Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Eye Movement Desensitization and Reprocessing

Eye Movement Desensitization and Reprocessing

Published by airin.ppb, 2022-09-29 13:42:01

Description: Eye Movement Desensitization and Reprocessing

Search

Read the Text Version

Eye Movement Desensitization and Reprocessing by Airin Pongpaiboon 220201021

EMDR psychotherapy EMDR psychotherapy (จิตบำบั ดแบบอีเอ็ มดีอาร์) หรือ Eye Movement Desensitization and Reprocessing เป็ นหนึ่งใน วิ ธีการบำบั ดจิตใจที่ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิ ทยาใช้ ในรักษาและ บำบั ดอาการผิ ดปกติ ด้านสุ ขภาพจิต และ บาดแผลทางจิตใจ ถู กคิดค้นและพัฒนาโดยนั กจิตวิ ทยาชาวอเมริ กันที่ชื่ อว่า มาทำความรู้จักการบำบั ดแนวนี้กันเถอะ Francine Shapiro ในปี 1988

การบำบั ดจิตใจด้วย อีเอ็ มดีอาร์ (EMDR) ทำไมต้องทำวิ ธีนี้ มีขบวนการและขั้นตอนที่สามารถช่ วยแก้ไขอาการและความทรงจำที่ เลวร้ายที่ติ ดค้างในสมองที่ยังไม่ถู กจัดเก็ บให้เป็ นระบบระเบียบจึง ทำให้เกิ ดการถู กรบกวนต่ อสมองส่ งผลด้านจิตใจหลังผ่ าน ประสบการณ์ อั นเลวร้าย ความเชื่ อของ ผู้เชี่ยวชาญด้าน อีเอ็ มดีอาร์ (EMDR) เชื่ อว่าสาเหตุ เกิ ดจากระบบ ผู้เชี่ ยวชาญ ความทรงจำในสมองที่ยังไม่ได้ถู กจัดระเบียบอย่างสมบรู ณ์นี้ ทำให้ เมื่อเราเจอกับสถานการณ์คล้ายคลึงกัน หรือเจอตั วกระตุ้น สมองของ เราก็ จะกลับไปนึกถึงและเชื่ อมโยงกับเรื่องเลวร้ายในอดีตครั้งนั้ นอีก ครั้ง นั้ นเป็ นเพราะประสบการณ์อันเลวร้ายไปทำให้ระบบไหลเวียน ความทรงจำในสมองถู กขัดจังหวะ เป็ นการการกับระบบให้ถู กต้องเพื่อทำให้กับสมองได้เกิ ดการปลด https://www.scientificworldinfo.com/2022/04/five-huge-benefits-of-emdr-therapy.html ใช้ แล้วเกิ ดอะไร ล็ อค ทำให้ความทรงจำในอดีตเกิ ดการไหลเวียนในการทำงานด้าน https://www.sandboxfamilyservices.com/emdr Back tขึ้oนล่Nะew Mercข้hอมู ลPคaวgามeทรงจำ ทำให้ลดสภาวะถู กรบกวนด้านจิตใจในการดำเนิ น ชี วิ ตประจำวันที่เกิ ดขึ้นได้

คุ ณประโยชน์ ของวิ ธีบำบั ด (EMDR) สมองมีการเรียงลำดั บความคิ ด ทำให้รู้จักปล่ อยวาง ช่ วยเรื่องความคิดลบ เทคนิ คอีเอ็ มดีอาร์ (EMDR) ช่ วยให้เรารู้สึ กถึงความ ขั้นตอนของอีเอ็ มดีอาร์ (EMDR) ช่ วยให้ความคิดได้ มีการเชื่ อมโยงต่ อเนื่อง ลื่นไหล ทำให้เรารู้สึ กคลาย เป็ นการรักษาความเชื่ อมั่นจากภายในที่ถู กกระทบ ทรงจำของเหตุ การณ์อันเลวร้ายได้ถู กจัดระเบียบใน สมอง รู้สึ กเข้าใจ และชั ดเจนขึ้นกับเหตุ การณ์มากขึ้น ความหนั กใจ ทุ กข์ใจ จนมันไม่มารบกวนจิตใจได้อีก กระเทือนจากประสบการณ์อันเลวร้ายในชี วิ ต ช่ วยใน และรู้สึ กว่าเหตุ การณ์เหล่านั้ นไม่สามารถมามีอิ ทธิ พล เป็ นการอยู่กับมันอย่างเข้าใจแบบคนที่มองปั ญหาอยู่ การมองภาพตั วเองและมีการเชื่ อมโยงกับพฤติ กรรม ที่ตนเคยเลือกกระทำที่เป็ นผลมีจากความทรงจำด้าน รบกวนการใช้ ชี วิ ตได้อีกต่ อไป ห่ างๆ ลบ ทำให้เกิ ดการสะท้อนที่จะเปลี่ยนแปลงในการ ปรับพฤติ กรรมให้ดีขึ้น นอกจากนี้ EMDR (อีเอ็ มดี อาร์) สามารถช่ วยพัฒนาในเรื่องการสร้างแรง บั นดาลใจ ปรับภาวะด้านอารมณ์

ใช้ รักษากลุ่มโรคอะไร ชื่ อโรค อาการของโรค ชื่ อโรค อาการของโรค panic a ttacks หวาดระแวง หวาดกลัว PT SD บาดแผลทางใจอาการหลัง Depress ion อาการซึ มเศร้า Sexual assault เหตุ การณ์ ส ะเทือนขวัญ บาดแผถลู กทขา่ มงใขืจนจากการ ตั ดขาดจ ากกสั งคม Sleep dis turbance อาการนอนไม่ หลั บ Dissociative disorders ทกข์จากกา รสู ญเสี ย bipolar d isorders อารมณ์ส องขั้ว กลัวความ ล้มเหลว Grief and loss Performanc e anxiety Personality disorders บุ คคลิ กภาพ บกพร่ อง ช ี วิ ตมันเศร้า

รู้ได้อย่างไรว่าเราพร้อมสำหรับการทำอีเอ็ มดีอาร์ เนื่องจาก อีเอ็ มดีอาร์ (EMDR) จะโฟกัสตรงไปที่ อารมณ์ ความนึกคิด และปฎิ กิ ริ ยาตอบสนองต่ อเหตุ การณ์ สะเทือนจิตใจที่เกิ ดขึ้น หรือบาดแผลทางใจที่รุ นแรง เทคนิ คนี้จะไปทำงานกับสมองจัดการกับความทรงจำที่ ยังเก็ บซ่ อนเอาไว้ และจัดการระบบไหลเวียนของความทรงจำที่สมองเกิ ดปั ญหาในการจัดเก็ บไม่สมบรู ณ์ ของเหตุ การณ์ความทรงจำเหล่านั้ น ดังนั้ นการที่เราพยายามไปลบความทรงจำ การทำให้ลืมจึงเป็ นการแก้ไข ไม่ถู กวิ ธี การกระทำการบิ ดเบือนต่ อสมอง หรือเก็ บซ่ อนความรู้สึ ก จึงส่ งผลต่ อการแสดงออกด้านจิตใจ และ ทำให้เกิ ดปั ญหาอื่นๆตามมา Tip: Collaboration makes teamwork easier! Click \"Share\" and invite your teammates to fill this up. Use this whiteboard page for bulletins, brainstorms, and other fun team ideas!

คำเตือน เนื่องจากการบำบั ดลักษณะนี้จะทำงานเกี่ยวข้องกับบาดแผลทางจิตใจในอดีต ดังนั้ นควรมีผู้เชี่ยวชาญ หรือนั กจิตวิ ทยาคอยดู แล และได้รับการประเมินความพร้อมก่อน การเริ่มขั้นตอนการบำบั ด เพื่อไม่ให้เกิ ดบาดแผลเพิ่มเติ ม Thank you! BETTER MIND ขอบคุ ณข้อมู ลจาก YOU DESERVE TO BE HAPPY https://www.bettermindthailand.com ใครต้องการข้อมู ลเพิ่มเติ มแวะเข้าไปดู ได้นะคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook