใจทาใหท้ รพั ยส์ นิ ของบริษทั ฯ หรอื ผอู้ ่นื เสยี หาย รวมทงั้ การช่วยเหลือใหค้ วามรว่ มมือสนบั สนุน หรือปกปิดการกระทาผิดนัด 8.4.2.5 พกพาอาวธุ หรอื วตั ถุระเบิดเขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ัทฯ 8.4.2.6 บงั คบั ข่เู ขญ็ คกุ คามผอู้ ่ืน 8.4.2.7 ใชก้ ริ ยิ า วาจา หรอื เขียนขอ้ ความหยาบคาย กา้ วรา้ ว ดหู ม่ิน หมิน่ ประมาท เหยยี ดหยามลว่ งเกินผอู้ ่นื ในบรเิ วณบริษัทฯ 8.4.3 การกล่าวเทจ็ หรือการใช้หลกั ฐานอนั เป็ นเทจ็ 8.4.3.1 แกไ้ ข ปลอมแปลงเอกสาร หรอื หลกั ฐานเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ประโยชนข์ อง ตนเองหรือผอู้ ่ืน 8.4.3.2 จงใจใหก้ ารเทจ็ แจง้ ขอ้ มลู เท็จตอ่ บรษิ ทั ฯ หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื เจตนาปกปิด ขอ้ มลู ท่เี ป็นความจรงิ ตอ่ บริษัทฯ หรือผบู้ งั คบั บญั ชา 8.4.4 การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอันไม่เหมาะสม 8.4.4.1 เรียก รบั ยอมรบั หรือยอมจะรบั เงนิ ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ่นื ใดจากผอู้ ่นื โดยทจุ รติ เพ่อื ตนเองหรอื ผอู้ ่นื 8.4.4.2 ขาย เสนอขายสงิ่ ใดๆ ภายในบรษิ ัทฯ หรอื เป็นตวั การหรือตวั แทน ใหแ้ กบ่ รษิ ทั ฯ อ่นื หา้ งรา้ น กิจการใดๆ หรอื ใชเ้ วลาทางานของบริษทั ฯ เพ่อื ไปกระทาการหา ผลประโยชนส์ ่วนตวั จากท่ีอ่ืน ทงั้ นีน้ อกจากจะไดร้ บั อนมุ ตั ิ หรือไดร้ บั มอบหมายจากบรษิ ทั ฯ เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร 8.4.4.3 พนกั งานทกุ คนจะตอ้ งไมเ่ ป็นผสู้ รา้ งหนสี้ นิ จนอาจเป็นเหตใุ หบ้ งั เกดิ ความ เสื่อมเสียต่อตนเอง และหม่คู ณะตลอดจนบริษทั ฯ ได้ 26
8.4.4.4 ละเลย ปฏเิ สธ หรือไม่ปฏิบตั ิตามคาส่งั อนั ชอบ หรือหนา้ ท่ีการงานท่ีบรษิ ทั ฯ หรือผบู้ งั คบั บญั ชามอบหมาย เวน้ แต่งานนนั้ อาจเป็นอนั ตรายอยา่ งรา้ ยแรง 8.4.4.5 ปฏเิ สธท่ีจะตอบคาถาม หรือใหข้ อ้ มลู อนั ไมเ่ ป็นความจรงิ ในระหว่างการ สอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ 8.4.4.6 ไมป่ ฏิบตั ิตาม หรือละเมิดระเบียบขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางานของบริษัทฯ 8.4.4.7 ไม่ปฏบิ ตั ิ หรือละเมดิ ระเบียบท่เี กี่ยวกบั ความปลอดภยั ในการทางานหรือ เกี่ยวกบั ทรพั ยส์ ินของบรษิ ัทฯ 8.4.4.8 เลน่ การพนนั หรือรว่ มอยู่ในบรเิ วณนนั้ หรือท่มี กี ารเลน่ การพนนั ในบรเิ วณ บรษิ ัทฯ 8.4.4.9 เป็นเจา้ มือ ทา้ วแชร์ หรือเลน่ แชรใ์ นบรษิ ัทฯ ชกั นาเป็นสื่อกลางใหก้ บั วงแชร์ นอกบรษิ ัทฯ 8.4.4.10 นาสรุ า ของมนึ เมาเขา้ มาในบริษัทฯ โดยมไิ ดร้ บั อนญุ าตจากบรษิ ัทฯ 8.4.4.11 ด่ืมสรุ า ของมนึ เมาในระหว่างเวลาทางาน หรอื ก่อนเขา้ ทางาน 8.4.4.12 เสพหรอื มยี าเสพติด หรอื สารเสพตดิ ท่ผี ิดกฎหมายไวใ้ นครอบครอง 8.4.4.13 สบู บหุ รี่ในบรเิ วณเขตหา้ มสบู บหุ รี่ 8.4.4.14 นอน หรือหลบั ในระหวา่ งเวลาทางาน เวน้ แต่พนกั งานท่ีมีอาการเจ็บป่วย 8.4.4.15 หยดุ งานโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต 8.4.4.16 มาทางานสาย และ/หรือเลกิ งานก่อนเวลาโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต 8.4.4.17 ละทิง้ หนา้ ท่ี ละเลย หรือหลีกเล่ียงการทางานหรือขาดงาน โดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร 8.4.4.18 เจตนาปฏิบตั งิ านใหล้ า่ ชา้ 8.4.4.19 ทาลายต่อเติม ขีดเขยี น หรือแกไ้ ขขอ้ ความในเอกสารประกาศ หรือแผ่นปา้ ย ของบรษิ ัทฯหรอื ของผบู้ งั คบั บญั ชา หรือปิดประกาศ หรือเผยแพรข่ อ้ ความ ผา่ นระบบสื่อสารอ่นื ใดโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากบรษิ ทั ฯ 8.4.4.20 แพรข่ ่าวอกศุ ลใสร่ า้ ยผอู้ ่นื พดู เขียน หรือใชส้ ื่ออ่นื ใด ใหร้ า้ ยบริษัทฯ หรือ ผลิตภณั ฑข์ องบรษิ ทั ฯหรือก่อใหเ้ กิดการแตกความสามคั คีในระหว่าง พนกั งานดว้ ยกนั 8.4.4.21 กระทาการใดๆ อนั อาจทาใหเ้ สือ่ มเสยี ช่อื เสียงของบรษิ ัทฯ 8.4.4.22 ละเลย หรือปกปิดไมแ่ จง้ ใหบ้ รษิ ัทฯ ทราบเม่ือมีการประทุษรา้ ยร่างกายเกดิ ขึน้ ในบรเิ วณบรษิ ัทฯ ไมว่ า่ จะเกดิ แก่ตนเองหรือผอู้ ่นื 8.4.4.23 จงใจ หรอื ประมาท 27
8.4.4.24 เปิดเผยความลบั เทคนิค ความรู้ หรอื ขา่ วสารทางธุรกจิ อนั เป็นความลบั ของ บรษิ ัทฯ หรือสง่ิ ท่ีบรษิ ัทฯ ปกปิด เวน้ แต่จะไดร้ บั อนญุ าตจากบรษิ ัทฯ แลว้ 8.4.4.25 ละเลย ปกปิด ไมด่ าเนนิ การแจง้ ใหบ้ รษิ ัทฯ หรือผบู้ งั คบั บญั ชาทราบเม่ือรูเ้ ห็น หรอื ทราบวา่ มีการกระทาความผดิ ต่อระเบียบขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางาน ของพนกั งานดว้ ยกนั 8.4.4.26 ละเลย ปกปิด ไมด่ าเนินการแจง้ ใหบ้ รษิ ัทฯ ทราบถงึ ความสญู เสยี หรือความ เสยี หายของทรพั ยส์ ินของบริษทั ฯ 8.4.4.27 จดั การประชมุ หรือรว่ มประชมุ ในบรเิ วณบรษิ ัทฯ ซง่ึ ไม่เกี่ยวเน่อื งกบั กจิ การของ บรษิ ทั ฯ เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากบรษิ ัทฯ 8.4.4.28 ครอบครอง หรือใชเ้ ครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ หรือทรพั ยส์ ินอ่ืนๆ ของบรษิ ทั ฯโดยไม่ได้ รบั อนญุ าต 8.4.4.29 ใชเ้ วลาหรอื ทรพั ยส์ นิ ของบริษทั ฯทางานเพ่อื ประโยชนต์ นหรอื ผอู้ ่ืนโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต 8.4.4.30 สนบั สนนุ หรือสง่ เสริมใหพ้ นกั งานกระทาผิดหรือฝ่าฝืนหรือละเวน้ การปฏบิ ตั ิ ตามประกาศคาส่งั บนั ทกึ ส่งั กฎระเบียบขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน บรษิ ทั ฯ 8.4.4.31 เปิดเผยหรอื กระทาการใดๆ ใหผ้ อู้ ่นื ลว่ งรูเ้ งินเดือนค่าจา้ ง โบนสั ของตนเองหรือ ของผอู้ ่นื เวน้ แต่ไดร้ บั อนญุ าตจากทางบรษิ ัทฯ ขอ้ กาหนดขา้ งต้นเป็ นกฎเกณฑท์ ่วั ไป แต่อาจมีกฎเกณฑ์ นโยบาย หรือวินัยอื่นๆ ซ่ึงกาหนดเฉพาะพนักงานแตล่ ะตาแหน่งเพิ่มเตมิ นอกเหนือจากนี้ ซง่ึ พนักงานอาจถกู ลงโทษเมอื่ ละเลยหรือฝ่ าฝื นได้ 8.5 การลงโทษทางวนิ ัย 8.5.1 การตักเตือนดว้ ยวาจา พนกั งานท่กี ระทาความผดิ อนั ขดั ต่อระเบียบขอ้ บงั คบั คาส่งั หรอื มคี วามบกพรอ่ งเล็กนอ้ ย ผบู้ งั คบั บญั ชาอาจวา่ กลา่ วตกั เตอื นดว้ ยวาจามใิ หก้ ระทาอีก พรอ้ มทงั้ จะมกี ารลงบนั ทกึ และ ออกหนงั สือบนั ทกึ การตกั เตือนดว้ ยวาจา ใหพ้ นกั งานรบั ทราบ 28
8.5.2 การตักเตอื นเป็ นหนังสือ พนกั งานท่กี ระทาความผดิ อนั ขดั ตอ่ ระเบียบขอ้ บงั คบั คาส่งั หรือมคี วามบกพร่อง ผบู้ งั คบั บญั ชาอาจมีหนงั สือเตอื นเพ่ือใหพ้ นกั งานทราบความผิด หรือขอ้ บกพรอ่ ง เพ่อื จะได้ ปรบั ปรุงใหด้ ขี ึน้ หากกระทาผดิ ซา้ คาเตือนอีกอาจถกู เลิกจา้ งโดยไมจ่ า่ ยคา่ ชดเชยได้ 8.5.3 โยกย้ายตาแหน่งหน้าที่ พนกั งานท่กี ระทาความผดิ อนั ขดั ตอ่ ระเบียบขอ้ บงั คบั คาส่งั หรอื มีความบกพรอ่ ง ผบู้ งั คบั บญั ชาอาจมีลงโทษ โดยการโยกยา้ ยตาแหนง่ หนา้ ท่เี ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรเพ่อื ให้ พนกั งานทราบความผิดหรือขอ้ บกพรอ่ ง เพ่อื จะไดป้ รบั ปรุงใหด้ ขี นึ้ หากกระทาผิดซา้ คาเตือนอีก อาจถกู เลิกจา้ งโดยไมจ่ ่ายคา่ ชดเชยได้ 8.5.4 การส่งั พกั งาน พนกั งานท่กี ระทาความผิดอนั ขดั ตอ่ ระเบียบขอ้ บงั คบั คาส่งั หรือมีความบกพรอ่ ง ผบู้ งั คบั บญั ชาอาจส่งั พกั งานโดยไมไ่ ดร้ บั ค่าจา้ ง ทงั้ นีข้ นึ้ อย่กู บั ลกั ษณะความผิดเป็นกรณีไป และถือเสมอื นว่าการลงโทษนเี้ ป็นหนงั สือเตือนตามกฎหมายดว้ ย 8.5.5 การเลกิ จ้าง พนกั งานอาจถกู เลกิ จา้ งโดยไม่มีการแจง้ ลว่ งหนา้ เม่ือพนกั งานกระทาความผิดตามท่ีได้ กาหนดไวใ้ นระเบียบวินยั หรือกระทาความผิดรา้ ยแรง ตามมาตรา 119 แห่งพระราชบญั ญัติ คมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 พนกั งานท่ถี กู ลงโทษตามขอ้ นจี้ ะไม่ไดร้ บั เงินชดเชย ทงั้ นีใ้ นการพิจารณาลงโทษทางวนิ ัย ไมจ่ าเป็ นตอ้ งลงโทษตามลาดบั ข้นั ตอน ขึน้ อยู่กับความเหมาะสมและความร้ายแรงแห่งการกระทาผิดในแต่ละกรณี ซงึ่ อยู่ในดุลยพินิจของบริษทั ฯ 9. การร้องทกุ ข/์ การเขยี นขอ้ ร้องเรยี นหรือการแจ้งข้อเสนอแนะ /แจง้ เบาะแส เม่อื พนกั งาน ไมไ่ ดร้ บั ความเป็นธรรมไม่วา่ กรณีใดๆ กต็ าม หรอื ถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศดว้ ย วาจา ทางกริ ยิ า หรือสมั ผสั รา่ งกาย พนกั งานมีสิทธิรอ้ งทุกขไ์ ดด้ ว้ ยตนเอง โดยแจง้ แก่ผบู้ งั คบั บญั ชา สงู สดุ ของแผนก และยงั สามารถแจง้ ไดโ้ ดยตรงท่ีผจู้ ดั การแผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ หรือ คณุ ยวุ ลกั ษณ์ ราชคมน์ (CSRMR) หรอื GM และอีกหนทางหน่งึ ท่พี นกั งานสามารถทาไดค้ ือ การเขียนขอ้ รอ้ งเรียน หรือการแจง้ ขอ้ เสนอแนะ โดยสามารถหย่อนใสต่ รู้ บั ขอ้ รอ้ งเรยี นของบรษิ ทั ฯ ท่ีบรเิ วณหลงั โรงอาหาร รวมทงั้ การแจง้ เบาะแส เม่ือพบเห็นการทจุ รติ ท่กี ลอ่ งแจง้ เบาะแส (ป้อม รปภ.) 29
ความคมุ้ ครองผ้รู ้องทกุ ขแ์ ละผู้ทเี่ กยี่ วข้อง บรษิ ัทฯ จะไม่เอาผิดแกผ่ ทู้ ่รี อ้ งทกุ ข์ โดยสจุ รติ และไมไ่ ดก้ ล่นั แกลง้ ต่อผใู้ ด และพนกั งานอ่นื ๆ ท่ใี หก้ ารเป็นพยาน ในเร่ืองท่ีรอ้ งทกุ ขน์ นั้ รวมทงั้ การรกั ษาความลบั แกผ่ ใู้ หข้ อ้ มลู หรือ การแจง้ เบาะแสตา่ งๆ 10. แบบฟอรม์ ต่างๆ 10.1 ใบขออนมุ ตั ิทางานลว่ งเวลาสาหรบั พนกั งาน กรณีท่มี ีความจาเป็นตอ้ งทางานลว่ งเวลาตอ้ ง กรอกแบบฟอรม์ แลว้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาอนมุ ตั ทิ ุกครงั้ ตามลาดบั ขนั้ 10.2 แบบขอบนั ทกึ เวลาการทางาน 10.3 ใบแจง้ การลางาน (กรณีฉุกเฉิน) (เฉพาะแผนก Production) 10.4 ใบขออนญุ าตออกนอกโรงงาน (ในเวลางาน) 10.5 ใบอนญุ าตนาทรพั ยส์ นิ บรษิ ัทฯ ออกนอกบริษทั ฯ 10.6 ใบขออนญุ าตนอนพกั เน่ืองจากอาการเจ็บป่วย 10.7 ใบขออนญุ าตการใชร้ ถตบู้ รษิ ัทฯ 10.8 ใบคาขอหนงั สือรบั รองเงนิ เดือน/รบั รองการทางาน 10.9 ใบลา ใชก้ รณีการลาประเภทตา่ งๆ เช่น ลาป่วย,ลากจิ ,ลาคลอด,ลาพกั ผ่อน และลาอ่นื ๆ 10.10 ใบลาออก กรณีท่พี นกั งานลาออก ตอ้ งมาขอใบลาออกท่ีแผนกทรพั ยากรมนษุ ยเ์ ท่านนั้ 10.11 ใบแจง้ เปลี่ยนสถานภาพ, ท่ีอย่,ู สมดุ บญั ชธี นาคาร เป็นตน้ 10.12 ใบคารอ้ งประกนั สงั คม – ภาษีประเภทตา่ งๆ หมายเหตุ แบบฟอรม์ ท่ี 1-7 ใหข้ อไดท้ ่ีตน้ สงั กดั ของพนกั งานหรือท่แี ผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ แบบฟอรม์ ท่ี 8-12 ใหข้ อไดท้ ่ีแผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ คมู่ อื พนักงานฉบับนีเ้ ป็ นทรัพยส์ ินของบรษิ ัท เม่ือพนักงานประสงคจ์ ะลาออก พนักงาน จะต้องนาส่งคูม่ ือฉบบั นีค้ ืนให้กบั แผนกทรัพยากรมนุษยใ์ นวันสุดท้ายของการทางาน ทางบริษัทฯ สงวนสิทธไิ์ ม่อนุญาต ให้พนักงานนาคมู่ ือพนักงานฉบับนีอ้ อกนอกบรเิ วณบรษิ ัทฯ โดยเด็ดขาด 30
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: