Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน

การศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน

Published by phatcharaphorn.phermkaew, 2019-07-31 00:16:56

Description: การศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน

Search

Read the Text Version

รายงานวิจัยในชน้ั เรยี น การศกึ ษาพฤติกรรมเรื่องการไม่สง่ งาน ของนักเรยี นชน้ั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ปีที่ 1/2 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วทิ ยาลัยเทคนคิ ประจวบคีรขี ันธ์ โดย นางสาวกลั ยา คายอด ตาแหนง่ ครู วิทยาลยั เทคนคิ ประจวบคีรขี นั ธ์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561

การศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไมส่ ง่ งาน ของนกั เรียนช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ปีที่ 1/2 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลัยเทคนิคประจวบครี ขี นั ธ์ โดย นางสาวกัลยา คายอด ตาแหนง่ ครู วิทยาลยั เทคนิคประจวบครี ีขนั ธ์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561

ช่ือเรือ่ ง : การศกึ ษาพฤติกรรมเรอื่ งการไม่ส่งงาน ของนกั เรียนช้ันประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปที ี่ 1/2 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคประจวบครี ขี ันธ์ ชื่อ สาขาวิชา : นางสาวกลั ยา คายอด ปกี ารศกึ ษา : คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ : 1/2561 บทคดั ย่อ การวิจยั คร้ังนม้ี ีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ การศึกษาพฤติกรรมเร่ืองการไมส่ ง่ งาน ของนักเรยี นชัน้ ประกาศนยี บตั ร วิชาชพี ปีที่ 1/2 สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนคิ ประจวบคีรขี นั ธ์ ภาคเรยี นที่ 111 ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน 37 คน จ าก ก า รวิ จั ย พ บ ว่ า ก า รศึ ก ษ าแ ล ะ วิเค ร าะ ห์ แ บ บ ส อ บ ถ าม ค ว า ม คิ ด เห็ น ถึ งส าเห ตุ ท่ี ไม่ ส่ งงาน ต า ม กาหนดเวลา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ช้ันปีที่ 1/2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนิคประจวบครี ีขันธ์ แสดงให้เห็นว่าสาเหตทุ ่ีไมส่ ่งงานตามกาหนด โดยทาการเรยี งลาดับจากสาเหตุท่ี นักเรียนคิดว่าเป็นสาเหตุท่ีสาคัญที่สุดจนถึงสาเหตุท่ีน้อยที่สุด 3 อันดับดังต่อไปนี้ ลาดับท่ี 1 ไม่มีคอมพิวเตอร์ใน การทางาน จานวน 29 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 78.37 ลาดับที่ 2 งานหาย ไมไ่ ด้บันทึก จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 67.56 ลาดบั ท่ี 3 งานที่ไดร้ บั มอบหมายมากเกนิ ไป จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 54.05 I

กิตตกิ รรมประกาศ การวจิ ยั ในชน้ั เรยี นคร้ังนสี้ าเร็จลลุ ่วงได้ด้วยดจี ากผู้บรหิ าร คณะครู และนักเรียนทเ่ี ป็นกลมุ่ ตวั อย่าง ทา ให้งานวิจยั ฉบับนี้มคี วามสมบรณู ์ และบังเกิดความรแู้ ก่ผู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ตามกระบวนการเรยี นการสอนไดน้ ั้น ซง่ึ ผจู้ ัดทาขอบคุณทุกท่านดว้ ยความเคารพอยา่ งสูง ท้ายสุดนี้ ประโยชน์และความดีอันมีคุณ ค่าอันเกิดจากการทาการวิจัยในช้ันเรียนคร้ังน้ี ผู้วิจัยขอบูชาแด่ บิดา มารดา ครูอาจารย์ทุกท่านท่ีกรุณาประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้ จนส่งผลให้การวิจัยฉนับน้ี สาเรจ็ ลุลว่ งไปได้ด้วยดีและเปน็ ประโยชน์ต่อผู้สนใจต่อไป กัลยา คายอด ครูผ้สู อน II

สารบญั หน้า บทคัดย่อ............................................................................................................................................ I กติ ติกรรมประกาศ ............................................................................................................................. II สารบญั .............................................................................................................................................. III สารบัญตาราง .................................................................................................................................... V บทท่ี 1 บทนา.................................................................................................................................... 1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา ....................................................................... 1 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย.............................................................................................. 2 1.3 ขอบเขตของการวิจัย .................................................................................................... 2 1.4 นิยามศพั ท์เฉพาะ ......................................................................................................... 2 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง ............................................................................................. 3 2.1 ทกั ษะการเรยี นรู้........................................................................................................... 3 2.2 ทักษะปฏบิ ตั ิ................................................................................................................. 5 2.3 งานวจิ ัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง....................................................................................................... 9 บทที่ 3 วิธีดาเนินงานวจิ ยั .................................................................................................................. 11 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง........................................................................................... 11 3.2 เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั ............................................................................................... 11 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู .................................................................................................. 11 3.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู ....................................................................................................... 11 3.5 สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ..................................................................................... 12 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ........................................................................................................... 12 4.1 ผลการศึกษาข้อมลู ทว่ั ไป .............................................................................................. 13 4.2 ผลการศกึ ษาความคดิ เห็นของนักเรียนท่ีไม่สง่ งานตามกาหนด...................................... 13 III

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ .................................................................................. 15 5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย ............................................................................................................ 15 5.2 ข้อเสนอแนะ................................................................................................................. 15 บรรณานุกรม ..................................................................................................................................... 16 IV

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา้ 4.1 ขอ้ มูลทั่วไป........................................................................................................................... 13 4.2 ความคดิ เห็นของนักเรียนทไ่ี มส่ ่งงานตามทกี่ าหนด................................................................ 14 V

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าท่ีหลักในการจัดการศึกษาท่ีจะต้องพัฒนากาลังคนให้มีขีด ความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันบนเวลทีโลกจึงได้มีแผนการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ (พ.ศ. 2550-2564) มีแผผนการผลิตและพัฒนากาลังคน เพ่ือเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ซ่ึงสอดคล้องกับ นโยบายของชาติ (พ.ศ.2557) ที่ให้ความสาคัญในการพัฒนาคนอย่างย่ังยืน และจากแนวโน้มการปฏิรูป การศึกษาในหลายประเทศได้ให้ความสาคัญอย่างมากกับ “ทักษะ” (Skill) หรือความชานาญในการ ปฏิบัติมากยิ่งกว่าเน้ือหาตามตารา (Content) ซ่ึงองค์การยูเนสโกได้แนะนาว่า ผู้เรียนควรมีทักษะที่ ครอบคลุม 3 กลุ่ม ได้แก่ ทักษะพื้นฐาน คือ ทักษะที่จาเปน็ ต่อการดารงชีวิต เช่น อ่านออก เขียนได้ คิด เลขเปน็ ทักษะเพื่อการทางาน คือ ทกั ษะพื้นฐานในการทางานของทกุ อาชีพ ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิดวิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์ การทางานเป็นทีม และการส่ือสาร ทักษะเฉพาะอาชีพ คือ ทักษะ เบื้องต้นของอาชีพท่สี นใจ การเรียนการสอนในรายวชิ าการผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ รหัสวิชา 2204-2104 ของนักเรียนระดับช้ัน ปวช. ปีท่ี 1/2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ ประจาภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561 แบง่ คะแนนออกเปน็ 2 สว่ น คอื คะแนนที่ได้จากกระบวนการเรียนการสอน ซ่ึงคดิ เป็น ร้อยละ 80ของคะแนนทั้งหมด โดยในร้อยละ 80 ได้จากการเก็บคะแนนโดยการทดสอบเป็นรายหน่วย การเรยี นรู้ และงานที่มอบหมายใหน้ กั เรียนทาส่ง เพือ่ ส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝกึ ปฏิบัติและทบทวนบทเรีย ท่ีผ่านมา ครูผู้สอนได้กาหนดงานให้นักเรียนทาในคาบเรียนหรือฝึกทาหลังจากท่ีเรียนเน้ือหาน้ันๆเสร็จ แล้ว ซ่ึงเป็นส่วนท่ีสาคัญมากในกระบวนการเรียนการสอน เพราะนอกจากจะมีคะแนนในส่วนงานท่ี มอบหมายแลว้ ยงั มีผลต่อการเรยี นการสอนในคาบถัดไปดว้ ย เนอ่ื งจากงานทีม่ อบหมายใหท้ าจะเปน็ การ ประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียนของนักเรียนว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด อีกทั้วยัวเป็นการวัด พฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนได้อีกทางหนึ่งถ้าหากนักเรียนไม่ได้ทาใบงานท่ีครู ผู้สอน มอบหมายให้นกั เรยี นก็จะขาดคะแนนเกบ็ ในส่วนนัน้ และครจู ะไมส่ ามารถประเมินความรคู้ วามเข้าใจของ นักเรียนได้ ซงึ่ ครผู ู้สอนสังเกตุและพบว่า มีนักเรียนระดับชน้ั ปวช. ปี่ที่ 1 สามขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ ทไ่ี ม่ สง่ งานที่มอบหมายหรอื สง่ ไม่ตรงตามเวลาท่ีกาหนด จากสาเหตุดังกล่าวทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาของการไม่ส่งงาน ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. ปีท่ี 1/2 สาชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ท่ีเรียนรายวิชาการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ เพ่ือ พัฒนาปรับเปล่ียนพฤติกรรมส่งเสริมความรบั ผิดชอบการจัดกระบวนการเรียนการสอน ให้การเรียนการ สอนมีประสทิ ธภิ าพและมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขน้ึ

2 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องกำรวิจัย 1. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงานของนักเรยี นระดับชั้น ปวช.1/2 สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบครี ีขันธ์ 2. เพ่ือรวบรวมข้อมูลสาหรับแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1/2 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนิคประจวบคีรีขนั ธ์ 1.3 ขอบเขตของกำรวจิ ยั 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1/2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ทั้งหมดจานวน 37 คน 2. วธิ กี ารศกึ ษาค้นคว้า ในการวจิ ัยคร้ังนค้ี รผู ู้สอนใชว้ ธิ ีการวจิ ัยแบบกง่ึ ทดลอง 3. ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการทดลอง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 ใช้ระยะเวลา 72 ช่วั โมง 1.4 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. ทราบถึงพฤติกรรมและสาเหตุของการไม่ส่งงานของนักเรียนระดับช้ัน ปวช.1/2 สาขา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ 2. ได้แนวทางในการแกป้ ญั หาการเรยี นการสอน 1.4 นิยำมศัพทเ์ ฉพำะ งาน หมายถึง แบบฝึกหัดท่ีครูให้ในช่ัวโมงเรียน แบบฝึกหัดท่ีครูให้เป็นการบ้าน ใบงาน รวมถึงการทางานเป็นกลมุ่ และช้นิ งาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน ของนักเรียน ชั้นประกาศนียบัตร ปีท่ี 1/2 สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขนั ธ์ ผู้วิจยั ได้ศึกษา ตารา เอกสาร และงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง โดยนาเสนอเนอื้ หาแยกตามลาดบั ดังรายละเอียดนี้ 2.1 ทกั ษะการเรยี นรู้ 2.2 ทกั ษะปฏบิ ัติ 2.3 งานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง 2.1 ทักษะการเรยี นรู้ ทกั ษะการเรียนรู้มคี วามสาคัญตอ่ ผ้เู รยี นและมหี ลายประเภทดงั นี้ 2.1.1 ความสาคญั ของทักษะการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถในการแสวงหาความรู้ และเลือกใช้ แหล่งข้อมลู ดว้ ยวิธี การต่างๆ ได้เหมาะสมกับที่ต้องการ สามารถประมวลและสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ตามกรอบการเรียนรู้ แล ะมา ต รฐ า น ผล การ เ รี ยน รู้ ตา มกรอบ มา ต ร ฐา น คุณวุ ฒิ ระดั บอุ ด มศึกษา ของปร ะเทศไทย เ ป็น กา ร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาข้ึนในตนเอง จากประสบการณ์ท่ี ได้รับระหว่างศึกษา กรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกาหนดผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังให้บัณฑิตมีอย่างน้อย 5 ด้าน ดังนี้ 2.1.1.1 ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม (Ethics and Moral) หมายถงึ การพัฒนานิสยั ในการประพฤติ อย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และด้วยความรบั ผิดชอบทงั้ ในส่วนตนและส่วนรวมความสามารถในการปรับวิถี ชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตาม ศีลธรรม ท้ังในเร่ืองส่วนตัวและ สังคม 2.1.1.2 ด้านความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ การนึกคิด และ การ นาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎีตลอดจนกระบวนการต่างๆ และ สามารถเรยี นรู้ด้วยตนเองได้ 2.1.1.3 ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) หมายถึง ความสามารถในการ วิเคราะห์ สถานการณ์และใช้ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎีและกระบวนการต่างๆ ในการคิด วิเคราะห์และการแกป้ ญั หา เม่อื ต้องเผชญิ กับสถานการณใ์ หม่ๆ ทไ่ี ม่ไดค้ าดคดิ มากอ่ น

4 2.1.1.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็นกลุ่ม การแสดงถึงภาวะผู้นาความ รบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบ ในการเรยี นรูข้ องตนเอง 2.1.1.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) หมายถึง ความ สามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ความสามารถในการใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ความสามารถ ในการส่ือสารทั้งการพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านน้ี บางสาขาวิชาต้องการทักษะทางกายภาพสูง เช่น การเต้นรา ดนตรีการวาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย์และวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงต้องเพิ่มการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย ( Domain of Psychomotor Skill) มาตรฐานผลการเรียนรู้ คือ ข้อกาหนดเฉพาะซึ่งเป็นผลที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนพัฒนาข้ึน จากการเรียนรู้ทัง้ 5 ด้านท่ีได้รับการพฒั นาดังกลา่ ว และแสดงออกถงึ ความรู้ความเข้าใจและความสามารถ จากการเรียนร้เู หล่าน้ันไดอ้ ย่างเปน็ ทีเ่ ชอ่ื ถอื เมือ่ เรยี นจบในรายวชิ าหรอื หลกั สูตรน้นั แลว้ มาตรฐานผลการเรียนรู้ซึ่งมีอย่างน้อย 5 ด้าน ดังกล่าวข้างต้น เป็นมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ บัณฑิตทุกคนในทุกระดับคุณวุฒิโดยแต่ละด้านจะมีระดับความซับซ้อนเพิ่มข้ึน เมื่อระดับคุณวุฒิสูงขึ้น ทักษะและความร้จู ะเป็นการสะสมจากระดับคุณวุฒิทต่ี ่ากว่าสู่ระดับท่สี ูงขึ้น ดังนั้น มาตรฐานผลการเรยี นรู้ ของระดับคุณวุฒใิ ดคณุ วุฒิหน่ึงจะรวมมาตรฐานผลการเรยี นรู้ในสาขา /สาขาวิชาเดียวกันของระดับคุณวุฒิ ทตี่ ่ากว่าด้วย มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ใช้กับนักศึกษาทุกคน แม้ว่าบางสาขา/สาขา วิชานักศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาเป็นการเฉพาะ เช่น จรรยาบรรณของแพทย์ นักบัญชี และ นักกฎหมาย เป็นต้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ และด้านทักษะทางปัญญา จะเก่ียวข้อง โดยตรงกับสาขา/ สาขาวิชาท่ีเรียน ซ่ึงต้องระบุรายละเอียดของความรู้และทักษะของสาขา /สาขาวิชา ที่เหมาะสมกับระดับ คุณวุฒิไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร และรายละเอียดของรายวิชา มาตรฐานผล การเรียนรู้ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบมุ่งหวังให้นักศึกษาทุกคนไม่ว่า จะเป็นระดับคุณวุฒิและ สาขา/สาขาวิชาใด ต้องบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านเหล่านี้ มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งหวัง ให้นักศึกษาทุกคนไม่ว่าจะเป็น ระดับคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาใด ต้องบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้าน น้ี แต่สาหรับนักศึกษาที่เรียนใน สาขา /สาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับมาตรฐานผลการเรียนรู้นี้ จะต้องเน้นให้มีความชานาญมากกว่า นักศึกษาสาขา /สาขาวิชาอื่นๆ เช่นนกั ศึกษาท่ีเรียนสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จะตอ้ งมีความชานาญ และทกั ษะตามมาตรฐานผลการเรียนรูด้ ้านความรแู้ ละดา้ นทักษะทางปัญญาเก่ยี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทางด้านหลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน ทักษะการเรียนรู้เป็นสาระการเรียนรู้ที่เก่ียวกับการพัฒนา ทักษะ การเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรยี นรู้ การจัดการความรู้ การคิดเป็น และ การวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ได้ด้วย

5 ตนเอง สามารถเข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจ อย่างมเี หตผุ ล เพอื่ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื ในการชนี้ าตนเองในการเรียนรไู้ ด้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จะเห็นได้ว่าทักษะการเรียนรู้มีความสาคัญกับคนเราอย่างมากจึงควรมีการส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้เพือ่ ให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนและเรยี นรู้อยา่ งมคี วามหมาย สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ ในชีวติ ประจาวนั ได้ 2.1.2 ประเภทของทักษะการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายของชุดวิชาอาหารและอนามัยสาหรับเด็กปฐมวัยน้ัน มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ นักศึกษามีความรู้และเข้าใจแนวคิดหลักการและทฤษฎีเก่ียวกับอนามัยโภชนาการและสุขภาพรู้และเข้าใจ ในหลักโภชนาการและการจัดบริการอาหารสาหรับเด็กปฐมวัย ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของ สุขอนามัยของแม่และเด็กท่ีมตี ่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จดั โครงงานบริการอาหารให้แก่เดก็ ปฐมวัยและ กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสุขภาพและอนามัยให้แก่แม่และเด็กปฐมวัย ซ่ึงทักษะการเรียนรู้ดังกล่าวสอดคล้องกับ เป้าหมาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ กาหนดผลการ เรยี นรู้ทีค่ าดหวงั ท่ีเป็นขอ้ กาหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ โดยมีรายละเอียดเป้าหมายการเรยี นรู้ในแตล่ ะระดับ การศกึ ษา เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะการเรียนรูข้ องดังนี้ 2.1.2.1 การเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถประมวลความรู้ และสรุปเป็นสารสนเทศ ทางานบน ฐานข้อมลู ด้วยการแสวงหาความรู้จนเป็นลักษณะนสิ ัยมคี วามชานาญในทกั ษะการอา่ น ทกั ษะ การฟัง และ ทกั ษะการจดบนั ทึก อยา่ งคลอ่ งแคลว่ รวดเรว็ 2.1.2.2 การใช้แหล่งเรยี นรู้ สามารถวางแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ตามความต้องการจาเปน็ ของแต่ ละบุคคล ใช้แหล่งเรียนรู้ตามความต้องการจาเป็นจนเป็นกิจนิสัย และใช้แหล่งเรียนรู้อย่างแคล่วคล่องจน เป็นนสิ ัยสว่ นตัว 2.1.2.3 การจัดการความรู้ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ สร้างสูตร สรุปองค์ความรู้ใหม่ ของ ขอบเขตความรปู้ ระพฤตติ นเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรสู้ ร้างสรรค์สังคมอดุ มปัญญา 2.1.2.4 การคิดเป็น สามารถวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการ คดิ เป็น จนเป็นลักษณะนิสัยและปฏบิ ตั กิ ารใช้กระบวนการคิดเป็นการแก้ปัญหาอยา่ งแคล่วคลอ่ ง 2.1.2.5 การวิจัยอย่างง่าย สามารถออกแบบการวิจัย เพื่อค้นหาความรู้ความจริงท่ีต้องการ คาตอบใช้กระบวนการวิจัยเป็นเคร่ืองมือในการดาเนินชีวิตจนเป็นลักษณะนิสัยดาเนินการ ตามแบบ แผนการวิจัย และวเิ คราะห์ข้อมูล สรุปสารสนเทศความรู้ และความจรงิ ท่ีตอ้ งการคาตอบอย่างแคล่วคล่อง จะเห็นได้ว่าทักษะการเรียนรู้มีหลายประการและมคี วามสาคัญต่อการเรียนรู้เป็นอย่างยง่ิ ทักษะการเรียนรู้ เหล่านต้ี ้องอาศัยการฝึกฝน กระทาอยา่ งตอ่ เนือ่ งจนเป็นนสิ ัย 2.2 ทกั ษะปฏิบัติ ทกั ษะปฏิบัตมิ ีความหมายและประเภทตามรายละเอียดดงั น้ีคือ

6 2.2.1 ความหมายของทกั ษะปฏิบตั ิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ( 2544) ได้ให้ความหมายของทักษะปฏิบัติไว้ว่า ทักษะปฏิบัติ (performance) เป็นการประเมินพฤติกรรมของผเู้ รียนในการประยุกต์ความรแู้ ละทกั ษะต่างๆ มาใช้ในการ ปฏิบัติงานโดยการประเมินตามสภาพจริงเปน็ การประเมินความสามารถของผู้เรยี นจากงานท่ีให้ปฏบิ ัติจริง หรือในสภาพท่ีเป็นจริง เพ่ือพิจารณาว่าผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานที่กาหนดได้ดีเพียงใด และปฏิบัติได้ อย่างไร นอกจากน้ีควรมีการประเมินจากแฟ้มสะสมงานเป็นการประเมินท่ีเน้นความสาเร็จของผู้เรียนจาก ผลงานทผี่ เู้ รยี นเกบ็ รวบรวมไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบในแฟ้ม กล่อง หรือกระเป๋าแล้วแต่ลักษณะของงาน เพื่อแสดง ให้เหน็ ถงึ ความสามารถ เจตคติ ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผ้เู รียนในเนอ้ื หาวิชาตา่ งๆ ซิมพ์ซัน (Simpson : 1972) กล่าวว่า ทักษะปฏิบัติน้ีสามารถพัฒนาได้ด้วยการฝึกฝน ซ่ึงหาก ได้รับการฝึกฝนดีแล้ว จะเกิดความถูกต้อง ความคล่องแคล่ว ความเชี่ยวชาญชานาญการ และความคงทน ผลของพฤติกรรมหรือการกระทาสามารถสังเกตได้จากความรวดเร็ว ความแม่นยา ความแรงหรือความ ราบร่ืนในการจัดการ ซ่ึงกระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบนม้ี ี ท้งั หมด 7 ขนั้ คอื 1. ขั้นการรับรู้ ( Perception) เป็นขั้นการให้ผู้เรียนรับรู้ในส่ิงท่ีจะทา โดยการให้ผู้เรียน สังเกตการณ์ทางานนน้ั อยา่ งตัง้ ใจ 2. ข้ันการเตรียมความพร้อม (Readiness) เป็นข้ันการปรับตัวให้พร้อมเพ่ือการทางานหรือ แสดงพฤติกรรมน้ัน ท้ังทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ และอารมณ์โดยการปรับตัวให้พร้อมทจี่ ะทาการ เคลอ่ื นไหว หรือแสดงทักษะนั้นๆ และมีจติ ใจและสภาวะอารมณ์ทดี่ ตี ่อการท่ีจะทาหรือแสดงทักษะน้ัน ๆ 3. ขั้นการสนองตอบภายใต้การควบคุม (Guided Response) เป็นข้ันที่ให้โอกาสแก่ผู้เรียน ใน การตอบสนองต่อส่ิงที่รับรู้ ซ่ึงอาจใช้วิธีการให้ผู้เรียน เลียนแบบการกระทา หรือการแสดงทักษะน้ัน หรือ อาจใช้วธิ ีการใหผ้ ้เู รยี นลองผดิ ลองถูก (Trial and Error) จนกระทง่ั สามารถตอบสนองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4. ข้ันการให้ลงมือกระทาจนกลายเป็นกลไกท่ีสามารถกระทาได้เอง (Mechanism) เป็นขั้นท่ี ชว่ ยให้ผเู้ รยี นประสบผลสาเรจ็ ในการปฏิบัติและเกดิ ความเช่อื ม่ันในการทาส่ิงนั้นๆ 5. ขั้นการกระทาอย่างชานาญ ( Complex Overt Response) เป็นขั้นที่ช่วยให้ผเู้ รียนได้ ฝึกฝน การกระทาน้ันๆ จนผเู้ รียนสามารถทาไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว ชานาญเป็นไปโดยอัตโนมตั แิ ละดว้ ยความเชือ่ มั่น ในตนเอง 6. ข้ันการปรับปรุงและประยุกต์ใช้ (Adaptation) เป็นขั้นท่ีช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงทักษะหรือ การปฏิบัตขิ องตนใหด้ ยี ิง่ ข้ึน และประยกุ ต์ใช้ทกั ษะทต่ี นได้รับการพฒั นาในสถานการณ์ต่างๆ 7. ขั้นการคิดริเริ่ม (Origination) เม่ือผู้เรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทาส่ิงใดสิ่งหน่ึงอย่าง ชานาญ และสามารถประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลายแล้วผู้ปฏิบัติจะเริ่มเกิดความคิดใหม่ๆ ในการ กระทาหรือปรับการกระทาน้ันให้เปน็ ไปตามที่ตนต้องการจากความหมายของทักษะปฏิบัติสามารถสรุปได้ วา่ ทักษะปฏิบัตเิ ป็นพฤตกิ รรมที่เกิดขึน้ จากการประยุกต์ใช้ความรจู้ ากการเรยี นรู้

7 2.2.2 รปู แบบการเรียนการสอนทเี่ นน้ ทักษะปฏิบัติ รูปแบบการเรียนการสอนทเี่ น้นทักษะปฏิบัติ นัน้ มีหลายรปู แบบและมขี น้ั ตอนท่ีแตกต่างกันดงั นี้ 2.2.2.1 รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ( Harrow. 1972: 96-99) ได้จดั ลาดับข้ันของ การเรียนรู้ทางด้านทักษะปฏิบัติโดยเร่ิมจากระดับที่ซับซ้อนน้อยไปจนถึงระดับท่ีมีความซับซ้อนมาก ซ่ึง กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบมที งั้ หมด 5 ข้นั คือ 1) ข้ันการเลียนแบบ เป็นขั้นท่ีให้ผู้เรียนสังเกตการกระทาท่ีต้องการให้ผู้เรียนทาได้ซ่ึงผู้เรียน ย่อมจะรับรู้หรือสังเกตเห็นรายละเอียดต่างๆ ได้ไม่ครบถ้วนแต่อย่างน้อยผู้เรียนจะสามารถบอกได้ว่า ขน้ั ตอนหลกั ของการกระทาน้ันๆ มอี ะไรบา้ ง 2) ข้ันการลงมือกระทาตามคาส่ัง เม่ือผู้เรียนได้เห็นและสามารถบอกข้ันตอนของการกระทาท่ี ต้องการเรยี นรู้แลว้ ใหผ้ ู้เรียนลงมือทาโดยไมม่ ีแบบอย่างให้เห็นผ้เู รียนอาจลงมอื ทาตามคาส่ังของผู้สอน หรือ ทาตามคาสัง่ ท่ีผู้สอนเขยี นไวใ้ นคู่มอื ก็ได้ การลงมือปฏิบัตติ ามคาส่ังนี้ แม้ผู้เรียนจะยังไม่สามารถทาไดอ้ ย่าง สมบูรณ์ แต่อย่างน้อยผู้เรียนก็ได้ประสบการณ์ในการลงมือทาและค้นพบปัญหาต่างๆ ซ่ึงช่วยให้เกิดการ เรยี นรู้ และการปรับการกระทาให้ถูกต้องสมบูรณ์ขึ้น 3) ข้นั การกระทาอยา่ งถกู ต้องสมบูรณ์ (Precision) ข้นั น้ีเป็นขั้นท่ีผู้เรยี นจะต้องฝึกฝนจนสามารถ ทาสงิ่ นั้นๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งสมบรู ณ์โดยไม่จาเป็นต้องมีแบบอยา่ งหรือมีคาสั่งนาทางการกระทาการกระทาที่ ถูกตอ้ งแม่นยาตรง พอดสี มบรู ณแ์ บบ เป็นสง่ิ ทผ่ี ู้เรยี นจะตอ้ ง สามารถทาได้ในขัน้ น้ี 4) ขั้นการแสดงออก (Articulation) ขั้นนี้เป็นข้ันท่ีผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนมากข้ึน จนกระทั่ง สามารถกระทาสงิ่ นั้นได้ถูกต้องสมบรู ณแ์ บบอยา่ งคลอ่ งแคลว่ รวดเร็ว ราบร่นื และ ด้วยความมน่ั ใจ 5) ขน้ั การกระทาอย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) ข้ันน้ีเป็นขั้นท่ีผู้เรียน สามารถกระทาสิ่ง น้ันๆ อยา่ งสบายเป็นไปอย่างอัตโนมตั ิโดยไมร่ ู้สกึ ว่าต้องใชค้ วามพยายามเปน็ พเิ ศษ ซ่ึงต้องอาศัยการปฏิบัติ บ่อยๆ ในสถานการณ์ต่างๆ ที่หลากหลาย 2.2.2.2 รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ( Davies. 1971: 50-56) ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับ การพัฒนาทักษะปฏิบัติว่าทักษะส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยทักษะย่อย ๆ จานวนมากดังน้ันควรฝึกให้ ผู้เรียนสามารถทาทักษะย่อยๆ เหล่าน้ันได้ก่อน แล้วค่อยเชื่อมโยงต่อกันเป็นทักษะใหญ่จะช่วยให้ผู้เรียน ประสบผลสาเร็จได้ดแี ละรวดเร็วข้นึ ซึง่ กระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบนมี้ ที ัง้ หมด 5 ข้ัน คอื 1) ข้ันสาธิตทักษะหรือการกระทาเป็นขั้นท่ีให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือการกระทาที่ต้องการให้ ผู้เรียนทาได้ในภาพรวม โดยการสาธิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดต้ังแต่ต้นจนจบ ทักษะหรือการกระทาที่สาธิตให้ ผู้เรียนดูนั้นจะต้องเป็นการกระทาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติไม่ช้า หรือเร็วเกินปกติก่อนการสาธิต ครูควร ให้คาแนะนาแกผ่ ู้เรียนในการสงั เกต ควรชีแ้ นะจุดสาคญั ที่ ควรใหค้ วามสนใจเป็นพเิ ศษในการสงั เกต 2) ขั้นสาธิตและให้ผเู้ รียนปฏิบัติทักษะย่อย เม่ือผู้เรียนได้เห็นภาพรวมของการกระทาหรือทกั ษะ ทั้งหมดแล้ว ผู้สอนควรจะแตกทกั ษะทงั้ หมดให้เป็นทักษะย่อย ๆ หรือแบ่งสิ่งที่ กระทาออกเปน็ ส่วนย่อย ๆ และสาธติ สว่ นยอ่ ยแตล่ ะสว่ นให้ผ้เู รยี นสงั เกตและทาตามไปทีละส่วนอย่างชา้ ๆ

8 3) ข้ันให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะย่อยโดยไม่มีการสาธิตหรือมี แบบอย่างใหด้ ู หากติดขัดจดุ ใดผสู้ อนควรให้คาชแี้ นะ และช่วยแก้ไขจนผูเ้ รยี นทาได้ เม่ือไดแ้ ลว้ ผู้สอนจงึ เร่ิม สาธิตทักษะย่อยส่วนต่อไป และให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยนั้นจนทาได้ ทาเช่นนี้เรื่อยไปจนกระท่ังครบทุก ส่วน 4) ขั้นให้เทคนิควิธีการ เม่ือผู้เรียนปฏิบัติได้แล้วผู้สอนอาจแนะนาเทคนิควิธีการท่ีจะช่วยให้ ผู้เรียนสามารถทางานนั้นได้ดีขึ้น เช่น ทาได้ประณีตสวยงามขึ้นทาได้รวดเร็วข้ึน ทาได้ง่ายขึ้น หรือ ส้นิ เปลอื งน้อยลง เป็นตน้ 5) ขนั้ ให้ผเู้ รียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทกั ษะท่ีสมบูรณ์ เมื่อผู้เรียนสามารถปฏบิ ัติแต่ละส่วน ได้แล้ว จึงให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยๆ ต่อเนื่องกันต้ังแต่ต้นจนจบ และฝึกปฏิบัติหลายๆ คร้ังจนกระท่ัง สามารถปฏิบัตทิ ักษะท่สี มบูรณไ์ ดอ้ ย่างท่ชี านาญ 2.2.2.3 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะปฏิบัติของนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ (2535) เป็น ผู้พัฒนารูปแบบนี้ข้ึนรูปแบบการเรียนการสอน ประกอบด้วยยุทธวิธี 3 ยุทธวิธี ให้ผู้สอนได้เลือกใช้ให้ เหมาะสม เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับงานท่ีทาและเกิดทักษะในการทางานน้ันได้อย่าง ชานาญตามเกณฑ์รวมทั้งมีเจตคติทด่ี ีและลักษณะนสิ ยั ทด่ี ใี นการทางานด้วย ได้แก่ ยุทธวิธีท่ี 1 การสอนทฤษฏีก่อนสอนงานปฏบิ ัติเหมาะสาหรับการสอน เน้ือหาปฏบิ ัติทีม่ ีลักษณะ ซบั ซ้อน เส่ยี งอันตราย และเน้อื หาสามารถแยกสว่ นภาคทฤษฏีและปฏบิ ัติ ได้ชัดเจน มขี น้ั ตอนดังนค้ี ือ 1) ข้ันนา แนะนางาน กระตุ้นให้ผ้เู รยี นเกดิ ความสนใจ และเหน็ คณุ ค่าใน งานนั้น 2) ขน้ั ใหค้ วามรู้ ให้ความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั งานท่จี ะทา 3) ขั้นฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนลงมือทางาน ทาตามแบบหรือเลียนแบบ หรือลอง ผิดลองถูก ก่อนแล้ว ลองทาเอง ครูคอยสงั เกตใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั เปน็ ระยะๆ จนทาได้ถูกตอ้ งฝกึ หลายครง้ั จนชานาญ 4) ข้ันประเมนิ ผล ผู้เรยี นได้รบั การประเมนิ ทักษะปฏบิ ัติ และลักษะนสิ ยั ในการทางาน และความ ยัง่ ยนื คงทน โดยดูความชานาญ ถา้ ชานาญกจ็ ะจาไดด้ แี ละนาน ยุทธวิธีที่ 2 การสอนงานปฏิบัติก่อนสอนทฤษฏี เหมาะสาหรับเน้ือหางาน ปฏิบัติที่มีลักษณะไม่ ซับซ้อนหรือเป็นงานปฏิบัติที่ผู้เรียนเคยมีประสบการณ์มาบ้างแล้วเป็นงานเส่ียงต่อชีวิตน้อย มีขั้นตอน ดังนค้ี ือ 1) ขนั้ นา แนะนางาน กระตนุ้ ความสนใจ และเหน็ คุณค่า 2) ขัน้ ใหผ้ เู้ รยี นปฏิบตั ิ และสังเกตการณ์ ผู้เรยี นมีการปฏบิ ัติ สังเกต และ จดบนั ทึก 3) ข้ันวิเคราะห์การปฏิบัติและสังเกตการณ์ ร่วมกันวิเคราะห์ พฤติกรรม การปฏิบัติ และ อภปิ รายผล 4) ขั้นเสริมความรู้ จากผลการวิเคราะห์และอภิปรายการปฏิบัติ ผู้สอนเสริมความรู้ที่เป็น ประโยชน์ 5) ขัน้ ให้ผเู้ รียนปฏิบตั งิ านใหม่ เพอ่ื ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพรอ่ ง

9 6) ข้ันประเมินผล ประเมินทักษะปฏิบัติ ลักษณะนิสัยและความคงทนของการเรียนรู้จากความ ชานาญ ยุทธวิธีที่ 3 การสอนทฤษฏีและปฏิบัติไปพร้อมๆ กัน เหมาะสาหรับบทเรียน ที่มีลักษณะของ เนอื้ หาภาคทฤษฏีและปฏบิ ัติ ทไ่ี มส่ ามารถแยกจากกันได้เด็ดขาด 1) ข้ันนา แนะนางาน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และเหน็ คณุ ค่าใน งานนนั้ 2) ขน้ั ให้ความรู้ ให้ปฏิบตั ิ และให้ขอ้ มูลย้อนกลบั ไปพร้อม ๆ กนั 3) ข้ันให้ปฏิบตั ิงานตามลาพงั 4) ขน้ั ประเมินผล นักเรียนได้รับการประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิ ลักษณะนิสยั ใน การทางาน และความ ย่งั ยืนคงทน โดยดูความชานาญ การสอนทักษะปฏิบตั ิท้ัง 3 ลักษณะ ได้แก่ การสอนทฤษฎีกอ่ นปฏิบัติการ สอนปฏิบัติก่อน สอนทฤษฎีและการสอนทฤษฎีและปฏิบัติไปพร้อมๆกัน สามารถเลือกใช้ตามเง่ือนไขหรือ สถานการณ์ท่ีเหมาะสมตามเกณฑ์เสนอแนะในรูปแบบลักษณะดังกล่าว ทาให้รูปแบบและมีความยืดหยุ่น และใชไ้ ด้ครอบคลุมกับการสอนทกั ษะปฏิบัติในสายอาชีพสายตา่ งๆ สรุปได้ว่ารูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติมีหลายรูปแบบสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับ ลกั ษณะการเรียนการสอน ซง่ึ ทิศนา แขมมณี (2547 : 103-106) กล่าวว่าการเรียนการสอนวิชาอาชีพส่วน ใหญจ่ ะเนน้ ทักษะปฏบิ ัติ โดยอาศยั แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะ ปฏิบัติ การพัฒนาผู้เรยี น ให้เกิดทักษะปฏิบัติที่ดีนั้น ผู้สอนควรเร่ิมต้ังแต่การวิเคราะห์งานที่จะให้ ผู้เรียนทาโดยแบ่งงานออกเป็น ส่วนย่อยๆ และลาดับงานจากง่ายไปหายาก แล้วให้ผู้เรียนได้ฝึก ทางานย่อย ๆ มีความรู้เข้าใจงานที่จะทา เรยี นร้ลู ักษณะนสิ ยั ที่ดีในการทางาน ฝกึ ทางานใน สถานการณ์ใกล้เคียง 2.3 งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง ยุวลี สายสังข์ (2556) ทาวิจัยในช้ันเรียน เร่ืองการศึกษาพฤติกรรมเร่ืองการไม่ส่งงาน/การบ้าน ของนักเรยี นชน้ั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพปีท่ี 3/8 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกจิ การศึกษาวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ ผู้วิจัยได้จัดทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาสาเหตุการ ไม่ส่งงาน/การบ้านตามลาดับท่ีมากท่ีสุดจนถึงน้อยที่สุดจากลาดับ 1-13 และได้นาผลขอลแต่ละสาเหตุมา หาค่า ร้อยละ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุปพร้อมทั้งนาเสนอในรูปของตารางประกอบคา บรรยายเพ่ือศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในเรื่องการไม่ส่งงาน/การบ้าน ผลการศึกษาปรากฎว่า จาก การศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน/การบ้าน ของนักเรียนช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 3/8 สาขาคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีบริหารธรุ กจิ แสดงให้เห็นว่า สาเหตุ ของการไม่ส่งงาน/การบ้าน ลาดับท่ี 1 คือ ลืมทา โดยคิดจากนักเรียน 38 คน ที่เลือกสาเหตุอันดับท่ี 1 จานวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 23.68

10 ปรารถนา เชาวน์เสฏฐกุล (2556) ทาวิจัยในช้ันเรียน เร่ืองการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของ นกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีท่ี 2 สาขาวชิ าการเลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง รายวิชา การประเมินผลการปฏิบัติงาน รหัสวิชา 3207-2009 เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพ่ือ แก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ปีที่ 2 สาขาวิชาการ เลขานกุ าร วิทยาลัยเทคนคิ ตรัง วิชาการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน รหัสวิชา 3207-2009 กล่มุ ตัวอย่างทีใ่ ช้ คือประชากรเป็นนักศึกษาในระดับ ปวส. ปีท่ี 2 สาขาวิชาการเลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง ท่ีศึกษา รายวิชาการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน รหัสวิชา 3207-2009 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษา มีข้อคาถามจานวน 15 ข้อโดยให้นักศึกษาเลือกลาดับสาเหตุของการไม่ส่งงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ แล้วนาข้อมูลมา วิเคราะห์สรุปพร้อมทั้งนาเสนอในรูปของตารางประกอบคาบรรยาย เพ่ือแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของ นักศึกษา ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้อมูลท่ีได้จากการใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีท่ี 2 สาขาวิชาการเลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง ท่ีศึกษาวิชาการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน รหัส วิชา 3207- 2009 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 ผลการวิจัยพบว่าจากการศึกษาและวิเคราะห์ แบบสอบถามเพ่ือแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษาของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีที่ 2 สาขาวิชาการ เลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของการไม่งาน ลาดับท่ี 1 คือ แบบฝึกหัดยาก ทา ไม่ได้ และติดงานในรายวิชาอ่ืนๆ โดยคิดจากนักศึกษา 5 คน ท่ีเลือกเป็นสาเหตุอันดับท่ี 1 จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

บทที่ 3 วิธีดำเนนิ งำนวิจัย การวจิ ยั คร้ังนีเ้ ป็นการศึกษาพฤติกรรมการไมส่ ่งงานของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ชั้นปีท่ี 1 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ โดยผู้วิจัยเสนอ รายละเอยี ดดังน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4. การวเิ คราะห์ข้อมลู 5. สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.1 ประชำกรและกลุม่ ตัวอย่ำง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ช้ันปีที่ 1 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ทงั้ หมดจานวน 37 คน 3.2 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นกำรวิจัย - แบบสอบถาม 3.3 กำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู การดาเนินการวจิ ยั และเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ จิ ัยไดท้ าตามข้นั ตอนดงั นี้ 1. นาแบบสอบถามเพ่ือศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน ตามกาหนดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ชนั้ ปที ่ี 1 สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคประจวบคีรขี ันธ์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 ทั้งหมดจานวน 37 คน เพือ่ หาสาเหตุของการไม่ส่งงานตามกาหนด และทาการบันทกึ คะแนน 2. ดาเนนิ การหาคา่ รอ้ ยละของแตล่ ะขอ้ สาเหตุ 3.4 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู - วเิ คราะห์จากคะแนนที่ไดจ้ ากการทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรม

12 3.5 สถิติทใ่ี ชใ้ นกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู - ร้อยละ (Percentage) คา่ ร้อยละ = ������ × 100 N เมอื่ X = คะแนนท่ไี ด้ N = จานวนนักเรยี นท้งั หมด

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชน้ั ปีที่ 1 สาขางานคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขนั ธ์ เพ่ือนาผลการวิจัยมาเก็บเป็นข้อมูลเพื่อหาสาเหตุ และนาไปแก้ปัญหาในการเรียนการสอนเพ่ือให้ นักเรียนเห็นความสาคัญของการส่งงาน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมจานวน 10 ข้อ โดย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีท่ี 1/2 สาขางานคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โดยสามารถวิเคราะห์ผลได้ ดงั น้ี 4.1 ผลการศกึ ษาข้อมลู ท่ัวไป การศึกษาข้อมูลทั่วไปของนักเรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ชนั้ ปีท่ี 1/2 สาขางาน คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนคิ ประจวบคีรขี นั ธ์ ประกอบด้วย เพศ ดงั แสดงในตารางที่ 4.1 ตารางท่ี 4.1 ข้อมลู ทัว่ ไป เพศ จานวน (คน) รอ้ ยละ ชาย 11 29.73 หญิง 26 70.27 รวม 37 100 จากตารางท่ี 4.1 เป็นการศึกษาข้อมลู พ้นื ฐานของนักเรียน จานวน 37 คน พบวา่ เปน็ เพศชาย จานวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 29.73 เปน็ เพศหญิง จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 70.27 4.2 ผลการศกึ ษาความคดิ เห็นของนกั เรยี นที่ไม่สง่ งานตามกาหนด จากการเกบ็ ข้อมลู ของนักเรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ช้นั ปที ่ี 1/2 สาขางาน คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยเทคนคิ ประจวบคีรีขนั ธ์ จานวน 37 คน โดยใชแ้ บบสอบถามความคิดเหน็ ท่ี นักเรยี นไม่ส่งงานตามกาหนด ดงั แสดงในตารางท่ี 4.2

14 ตารางท่ี 4.2 ความคิดเห็นของนกั เรียนทไ่ี มส่ ่งงานตามที่กาหนด สาเหตขุ องการไมส่ ง่ งาน จานวน (คน) รอ้ ยละ ลาดบั ที่ 1.งานทไ่ี ด้รับมอบหมายมากเกนิ ไป 20 54.05 3 2.งานทไ่ี ด้รบั มอบหมายยาก ทาไม่ได้ 18 48.65 4 3.งานทไ่ี ด้รบั มอบหมายไมน่ ่าสนใจ - - 4.ให้เวลาน้อยเกนิ ไป 17 - 5 5.ครูอธบิ ายเร็วเกินไป 7 45.95 7 6.ไมเ่ ขา้ ใจคาส่งั 9 18.19 6 7.งานหาย ไมไ่ ดบ้ ันทกึ 25 24.32 2 8.ไมม่ ีคอมพวิ เตอรใ์ นการทางาน 29 67.56 1 9.ติดงานในรายวชิ าอนื่ ๆ - 78.37 - 10.ตดิ เกม 5 8 - 13.51 จากตารางท่ี 4.2 แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของนักเรยี นถึงสาเหตขุ องการไม่ส่งงาน ตามกาหนด โดยทาการเรยี งลาดับจากสาเหตุที่นักเรียนคดิ ว่าเปน็ สาเหตุที่สาคัญที่สดุ จนถึงสาเหตุทีน่ ้อย ทีส่ ุด 3 อนั ดับดงั ต่อไปนี้ ลาดับที่ 1 ไม่มคี อมพวิ เตอรใ์ นการทางาน จานวน 29 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.37 ลาดับที่ 2 งานหาย ไมไ่ ด้บนั ทึก จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 67.56 ลาดบั ที่ 3 งานทไี่ ด้รับมอบหมาย มากเกนิ ไป จานวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 54.05

บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวจิ ัยครง้ั นี้เปน็ การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักเรียนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ช้ันปีท่ี 1/2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ มีสาระสาคัญพอ สรปุ ได้ดงั นี้ 5.1 สรปุ ผลการวิจยั จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นถึงสาเหตุท่ีไม่ส่งงานตามกาหนดเวลา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ช้ันปีท่ี 1/2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ แสดงให้เห็นว่าสาเหตุท่ีไม่ส่งงานตามกาหนด โดยทาการเรียงลาดับ จากสาเหตุที่นักเรียนคิดว่าเป็นสาเหตทุ ่ีสาคัญท่ีสดุ จนถึงสาเหตทุ น่ี อ้ ยทสี่ ดุ 3 อนั ดับดังต่อไปน้ี ลาดับท่ี 1 ไม่มีคอมพิวเตอร์ในการทางาน จานวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 78.37 ลาดับที่ 2 งานหาย ไม่ได้บันทึก จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 67.56 ลาดับที่ 3 งานที่ได้รับมอบหมายมากเกินไป จานวน 20 คน คิด เป็นร้อยละ 54.05 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 1. ครูผู้สอนควรสารวจเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต่อจานวนของนักเรียนในช่ัวโมงเรียนว่ามีเครื่อง คอมพวิ เตอร์ 1 เคร่ืองตอ่ ผใู้ ช้ก่คี น 2. ครูผู้สอนควรเน้นย้าเรอ่ื งการบันทกึ งานของผเู้ รยี น ว่าควรบันทกึ งานใส่แฟรชไดร์ ตลอดเวลา เพอ่ื ป้องกันเคร่อื งดบั ระหว่างการทางาน 3. ครูผสู้ อนควรประเมินปริมาณงานให้สอดคลอ้ งกับเวลาและเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ่ีนักเรียนต้อง แบง่ กนั ใช้ด้วย

บรรณานุกรม ยวุ ลี สายสังข.์ 2556. วจิ ยั ในชน้ั เรียน เรื่องการศกึ ษาพฤตกิ รรมเรื่องการไมส่ ่งงาน/การบา้ น ของ นกั เรยี นช้นั ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลัยเทคโนโลยี ไทยบริหารธุรกจิ . ปรารถนา เชาวนเ์ สฏฐกลุ . 2556. วจิ ัยในชั้นเรยี น เรอ่ื งการแก้ปญั หาการไมส่ ่งงานของนักศกึ ษา ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการเลขานุการ วทิ ยาลัยเทคนคิ ตรัง รายวิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน รหสั วิชา 3207-2009.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook