Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice กศน.ทุ่งตำเสา งบ 2564 (1)

Best Practice กศน.ทุ่งตำเสา งบ 2564 (1)

Published by W A R L, 2021-05-03 10:40:30

Description: Best Practice กศน.ทุ่งตำเสา งบ 2564 (1)

Search

Read the Text Version

ผลการปฏบิ ัตงิ านที่ดี (BEST PRACTICE) “ ”การบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วมส่คู วามยง่ั ยืน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตาบลทงุ่ ตาเสา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ่ สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา Best Practice ภาคีเครอื ขา่ ยเป็นเลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

คานา วิธีการปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) “การบรหิ ารจัดการแบบมีส่วนร่วมสู่ความย่ังยืน”นี้เป็น รูปแบบทีเ่ กดิ จากระบวนการมสี ่วนร่วมของเทศบาลเมืองทุ่งตาเสา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ โดยการ สังเคราะหส์ ภาพของปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา จุดแข็ง และจุดอ่อนของชุมชน ได้นาหลักการบริหาร ทฤษฎี และประสบการณบ์ รหิ ารของผบู้ รหิ ารมาใชใ้ นการพัฒนา ปรับปรุงต่อเนื่องจนเกิดผลเชิงประจักษ์ ต่อสาธารณชนทัว่ ไปจนเปน็ ท่ียอมรบั ของชุมชนและหน่วยงานตา่ งๆ ขอขอบคณุ ผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในการให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า Best Practice “การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมสู่ความยั่งยืน ”นี้จะเป็นแบบอย่างในการบริหารจัดการใน สถานศึกษาหรือ กศน.ตาบลอืน่ ๆ ตอ่ ไป กศน.ตาบลทุ่งตาเสา Best Practice ภาคเี ครือขา่ ยเปน็ เลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

สารบญั หนา้ เรอื่ ง 1 1 คานา 3 สารบญั 3 แบบรายงานผลการดาเนินงานหรือวิธีการปฏบิ ัติ 3 4 1. ความสาคญั และความเปน็ มา 4 2. ลาดบั ข้ันตอนการดาเนินกิจกรรมพัฒนา Flow Chart (แผนภูมิ) 3. ผลการดาเนนิ การ 4. ความรทู้ ไี่ ดร้ บั 5. ปัจจยั ความสาเรจ็ 6. การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรบั และ/หรือรางวลั ท่ีไดร้ บั ภาคผนวก - กิจกรรมการทางานร่วมกับเทศบาลเมืองทุ่งตาเสา - เกียรติบตั ร - หนังสือประกาศรางวลั ชนะเลิศการประกวดเครือข่ายดีเดน่ Best Practice ภาคเี ครอื ขา่ ยเป็นเลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

แบบรายงานผลการดาเนินงานหรือวิธีปฏบิ ัติ โครงการ/กิจกรรมเดน่ (Best Practice) ประจาปงี บประมาณ 2564 หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหาดใหญ่ ------------------------------------------------ ช่อื ผลงาน (Best Practice) วิธกี ารปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ “การบรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นร่วมสคู่ วามยัง่ ยืน” หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอหาดใหญ่ 1. ความสาคญั และความเป็นมา ประวัตคิ วามเป็นมาของเทศบาลเมืองทงุ่ ตาเสา ตาบลทุ่งตาเสาในอดีตเล่ากนั ว่า เป็นพน้ื ทีท่ ม่ี ตี ้นตาเสาข้ึนอยู่เตม็ ทงุ่ กว้าง ในอดตี บรเิ วณที่ตงั้ ของหมู่บา้ น ในตาบลทงุ่ ตาเสา เป็นพื้นท่ีทุรกันดารและราษฎรตั้งบ้านเรอื นอาศยั อยูจ่ านวนน้อยพน้ื ที่ ตาบ ลทุ่งตาเสาเคยตกอยู่ ภายใตเ้ ขตอทิ ธิพลของพรรคคอมมวิ นิสตแ์ หง่ ประเทศไทย ตง้ั แต่ปพี .ศ.2508 ในยคุ ที่เกดิ สงครามเยน็ การกอ่ การรา้ ย มีค ว ามรุนแรง มาก ย่ิง ขึ้นห ลัง เหตุก ารณ์ 6 ตุลาค ม พ .ศ. 2519 เม่ือมีก ารป ราบ ป รามนัก ศึก ษ าท่ี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ในยุครัฐบาล นายธานินทร์ กรบั วิเชียร โดยเฉพาะเขตตาบลทุ่งตาเสเป็นพ้นื ท่ีสีแดง ซ่ึงเป็น เขตและฐานท่มี นั่ ของ ผกค. ทบ่ี ้านวังพามีความเช่อื มโยงกับพ้นื ท่จี งั หวดั พัทลุงและสรุ าษฎร์ธานี โดยเฉพาะค่าย 508 ตาบลพรุพี อาเภอนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี และการก่อการร้ายได้ยุติลง เมอ่ื ส้ินสุดสงครามเย็นในปี ค.ศ.1989 และรฐั บาลได้นานโยบาย 66/23 ( ใต้ร่มเยน็ ) ทาใหก้ ารสิน้ สุดการตอ่ สู้อดุ มการณล์ ทั ธคิ อมมิวนิสต์ในประเทศไทย โดยเฉพาะการล่มสลายของสหภาพโซเวยี ต รสั เซยี และยโุ รปตะวันออก ขนาดเน้ือท่แี ละทีต่ ั้ง พน้ื ทตี่ าบลทุ่งตาเสามขี นาดพื้นที่ประมาณ ๑๑๔.๔๓ตารางกิโลเมตร หรือ๗๑,๕๑๘.๑๒๐ไร่ ตาบลทงุ่ ตาเสา เป็นตาบลหนง่ึ ของอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ตัง้ อยทู่ างทศิ ใตข้ องอาเภอหาดใหญ่ อยู่ห่าง จากท่ีวา่ การอาเภอหาดใหญ่ ประมาณ ๑๕กโิ ลเมตร อาณาเขตทางทศิ เหนือ: ตดิ ต่อกบั องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลฉลงุ อาเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา อาณาเขตทางทิศใต้: ติดตอ่ กับองค์การบรหิ ารส่วนตาบลคลองหลา อาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัด สงขลา อาณาเขตทางทิศตะวันออก: ติดต่อกับเทศบาลเมืองควนลัง อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อาณาเขตทางทิศตะวันตก: ตดิ ต่อกบั องคก์ ารบริหารส่วนตาบลฉลุง อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขล า และองค์การบริหารส่วนตาบลเขาพระ อาเภอรัตภูมิ ลกั ษณะภูมิประเทศ ลักษณะภมู ิประเทศของตาบลทงุ่ ตาเสา มลี กั ษณะเปน็ ทีร่ าบสูง ซงึ่ จะพบท่สี ูงบริเวณทางด้านทิศ ตะวนั ตก และคอ่ ยๆ ลาดต่าไปทางทศิ ตะวนั ออก และมลี าคลองทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ คลองวาด คลองอีต่า คลองสอ Best Practice ภาคีเครอื ข่ายเปน็ เลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

และมีสภาพเป็นภูเขาเป็นป่าไมท้ ส่ี มบรู ณ์ เชน่ ป่าเขาวังพา ปา่ เทอื กเขาแก้ว ปา่ หินผุด เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า โตนงาชา้ งและน้าตกโตนงาช้าง “การศกึ ษารูปแบบการบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นร่วมกับภาคีเครอื ข่าย” แนวคดิ หลกั การ/ความเปน็ มา การศึกษาเป็นกระบวนการท่มี ุง่ พัฒนาคนใหเ้ ป็นมนุษยท์ ่ีมีคุณภาพมีความสามารถเต็มศักยภาพ มี การพฒั นาทีส่ มดลุ ทั้งสตปิ ญั ญา จิตใจ รา่ งกายและสังคม เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาและการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย ในส่วนของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กศน.ตาบลทุ่งตาเสา ได้จัดการศึกษา ใหก้ บั นักศึกษาในพ้นื ที่ตาบลทุ่งตาเสา ซึง่ มที ัง้ หมด 10 หมู่บ้าน โดยมี กศน.ตาบล 1 แห่ง และศูนย์การ เรียนชมุ ชน 1 แห่ง โดยจัดการศกึ ษาท่เี ข้าถงึ ความต้องการของประชาชนในพืน้ ทีอ่ ย่างแท้จริงภายใต้กรอบ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราชการ 255 1 ให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัวตอบสนอง ความ ต้อง การการเรียนรู้ใ ห้สอดคล้องกับสภาพชีวิต และความต้องการของ กลมุ่ เปา้ หมายประชากรวัยแรงงาน นอกจากนี้ยังจัดให้มีการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพการ ดารงชวี ิต เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรมของชุมชน การจัดการศึกษาหลักสูตรนี้ ได้มีการปรับให้เข้ากับ สภาพและความต้องการชองชุมชน กลมุ่ เป้าหมายของแตล่ ะทอ้ งถ่ิน โดยเน้นการแสวงหาความร่วมมือจาก ภาคีเครือข่ายและการมสี ว่ นรว่ มของผสู้ อน ผู้เรยี นและชมุ ชนนน้ั ๆ การจดั การศกึ ษาแกค่ นในชมุ ชนจงึ ต้องเข้าใจสภาพสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมของ หม่บู ้าน ลกั ษณะผนู้ าทอ้ งถน่ิ ชาวบ้าน คา่ นิยม ความเชอื่ ศลิ ปวัฒนธรรมประเพณี ศาสนา ตลอดจนสภาพ ปญั หาต่างๆ เพ่ือเป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ให้แกค่ นในชมุ ชน การทาใหป้ ระชาชนในชมุ ชนเกิดเกดิ การเรียนรู้ เกิดความตะหนัก ท่ีจะร่วมแกไ้ ขปญั หาของชมุ ชน ดา้ นความรว่ มมือ ร่วมใจ เกิดการเอ้ืออาทรต่อกันและเกิดความม่ันใจใน การพ่ึงตนเอง อันจะส่งผลให้เกดิ การพัฒนาทีย่ ั่งยืน และการมีส่วนร่วมในกระบวนการพั ฒนาชุมชนและ ประเทศ การมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้และข้อมูลข่าวสารเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อม ขณะทก่ี ระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2545 มาตรา 29 กาหนดให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุ มชน องค์กร ชุมชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาน บนั สังคมอ่ืน สง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรยี นรู้ภายในชมุ ชน ในการน้ี กศน.ตาบลทงุ่ ตาเสา ไดท้ างานรว่ มกบั ชุมชนและภาคีเครือข่าย ซึ่งในส่วนของการสร้ าง ภาคเี ครอื ข่าย มงุ่ เสรมิ สร้างพลังภาคีเครือข่ายการศึกษา หวังใช้เป็นกลไกการประสานพลังขับเคลื่อน นโยบายการศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ และสมรรถนะในการสง่ เสริมสนับสนุนความร่วมมือในด้านการจัดการศึกษา ให้ประชาชนสามารถทีจ่ ะพ่ึงตนเองได้ สามารถเสริมสร้างพลังภาคีเครือข่ายทางการศึกษาและเกิดการ ผสานพลังขบั เคลือ่ นนโยบายดา้ นการศึกษาสูป่ ระชาชน โดยเน้นการให้แนวคิดและแนวทางการพัฒนาภาคี เครือขา่ ยการศกึ ษาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และได้จัดให้มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายการศึกษาใน การสร้างการศกึ ษาและควบคุมการศึกษา รวมถึงการเข้าถึงหลักการประกันคุ ณภาพการศึกษาซ่ึงจะเกิด แรงผลักดนั ให้เกดิ นโยบายการประสานงานประสานความร่วมมือของภาคีเครือข่ายการศึกษาจากภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน ใหม้ ีการทางานร่วมกันมากขนึ้ กอ่ เกิดความเข้มแข็งบนพ้ืนฐานของการยอมรับ การเขา้ ใจในประโยชน์ขอการร่วมมอื ปฏบิ ัติงาน ซ่ึงเครือขา่ ยมคี วามสัมพนั ธใ์ นการกระตุ้นและประสานงาน Best Practice ภาคเี ครอื ข่ายเป็นเลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

แหล่งเรียนรู้ แหล่งความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อรับและส่งหรือถ่ายทอดความรู้ประเภทต่างๆ ไปยัง ประชาชนกล่มุ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง โดยท่ีภาคีเครือข่ายมีเป้าหมายร่วมมือกันพัฒนาการศึกษาของ ประชาชนให้ดียง่ิ ข้นึ จากความเป็นมาและความสาคญั ดังกลา่ ว กศน.ตาบลทุง่ ตาเสา มีหน้าที่จัดและส่งเสริมการศึกษา นอกระบบ ดงั นัน้ การทกี่ ศน.ทางานโดยการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยในการบริหารการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนางานตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ต้องการสร้างเครือข่ายใหม้ ีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการศึกษานอกระบบแบะการศึกษาตาม อัธยาศยั 2. เพอ่ื ตอ้ งการประสานสรา้ งเสรมิ เชอ่ื มโยงภาคแี ละเครือขา่ ยให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม กศน.และการประชาสมั พันธง์ าน กศน. เป้าหมาย ตัวชี้วัดเชงิ ประมาณ เครอื ข่าย จานวน 1 แหง่ ตวั ชว้ี ัดเชงิ คุณภาพ กศน.ตาบลท่งุ ตาเสา มีความพงึ พอใจในการใหบ้ รกิ ารงานของเทศบาลเมือง ตาเสา ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมและในการประสานงานขอความรว่ มมือ เพื่อให้งานเกดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ 2. ลาดบั ข้ันตอนการดาเนินกจิ กรรมพัฒนา Flow Chart (แผนภมู )ิ ของวิธหี รอื แนวทางปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลิศ ข้นั ที่ 1 จัดประชมุ บุคลากรทาแผนการดาเนนิ โครงการ ขนั้ ที่ 2 เสนอโครงการ ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการจัดกจิ กรรม ขน้ั ท่ี 4 นเิ ทศตดิ ตามผลการดาเนินงาน ขนั้ ที่ 5 สรปุ ผลและรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรม Best Practice ภาคเี ครอื ข่ายเปน็ เลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

Flow Chart จดั ประชุมบุคลากรทาแผนการดาเนนิ โครงการ เสนอโครงการ ดาเนินการจัดกิจกรรม นิเทศติดตามผล สรุปผลและรายงานผลการดาเนินกิจกรรม 3. ผลการดาเนินการ กศน.ตาบลตาทงุ่ ตาเสา มงุ่ มนั่ พัฒนางาน สานตอ่ การดาเนนิ งานการประสานงานเครือข่ายในการจัด กิจกรรม ซ่งึ มผี ลการดาเนนิ งานใหเ้ หน็ ดงั ภาพในภาคผนวก กศน.ตาบลทุ่งตาเสา สามารถดาเนินงานไดต้ ามเป้าหมาย ออกแบบกจิ กรรมร่วมกับเครือข่ายได้อย่าง เหมาะสม สามารถประชาสัมพันธง์ าน กศน.ใหเ้ ปน็ ที่รจู้ กั เพิ่มมากยงิ่ ขนึ้ 4. ความรู้ที่ไดร้ ับ - กศน.ตาบลท่งุ ตาเสา ได้รบั ความรู้ รกั สามัคคจี ากเครือข่ายในการทางานร่วมกันอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ Best Practice ภาคเี ครอื ข่ายเปน็ เลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

5. ปัจจยั ความสาเร็จ ผู้ใชบ้ ริการ กศน.ตาบล มคี วามพงึ พอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกบั เครือข่าย 6. การเผยแพร่ / การไดร้ ับการยอมรบั และ/หรือรางวัลที่ไดร้ ับ กศน.ตาบลทงุ่ ตาเสา ได้เขา้ ร่วมส่งประกวดเครือข่ายดีเด่น ประจาปีงบประมาณ 2563 โดยจัดส่ง ผลงานเครือขา่ ยเทศบาลเมอื งท่งุ ตาเสา ไดร้ ับรางวัลชนะเลิศ และได้รับการยกย่องให้เป็นเครือข่ายท่ีส่งเสริม สนบั สนุน กศน.อาเภอหาดใหญ่ ดเี ดน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในวันท่ี 25 มีนาคม 2564 Best Practice ภาคเี ครือขา่ ยเปน็ เลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

ภาคผนวก หนังสือขอความอนุเคราะห์ศึกษาดูงานการจัดกระบวนการเรียนรู้สาหรับผู้สูงอายุ Best Practice ภาคเี ครือข่ายเปน็ เลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

Best Practice ภาคเี ครอื ข่ายเปน็ เลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

สานักงานกองชา่ ง เทศบาลเมอื งทุ่งตาเสา Best Practice ภาคเี ครอื ข่ายเปน็ เลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

ใหค้ วามอนเุ คราะหใ์ นการประเมนิ ซ่อมแซมอาคารเรียน ศรช.บ้านหแู ร่ Best Practice ภาคเี ครือขา่ ยเป็นเลิศ ประจาปี ๒๕๖๔

สรปุ แบบประเมนิ คดั เลอื กสาขาภาคีเครือขา่ ยดเี ด่น “เทศบาลเมอื งทุ่งตาเสา” Best Practice ภาคเี ครือขา่ ยเป็นเลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

รว่ มตอ้ นรับคณะศึกษาดงู านจาก กศน.อาเภอรตั ภูมิ หลักสตู รโรงเรียนผสู้ งู อายุ ณ เทศบาลเมืองทงุ่ ตาเสา ประจาปีงบประมาณ 2564 Best Practice ภาคเี ครอื ข่ายเปน็ เลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

ร่วมประชุมจดั ทาหลกั สตู รโรงเรียนผู้สงู อายุ ณ หอ้ งประชุมเทศบาลเมืองทุ่งตาเสา ประจาปีงบประมาณ 2564 Best Practice ภาคเี ครือขา่ ยเปน็ เลศิ ประจาปี ๒๕๖๔

คณะผู้จัดทา ที่ปรกึ ษา คเชนทองสุวรรณ์ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอหาดใหญ่ ณ รังษี ครูชานาญการพเิ ศษ 1. นายไพโรจน์ รจุ ิเรจ ครูชานาญการพิเศษ 2. นางประไพ พูลเกิด ครชู านาญการพเิ ศษ 3. นางธีรนุช ลอยแก้ว บรรณารกั ษ์ชานาญการพเิ ศษ 4. นางชตุ มิ า สูนสละ ครูผูช้ ่วย 5. นางสพุ ิทย์ ชิตมณี ครอู าสาสมัครฯ 6. นางสาวสาลีนา 7. นางสาววันทนา ผจู้ ดั ทา ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล 1. นางสาวรตั นา ขวญั ทองออ่ น 2. นางสาวดารารัตน์ รอดผล Best Practice ภาคเี ครือข่ายเปน็ เลิศ ประจาปี ๒๕๖๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook