Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore mineclass_file_2

mineclass_file_2

Published by phatcharaphorn.phermkaew, 2019-07-31 00:15:18

Description: mineclass_file_2

Search

Read the Text Version

การวจิ ัยในชน้ั เรยี น ศาสตราจารยก ิตตคิ ุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดนิ ณ อยุธยา ความสําคญั ของการวิจยั ในช้นั เรยี น การวิจัยในช้ันเรียนมีความสําคัญตอวงการวิชาชีพครูเปนอยางย่ิง เนื่องจากครูจําเปนตองพัฒนา หลักสตู ร วธิ ีการเรยี นการสอน การจงู ใจใหผ เู รยี นเกิดความอยากรอู ยากเรยี น การพัฒนาพฤติกรรม ผูเรียน การเพ่ิมสัมฤทธิผลการเรียน และการสรางบรรยากาศการเรียนรู เพ่ือใหเกิดการเรียนรูไดอยางมี ประสิทธภิ าพ การวจิ ัยในชั้นเรียนเปนการเปลี่ยนแปลงบทบาทดั้งเดิมของครทู ี่มีความเชย่ี วชาญ และสนใจเร่ืองการสอนโดยเนนเนื้อหาสาระของบทเรียน จึงทุมเทการศึกษา คนควา หาขอมูล ทฤษฎี ท่ี เปนสวนหนึ่งของหลักสูตร มากกวาการศึกษาวิธีการพัฒนาหรือปรับปรุงการเรียนรูของผูเรียน ผลงานของ อาจารยส วนใหญจ งึ เปน ผลงานหนงั สือ ตํารา บทความหรอื เอกสารทางวิชาการมากกวาผลงานวิจยั ปจ จบุ ัน การวิจยั มบี ทบาทเพ่มิ ข้นึ เนื่องจากการขยายตัวทางการศึกษา ทเ่ี ปด ระดบั การศึกษาถึงขั้น ปริญญาโทและปริญญาเอกในประเทศไทย ทําใหมีการเรียนการสอนระเบียบวิธีวิจัย ตลอดจนการ กําหนดใหทําวิทยานิพนธในระดับบัณฑิตศึกษา จึงมีผูรูวิธีการทําวิจัยเพิ่มข้ึน ท่ีสําคัญคือการขอกําหนด ตําแหนงทางวิชาการ หรือ การเลื่อนระดับของผูอยูในสายวิชาชีพทางการศึกษา มีขอกําหนดใหสงผลงาน วิชาการและงานวิจัย เปนสวนหน่ึงของการพิจารณา ผูที่อยูในแวดวงการศึกษาจึงตองหันมาสนใจเร่ืองของ การวิจัยเพิม่ ขึน้ ประกอบกับการทก่ี ฎหมายไดก าํ หนดใหมีการสงเสรมิ การวจิ ยั ในมาตรา ๒๔ ดงั นี้ มาตรา ๒๔ การจดั กระบวนการเรยี นรู ….(๕) สง เสริมสนบั สนนุ ใหผสู อนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ ม ส่ือการเรียน และอาํ นวยความสะดวกเพ่ือใหผเู รยี นเกิดการเรียนรู และ มคี วามรอบรู รวมทั้งความสามารถใชก ารวจิ ัย เปน สวนหนงึ่ ของ กระบวนการเรียนรู ทัง้ นผ้ี สู อนและผูเรียนอาจเรียนรไู ปพรอมกนั จากส่อื การเรียนการสอน และแหลงวิทยาการตา งๆ ดว ยปจ จยั ดงั กลา วจึงทําใหครอู าจารยตอ งเปลีย่ นบทบาทจากผสู อนมาเปนผวู จิ ัย เพือ่ มสี ว นรวมในการพฒั นาการสอน การเรยี นรูของผูเ รียน และการพฒั นาวิชาชพี ครเู พมิ่ ขนึ้ 1

ความหมายของการวิจยั ในช้ันเรยี น การวจิ ัยทางการศึกษา (Educational Research) ในความหมายกวางหมายถงึ การเสาะแสวงหา ความรโู ดยใชัวิธีการทางวทิ ยาศาสตร ใชก ระบวนการวจิ ยั เชิงปริมาณ หรอื เชงิ คุณภาพ การออกแบบการ วิจัยเชิงทดลอง ก่ึงทดลอง หรอื การวจิ ัยแบบผสมผสาน การวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา (Action Research in Education )หมายถึงการคนควาหา คําตอบที่เชื่อมโยงทฤษฎีทางการศึกษาสูการปฏิบัติจริงในสถานศึกษา โดยการคิดสะทอน (Reflective Thinking) การสอนของครู มีลักษณะสําคัญคือ เปนปรับปรุงการปฏิบัติงานการศึกษา เปนการเพ่ิมพลัง ความสามารถของครู และเปน ความกา วหนา ในวชิ าชีพทางการศกึ ษา การวจิ ยั ในชน้ั เรียน (Classroom Action Research) หมายถงึ การสืบสอบเชงิ ธรรมชาติ ( Natural Inquiry) จากปรากฎการณท่ีเกิดขึ้นในการเรียนการสอน การเรียนรู หรือ พฤติกรรมผูเรียน โดยทีค่ รเู ปน ผูวจิ ยั ในสิ่งท่ีครปู ฏิบตั อิ ยู มผี ูเรยี น ผูบรหิ ารหรือ ครใู นโรงเรียนมีสว นรว มในการวจิ ยั ดวย Patricia Cross ( อางถึงใน Bruce Kochis, nd. www.evergreen.edu ) ผูซ่ึงบุกเบกิ การวจิ ยั ใน ช้ันเรียนในประเทศสหรัฐอเมริกา ไดเนนย้ําวา “การวิจัยในช้ันเรียน แตกตางจากการวิจัยทางการศึกษา แบบด้งั เดิม ในเร่ืองจดุ มงุ หมายของการวิจัย และการออกแบบการวิจยั ” โดยท่ีการวิจัยแบบด้ังเดิมสวน ใหญน ําไปสกู ารสรปุ ในภาพกวาง เนือ่ งจากตัวแปรบางตัวไดถูกสกัดออกไป ผลการวิจัยจึงไมสามารถนําไป ปฏิบตั จิ ริงในช้นั เรยี นได การวิจัยในชั้นเรียนจึงเปนการสืบสอบเชิงธรรมชาติที่ตองใชความคิดวิเคราะหท่ีละเอียดถ่ีถวน ขึ้นอยูกับเน้ือหาสาระของวิชา การมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน มีจุดเนนที่หลากหลายเชื่อมโยงกัน และเปน รปู ธรรม ลกั ษณะสาํ คญั ของการวิจัยในช้ันเรียน ลักษณะของการวิจยั ในช้ันเรียนมจี ุดเดน ทแี่ ตกตา งจากการวจิ ยั อนื่ ๆ ดังนี้ ๑. ครูเปนผวู ิจยั เอง เพ่ือเพ่ิมพนู ความรใู หแกว งการวิชาชีพครู ๒. ผลการวจิ ัยสามารถแกปญ หาผเู รียนไดทนั เวลา และตรงจุด ๓. การวจิ ัยชว ยเชอ่ื มชอ งวางระหวา งทฤษฏแี ละการปฏบิ ตั ิ ๔. การเพม่ิ ศักยภาพการคิดสะทอ น(Reflective Thinking) ของครตู อปญ หาท่ีเกิดในหอ งเรยี น ๕. การเพ่ิมพลงั ความเปน ครใู นวงการการศกึ ษา ๖. การเปด โอกาสใหครกู า วหนา ทางวชิ าการ ๗. การพฒั นา และทดสอบการแกป ญหาในช้ันเรียน ๘. การเปด โอกาสใหผเู รยี นแสดงความคดิ เรอื่ งการเรียนการสอน และทางแกป ญ หา ๙. การนาํ เสนอขอ คนพบและการรบั ฟง ขอ เสนอแนะจากกลุมครู ๑๐. การวิจยั และพัฒนาเปนวงจร (Cycle) เพือ่ ทาํ ใหขอคน พบสมบูรณข นึ้ 2

โดยท่ีจุดมุงหมายของการวจิ ยั เปนการพัฒนาการเรียนรขู องผเู รียน ดังน้ันการเขียนรายงานการ วจิ ัยจงึ ข้นึ อยูก บั ผูวจิ ยั วาจะนาํ ผลวจิ ัยไปทําอะไร แตล กั ษณะของการวิจัยตอ งสอดคลองตามที่ไดก ลาวแลว การดาํ เนนิ การวิจัย ผูที่ไมเคยชินกับการวิจัยมักจะมองการวิจัยเปนสิ่งที่ยาก ตองใชเวลาในการศึกษาทฤษฎีท่ี เกี่ยวของ การออกแบบวิจัย การสรางเครื่องมือสําหรับการวิจัย การใชสถิติในการวิเคราะห การอภิปราย ผลและขอเสนอแนะ ดังนั้นเพ่ือใหการวิจัยในชั้นเรียนเปนเร่ืองที่งายขึ้นจึงขอเสนอแนะแนวทางที่เริ่มจาก การฝก วิจยั ไปจนถงึ การวจิ ัยท่มี ลี ําดับขัน้ ตอนยงุ ยากขน้ึ โดยพิจารณาวตั ถปุ ระสงคและผลวจิ ยั ทีจ่ ะนําไปใช การเรม่ิ ตนการวิจยั สําหรับผูที่ไมมีประสบการณการวิจัยในชั้นเรียนมากอนจะเร่ิมการวิจัยไดโดยการยอนนึกถึง ประสบการณ หรือปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียนหรือในสถานศึกษา และกําหนดขอบเขตของการวิจัย หรอื ปรบั ปรุงกอนตามความสนใจทอี่ ยากจะคน ควาหาคาํ ตอบในเรือ่ งน้ัน ๑. กาํ หนดหัวขอ ของการวิจัย หัวขอ การวิจัยในชั้นเรียนเปนเร่ืองของการปรับปรุง พัฒนางานในวงการวิชาชีพครู เชนการพัฒนา หลักสูตรทอ งถน่ิ ที่ครูอยากไดคําตอบวา การจัดหลักสูตรอยางไรจึงสอดคลองกับความตองการของทองถิ่น ควรมีรูปแบบการเรียนการสอนใดที่จูงใจใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเรียน จะมีวิธีการพัฒนา พฤติกรรมผูเรียนใหใฝรูใฝเรียนไดอยางไร มีวิธีการเพิ่มสัมฤทธิผลการเรียนของ ผูเรียนไดอยางไร และ การสรา งบรรยากาศการเรยี นรู แบบใดเพื่อใหเกิดการเรียนรไู ดอยางมีประสิทธิภาพ ขอบเขตหัวขอ ที่สนใจแบงเปน ดา นตา งๆ ดงั นี้ ๑.๑ ดานผูเรียน ขอบเขตทคี่ น ควาวิจยั เกย่ี วกับผูเรียนแยกเปน ดา นยอยๆ อกี ไดค ือ ๑) เรื่องการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนอาจเปนประเด็นที่ผูวิจัยอยากได คําตอบวาทําไมนักเรียนคนนี้หรือกลุมน้ีจึงมีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสูง มีปจจัยอะไรบางที่เสริม ความสามารถในการเรียนของผูเรียนในทางตรงกันขามอาจารยอาจเกิดขอสงสัยวา ทําไมผูเรียนคนน้ีหรือ กลุมน้ีจึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา ตํ่าวิชาเดียวที่อาจารยสอนหรือต่ําทุกวิชา มีปจจัยใดท่ีทําใหผูเรียน มผี ลสัมฤทธิ์ในการเรียนตาํ่ ทําไมผูเรียนจึงไมตั้งใจเรียน ไมยอมทําแบบฝกหัด ไมยอมสงงาน มีปญหาอะไร ผูเรียน ตองการอะไร ทาํ ไมจงึ ไมยอมพดู ในช้ันเรียน หรือไมยอมทํางานกลุม กับเพ่อื น ๒) เรอื่ งพฤติกรรมผูเรียน อาจารยอาจสนใจแกป ญ หาพฤตกิ รรมผเู รียนท่ีชอบ แกลงเพอื่ น เกเรชอบทะเลาะวิวาท ชกตอ ยกบั เพ่ือน พฤตกิ รรมท่เี ปน ปฏปิ ก ษก บั อาจารย การเขา ช้นั เรียนสาย 3

การปฏเิ สธการเรยี น การหนีเรยี น การตดิ เกมส การไมเขา หอ งเรยี นการแอบหนไี ปสูบบหุ รใ่ี นหอ งน้ํา การประพฤตผิ ดิ ระเบยี บของโรงเรยี น การพูดจากา วรา ว การไมช ว ยเหลืองานของโรงเรียน ๑.๒ ดา นวธิ กี ารสอน ประเดน็ ทนี่ า สนใจเก่ยี วกบั การสอน อาจารยอ าจจะสนใจวา การสอน แบบใดทผี่ ูเรยี นพึงพอใจ การสอนที่เนน ผเู รยี นเปน สําคัญทําใหผูเรยี นพฒั นาดานใดบา ง ครูสวนใหญใ ช วธิ ีการสอนแบบใด การสอนแบบใดทผี่ ูเ รยี นอยากเรยี นและเรยี นไดผ ลดที ส่ี ดุ การสอนทีใ่ หแ บบฝก เปน รายบคุ คลกบั แบบฝก เปน กลมุ จะทาํ ใหผ ูเรียน เรยี นรแู ตกตา งกนั หรอื ไมก ารใชส อ่ื แบบใดจะทาํ ใหผเู รยี น เขา ใจบทเรียนไดด ียิ่งขึน้ ทาํ อยา งไรผเู รยี นจะมีความสขุ ในการเรียน การเปรยี บเทยี บการสอนแบบการให อิสระในการเลอื กหวั ขอ การเรยี นตามลาํ ดบั กอนหลังตามความสนใจของผูเรียนกับการสอนปกติ หรือผล การสอนแบบตา งๆ ทค่ี รทู ดลองใช ๑.๓ ดานผูสอน อาจารยอาจสนใจวาผูเรียนตองการการสอนท่ีมีคุณลักษณะอยางไร ผูเรียน ตองการใหผูสอนปฏิบัติตอผูเรียนอยางไร พฤติกรรมแบบใดของอาจารยที่สงเสริมใหผูเรียนเรียนรูได อยางดีที่สุด อาจารยผูสอนดีเดนตองมีพฤติกรรมอยางไร ผูเรียนชอบใหผูสอนปฏิบัติตอผูเรียนอยางไร ผเู รียนตอ งการใหผ สู อนดแู ลอยางไรนอกช้นั เรียน ๑.๔ ดานแหลงเรียนรู วัสดุอุปกรณ และการจัดการตางๆ สําหรับดานนี้ อาจารยควรมีคําถาม ปญหา หรือขอทอ่ี าจารยอ ยากทราบวา แหลง เรยี นรูประเภทใด กระตุนความสนใจของผูเรียน การใชวัสดุ อุปกรณประกอบการสอนแบบใด จึงทําใหผูเรียนสามารถพัฒนาการเรียนรูไดอยางดี การจัดกิจกรรม หรือโครงการมีผลตอสัมฤทธ์ิผลทางการเรียนของผูเรียนหรือไม การจัดตารางเรียนชวงเชาและบายมีผล ตอพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือไม การศึกษายังแหลงเรียนรูมีปญหาอุปสรรค และไดผลดี ตอการเรียนอยางไร เมื่ออาจารยสํารวจความสนใจของตนเองไดแลววาอยูในขอบเขตใด ก็ลองพิจารณา ลึกลงไปแตละดานวามีขอมูลมีความรู และมีความสนใจจริงหรือไม เลือกเรื่องท่ีสนใจ อยากไดคําตอบ หรือแนวทางแกไ ขปญ หาอยา งแทจ รงิ อาจารยต องแนใจ ๒ ประการ คือ ๑. หาเหตผุ ลท่จี ะทํา คือ เปนปญหาทีส่ ําคญั จําเปน ตอ งไดคาํ ตอบ มีเวลาท่จี ะทํา ผลจะเปน ประโยชนต อลกู ศิษย และวงการวิชาชีพครู ๒. ความชดั เจนของหวั ขอ อาจารยต องพจิ ารณาวา หวั ขอ กวา งไป หรอื แคบไป พอที่จะศึกษาได ในกําหนดเวลาของทาน ๒. การฝก สงั เกตและบนั ทึก ผเู ริ่มวิจยั ตอ งฝกฝนการสังเกต และการจดบนั ทึกโดยเร่มิ จากเหตุการณป ระจาํ วันในชั้นเรียน ผูวจิ ัยฝกการจดงายๆทุกวนั หลักจากเลิกการสอน ตัวอยา ง วันนี้สังเกตเห็นนายพันพร น่ังหลับในชั้นเรียน ครูไดเดินไปปลุก เพื่อนๆ ในช้ันเรียน หวั เราะชอบใจ ครไู มไดดนุ ักเรยี นท่หี วั เราะ และไมไดดพุ นั พรทีห่ ลบั อยู 4

การสะทอนความคิดของครูในวันน้ี ครูนาจะใหพันพรมาพบตอนเลิกเรียนแลว เพื่อคุยกันถึง สาเหตุการหลับในช้ันเรียน อีกประการหน่ึง ครูนาจะหาหนังสือมาอานท่ีเก่ียวกับเร่ืองเด็กหลับใน หองเรยี น หรอื คุยกบั อาจารยท านใดดี ตอ งไปถามเพื่อนอาจารย ทําไมเมื่อครูเดนิ ไปปลกุ พันพร เพ่อื นๆ ในช้ันเรียนหัวเราะ ครูนาจะดุนักเรียนท่ีหัวเราะหรือเปลา วาเปนมารยาททไ่ี มด ี แตค รูไมไ ดส อนผูเ รยี นเม่ือสถานการณน้นั เกิดขนึ้ ครูควรฝกการสังเกต และจดบันทึกส่ิงท่ีสังเกตไดทุกวัน เพ่ือใหเคยชินกับการมองสถานการณ หรือผูเรียนอยางวิเคราะหทุกครั้งท่ีจดเหตุการณ ตองพยายามคิดสะทอน เพ่ือหาเหตุผล หรือวิธีการ ตลอดจนทฤษฏีทางการศึกษา ๓. วางแผนการทาํ วจิ ยั หลักจากการฝกสังเกต จดบันทึกขอมูลไดระยะหนึ่งผูวิจัยจะคอยๆ เคยชินกับการวิเคราะห และ การเขียนจนแนใจวาอาจารยสนใจจริงในเรื่องท่ีอาจารยมักจะสังเกตและจดบันทึกเร่ืองไดมากวาเร่ืองอื่น อาจารยคงคิดวา สิง่ ท่อี าจารยจ ะทํานั้นเปน แนวคดิ ใหมท ต่ี อบคาํ ถามของอาจารยห รือเปลา และจะพัฒนาไป อยา งไร การศึกษาของอาจารยจ ะเปนที่จดุ ใด มขี อบเขตเพียงใด และใชเวลาในการศึกษาเทาใด ตัวอยางแผนการวิจัย การวิจยั ในช้ันเรียนอยา งงา ยๆ เร่ิมตน ดงั น้ี ๑. เดือนแรก ซึ่งอาจจะเริ่มเดือนพฤษภาคม ในภาคเรียนท่ี ๑ หรือเดือนพฤศจิกายน ในภาค เรียนท่ี ๒ เริ่มสํารวจขอมูลท่ัวไปที่เกี่ยวของกับนักเรียน ทะเบียน ระเบียนสะสม ลักษณะของผูเรียน คะแนนเฉลยี่ ท่ีผานมา ตารางเรยี น หองเรยี น ปายประกาศ สงิ่ แวดลอ มรอบหอ งเรยี น ลกั ษณะการเรยี น การสอนของอาจารย พฤติกรรมของผูเรียน อาจารยใชการสํารวจน้ีเปนการกําหนดความสนใจของ อาจารย และยนื ยันความคิดของอาจารย ๒. เดือนท่ี ๒ หลังจากสํารวจสภาพหรือปญหาในชั้นเรียนของอาจารยแลว ใหจับประเด็นท่ี อาจารยคิดวาสําคัญที่สุดเขียนอธิบายในเรื่องนั้นวาเปนปญหาอยางไร นาสนใจเพียงใด มีประโยชนใน การวิจัยเพยี งใด มีขอมูลเพียงพอหรือไมจ ะใชเ วลาศกึ ษาในเรื่องนน้ั มากนอยเพียงใด ๓. เดือนท่ี ๓ ต้ังคําถามที่ตองการอยากรูมากท่ีสุด เพื่อใหแนใจวา อยากศึกษาจริงๆ จะมีขอมูล อยูทใ่ี ดบาง นักเรียนเปน ผูใหขอมูลและมสี ว นรวมในการศึกษาครง้ั นีอ้ ยางไร จะทําอะไรกับขอมลู ท่ีได ๔. เดือนท่ี ๔ พิจารณาวาเมื่อศึกษาเบ้ืองตนเรียนรูอะไรบาง ทบทวนประเด็นที่สังเกตไวใน ๓ เดือนทีผ่ านมา จะศกึ ษาทฤษฏที างการศกึ ษาเพิ่มเตมิ เพียงใด จะปรึกษาใคร แนใ จวา ทําเรือ่ งนน้ั จรงิ ๕. เดือนท่ี ๕ กําหนดแผนการทาํ วิจยั ใหช ดั เจน เชน จะตองทําแบบเรียนใหมหรือไม ใชเวลาทํา นานเทาใด จะเริ่มทดลองเมื่อใด เวลาท่ีทํานั้นเหมาะสมหรือไม เชนการเก็บขอมูลใกลสอบปลายภาค อาจไมสะดวกหรือการทดลองสอนโดยวิธีการใด หากใชเพียงคร้ังเดียวอาจจะสรุปไมได ควรจะใชการ สังเกตดวยตนเองหรือใหใ ครสงั เกต แผนควรกาํ หนดใหชัดเจน ดงั แผนภาพ 5

สาํ รวจปญหา วางแผน ดาํ เนนิ การ กําหนดหัวขอ เขียนขอคนพบ สะทอนความคิด นาํ เสนอ แผนภาพที่ ๑ ลําดับการวิจยั ในชน้ั เรยี น ๖. เดือนท่ี ๖ เลือกชวงเวลาทวี่ ิจัยอยา งเหมาะสมเชน ควรเลือกการสงั เกต หลงั จากเปดภาค การศึกษาไดป ระมาณ ๑ เดอื น ทผี่ ูเรียนตอ งไมมกี ารสอบหรือไมม กี ิจกรรมเสริมหลกั สตู ร กฬี าสี ที่ทาํ ใหก ารสังเกตหรือการทดลองบทเรียนในชนั้ เรียนไมส ามารถทาํ ได ๗. เดือนที่ ๗ เขียนขอ คน พบทไี่ ด และเขียนสะทอนความคดิ ทไ่ี ดจากขอคน พบการเขียนให ขนึ้ อยูกบั วัตถปุ ระสงควา จะนาํ ขอเขยี นไปทาํ อะไร กรณที ่นี ําขอ เขียนนาํ เสนอในวงวิชาชพี ครูอาจนาํ เสนอ ในรปู ของบทความที่มหี ัวขอ มวี ตั ถุประสงควธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ มูล ขอ คนพบ ความคดิ สะทอ นจากขอ คน พบ และขอ เสนอแนะ กรณีทีจ่ ะนาํ สง เปนผลงานเพอื่ ขอเลอ่ื นระดับ วธิ กี ารเขยี นจะตองเปน ไปตามขอกําหนดของ หนว ยงานซง่ึ สว นใหญ ใชรูปแบบของการวจิ ยั ท่ัวไป หมายเหตุ ตัวอยางระยะเวลาอาจจะเลอ่ื นไดเ หลอื เพียง ๓ เดอื น ตง้ั แตสาํ รวจปญ หา จนถึงการ นําเสนอท้งั นีข้ นึ้ อยกู ับหวั ขอ และการออกแบบการวิจยั ของผนู นั้ ๔. การดําเนินการวิจัย การดําเนินการวิจัย ผูวิจัย จะตองพิจารณาวาจะเก็บขอมูลประเภทใด จึงตอบคําถามการวิจัยท่ี กาํ หนดไวไดแ หลง ขอ มูลมาจากไหน จะไดกรอบคําถามอยางไรจึงชว ยใหคดิ วิเคราะหไดถกู ตอง การเก็บขอมูลไดแลว ทานเรียนรูอะไรใหมจากขอมูลที่ได ผลจากการเรียนรูใหประโยชนตอ ผูเ รียนของทา นหรอื สาํ หรับวงการวิชาชพี ครอู ยางไร ทา นมหี ลกั ทางการศกึ ษาในการวเิ คราะหข อ มลู ทา นวิจยั ไดห รือไม ส่งิ ทา นพบเปนการปด ชอ งวา ง ระหวางทฤษฏีและการปฏบิ ตั ิหรือเปลา 6

๕. การเขียนขอคน พบ บางทีก่ ารวิจยั ที่ดเู หมอื นยากเม่ือดาํ เนนิ ไปแลวก็ดไู มย าก กลบั เปนผลจากการวจิ ัยทผี่ ูวจิ ัยไมทราบ วาจะเรม่ิ ตน อยางไร และจะเขยี นอยา งไร ดงั ทไ่ี ดก ลา วแลว หากเปนการเพ่มิ พนู ขอคดิ เหน็ ความรทู ่ปี ระมวลได จากปฏบิ ตั กิ ารของอาจารย กอ็ าจเขียนในรปู ของการอธบิ ายปรากฏการณตามแผนการวจิ ัยของอาจารย ๖. การสะทอนความคดิ ลกั ษณะเดน ของการวิจยั ในชัน้ เรยี น คอื การสะทอ นความคดิ ท่ีไดจ ากขอคนพบ ความคดิ ทไี่ ดอ าจ เปนการนาํ เสนอหลักการใหมท างการศกึ ษา ดังนน้ั ทานจะตองฝกฝนการสะทอนความคิดใหช ดั เจนใน ผลงานของทา น ๗. การขยายผลการวจิ นั สชู มุ ชนนกั ปฏบิ ัติ การวิจัยในชั้นเรียนจะไมค รบถวนหากไมม กี ารนําเสนอขอคนพบในวงการวิชาชีพครู แตละหมวด สาระการเรยี นรู ดงั นนั้ โรงเรยี นหรือกลมุ โรงเรยี นจะตอ งจดั เวทใี หอาจารยไดเสนอผลการวิจัย และชว ยให ขอ มลู ยอ นกลับเพือ่ ใหอาจารยไ ดพัฒนาขอ คนพบใหดขี นึ้ ๘. การศกึ ษากรณตี ัวอยา ง การวิจัยในชน้ั เรยี นของอาจารยโ ดยวิธกี ารศึกษากรณีตัวอยา งไดม าจากปรากฏการณท ่ี เกดิ ข้นึ ในชน้ั เรยี นซึง่ การเกบ็ เรือ่ งราวเปนลกั ษณะ “เรอื่ งเลาของครู ทมี่ ีการทาํ แบบฟอรม ของ กระบวนการธรรมชาติ โดยวเิ คราะหแ ละเขียน” นักการศกึ ษาช่ือวา (Compoy, Renee., 2005:5) เรอ่ื ง เลา ทเี่ กดิ ขึน้ ในช้นั เรียนเปน เครอ่ื งมอื ท่ีสําคญั ทีค่ รูสามารถใชเปนการเรียนรูเกี่ยวกบั การสอนของครูและ นักเรียนท่ีครสู อนดังกรณตี ัวอยาง การตดั สินใจของครู ดดั แปลงจาก หนา ๑-๒ (Compoy, Renee., 2005:2) เร่อื งท่ี ๑ เด็กหญิงมะลิ เปนเดก็ ทม่ี ีวุฒิภาวะดอ ยกวา เด็กคนอนื่ ๆ ในช้ันเรียนประถมปที่ ๑ แต ก็เรียนไปไดเรื่อยๆ วันหน่ึง คุณแมของเด็กหญิงมะลิมาพบและบอกวาเธอกําลังจะแตงงานใหม คุณพอ ของเด็กหญิงมะลิเสียตั้งแตเธอยังอยูในครรภ คุณแมเล้ียงดูเธอมาจนในปน้ีจึงไดตัดสินใจแตงงาน ดู เหมอื นคุณพอ ใหมเอ็นดเู มตตามะลิอยา งดี หลังจากน้ันมา เด็กหญิงมะลิ มักนั่งเหมอลอยในช้ันเรียน ไมทําการบาน ไมสนใจเรียน หยุกหยิก ไมอยูเปนท่ี ครูถามวาเปนอะไร มะลิบอกวา “นองชายปวย กําลังจะตายหนูเลยทําอะไรไมได” ครูตอง หาคําตอบใหไดว า จริงหรอื ไม ครูกําลงั คดิ วาจะลงโทษหนูมะลดิ วยวธิ กี ารใดดี จะตีรกึ ็ขัดกับทฤษฏีนักการ ศึกษาไทย เชนทานเจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรีกลาวไววา “ไมเรียว มีโทษมากกวามีคุณ” จะใหหนูมะลิ คัด ๑๐๐ จบวา “หนูจะตั้งใจเรียน”ก็อาจจะไมไดผล แตทฤษฏีการเรียนรูบอกวาใหทําซํ้าๆ บอยๆจะเกิด 7

การเรียนรูเอง ครูเลยชักงงๆ กับทฤษฏีตางๆ ท่ีจะนํามาปฏิบัติในชั้นเรียน จะยังไมตัดสินใจที่จะลงโทษ หรือจดั การกบั หนูมะลอิ ยา งไร ตอนเย็นครกู ็เดินไปสง เดก็ หญิงมะลิ พบคุณพอ คนใหมข องหนูมะลิ ก็ถาม วา ลูกชายนองของหนูมะลิปวยเปนอะไรคะ คุณพอทําหนางง “มะลิยังไมมีนองครับ” ฝายหนูมะลิ หวั เราะชอบอกชอบใจ ไมรูสกึ วาตวั เองทําผิดอะไร ครชู กั เดอื ดปดุ ๆ ทาํ ไมตัวแคนี้พูดปดเปนเรื่องเปนราว พรุงน้ีจะตอ งทําโทษใหเ ขด็ หลาบ คณุ ครูกลบั มาน่ังทบทวนทฤษฏพี ฒั นาการเด็กทเ่ี รียนมาวา “เด็กจะมจี ินตนาการสงู บางคร้งั กจ็ ะ คิดฝนในเรื่องตางๆไปเอง” เด็กทตี่ องปรบั ตัวกบั ครอบครัว หรอื กาํ ลงั รสู ึกวา ตนเองไมมคี วามปลอดภัย มั่นคง ตามทฤษฏขี องมาสโลวก ็เปนไปไดท จ่ี ะทาํ ใหเ ดก็ เกิดความไมมน่ั คงในชวี ติ มีผลกระทบตอ จิตใจ และพฤติกรรมของเดก็ ได ครูจงึ ไดเ รียนรูจากมะลิ วาการตัดสนิ ใจลงโทษนักเรียนควรมกี ารคดิ สะทอนกลับใหด กี อ นจะตดั สนิ สรปุ พฤติกรรมของผูเรยี น คณุ คาของการศึกษากรณตี ัวอยา ง อยูท่คี รูไดค ดิ ใครครวญหรอื คิดสะทอ น (Reflective Thinking) ในเหตกุ ารณท เ่ี กิดข้ึนและสามารถหาขอ สรุปในการแกป ญ หาไดอ ยา งถกู ตองและเหมาะสม เรื่องที่ ๒ (ดดั แปลงจาก E-mail) เด็กชายทองดี นักเรียนประถมศึกษาปที่ ๓ ท่ีครูนิตยาเปนครูประจําช้ันเปนเด็กท่ีเหมอลอย ไม สนใจเรียน ชอบรังแกเพ่ือน ครูนิตยาสังเกตพฤติกรรมของเด็กชายทองดี ท่ีเพื่อนๆ มักจะมาฟองเธอ บอยๆ วา ชอบแกลงผลักเพอ่ื น แยงของเลน และแหยเพื่อนบอยๆ เธอเขียน F สีแดงตัวโตบนกระดาษสอบกลางภาคของเด็กชายทองดี นึกสมน้ําหนาท่ีไมต้ังใจ เรียนแลว ยงั เกเรอีก แตธ รรมชาติของการเปน ครู เธออยากรูวา เด็กคนนี้มีพฤติกรรมอยางนี้มาต้ังแตเมื่อใด และครูประจําชั้น ป.๑ ป.๒ ไดวิจารณหรือแกปญหาอะไรมาบาง เธอจึงกลับไปดูทะเบียนสมุดประจําตัว ของนักเรียนพบวา ป.1 ครูประจําชั้นเขียนไววา เด็กชายทองดี เรียบรอยตั้งใจเรียนและผลการเรียนอยูใน ระดับดีมาก ครูประจําช้ัน ป.๒ เขียนไววา เด็กชายทองดีเรียบรอยตั้งใจเรียน ราเริง อัธยาศัยดี เออ้ื เฟอ เผ่ือแผ ตอนภาคปลายเขยี นไววา คุณแมของทองดีปว ยเปนมะเรง็ และเสยี ชีวิตลง ครูนิตยารูสึกตกใจที่ไดขอมูลเชนนั้น จึงเปล่ียนพฤติกรรมใหมโดยดูแลเอาใจใส พูดจาให กาํ ลังใจ เดก็ ชายทองดมี ากขน้ึ ผลคอื เด็กชายทองดี ตัง้ ใจเรียน ผลการเรียนดขี น้ึ เมื่อจบชั้นประถมศึกษา ไป กส็ ามารถไปเขาโรงเรียนมัธยมศึกษาท่ีมีชื่อเสียงตอมาอีกไมนาน เด็กชายทองดี ก็สงจดหมายมาขอบ คุณครูวาครูเปนครูที่ดีท่ีสุดท่ีเขาพบมา บัดน้ีเขาสําเร็จการศึกษาเปนนายแพทย ครูนิตยาดีใจมาก และ รสู ึกขอบคุณเดก็ ชายทองดที ท่ี าํ ใหครูเรียนรทู จ่ี ะเปน ครทู ่ดี ไี ดสมบรู ณข ึน้ ๙. การแกไ ขปญหาในช้ันเรียน ปญหาท่ีเกิดขึ้นในช้ันเรียนมีความหลากหลายแตกตางกัน อาจารยผูสอนอาจจะคิดหาวิธีการ ตามที่ครเู หน็ วา เหมาะสมกบั วัยของผูเรยี น ธรรมชาตขิ องวิชาทสี่ อน และปญ หาทเี่ กดิ ขึ้น 8

ตัวอยา งการเก็บขอมูลและการแกไ ขพฤตกิ รรมการเขา หอ งเรียนชา อาจารยผ ูสอนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สังเกตวามีนักเรียนเกินกวา ๑๐ คน มักจะ เขาหอ งเรยี นชาเสมอ ตัง้ แตเ ขาหองชา ๕ นาที่ ไปจนเกอื บ ๒๐ นาที ในคาบการสอน ๕๐ นาที อาจารยเ หน็ วา การเขาหองเรยี นชา เปน ปญ หาตอ ผูเรียนทีจ่ ะไมไ ดรับประโยชนในการเรยี น แลว ยงั เปน ปญ หาตอสว นรวม ที่รบกวนสมาธขิ องผเู รยี น และทําใหผ สู อนตองชะงักไปดวย จึงคดิ หาวธิ ีแกไ ข ปญหาดังกลาวโดยท่ี เมอื่ อาจารยเ ขา ชั้นเรียน อาจารยไ ดกะเวลาการเปล่ียนชน้ั เรยี นของนกั เรยี น ๕ นาที แลว จึงเริม่ ดว ยการแจกใบงานใหเ ฉพาะนกั เรียนทม่ี า คนละ ๑ แผน อาจารยบอกใหน ักเรยี นเขียน ศพั ท ๕ คํา ใหนกั เรยี นทม่ี าเวลาในช้ันเรียน เขียนตามคาํ บอกโดยอาจารยบอกนกั เรยี นวาใหเขยี นไป ตามทไี่ ดย นิ และไมหกั คะแนนหากเขียนศัพทผดิ วตั ถุประสงคเ พยี งเพื่อใหผ านตา เมอื่ นกั เรยี นเขามาชา ไมท นั เขยี นคําท่ี ๑ อาจารยจะทําเครือ่ งหมายผดิ ไวตามชอ งทท่ี าํ ไวในใบงาน สวนคนท่เี ขาไมทันทัง้ ๕ คาํ อาจารยจะขดี ผิดไวใ นใบทแี่ จกใหน ักเรียนทีม่ าชา ดงั ตวั อยา งแบบฟอรม ที่สําหรบั บนั ทกึ การมาชาของ ผเู รียนตามกจิ กรรมท่ีอาจารยด าํ เนนิ ในใบงาน ๕ นาทแี รก ตวั อยาง และเกบ็ สะสมใบบันทึก ผูเ รยี นก็จะปรับตวั เองใหมาเรว็ ข้นึ ใบงาน.... เพอ่ื ใหท ํางานในใบงานได วนั ท.ี่ ................ ชอ่ื .......................................................... ๑........................... .......................... ๒......................... ........................... ๓......................... .......................... ๔ ........................ ........................... ๕ ........................ .......................... ใบบนั ทกึ การเขาชัน้ เรยี นและคําท่ีเขียนถูก จาํ นวนคําท่เี ขยี น ชอื่ ................................................................................... คร้งั ที่ คาํ คาํ ทถ่ี กู ๕๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 9

ขอ สงั เกต ๑. อาจารยไมด วุ า หรอื ตาํ หนิทนี่ กั เรยี นเขาชั้นชา อาจารยจะสอนตามปกติทุกอยาง ๒. อาจารยเ กบ็ ระเบียนการเขา ชน้ั เรียนเปนรายบคุ คลเพือ่ ดพู ฤตกิ รรมทที่ ําซาํ้ ๆ ไม เปล่ียนแปลงหรือมีการเปลยี่ นแปลงในทางท่ีดีขึน้ ๓. อาจารยพ บปะพดู คยุ เปนรายบุคคลหากเหน็ วามพี ฤตกิ รรมเขาหอ งเรียนชา เปน ประจาํ ๔. กจิ กรรมที่อาจารยท าํ ในใบงานจะเปลย่ี นไปตามความเหมาะสมของบทเรยี น อาจ เปน การใหค ัดลายมอื ท่ีสวยงาม การใหคาํ จาํ กดั ความของศพั ท หรือการอธบิ าย อื่นๆ ๕. จากการใชก ิจกรรมนอ้ี าจารยพ บวาแกไ ขพฤตกิ รรมการเขา หองเรยี นชาไดโ ดยไมต อ ง ดวุ า หรือบอกใหแ กไ ขพฤตกิ รรม และสง่ิ ที่เปน ผลดใี นวิธีการนคี้ ือการทาํ ใหนกั เรยี น สนใจเร่อื งท่ีจะเรียนเพ่มิ ขึน้ มีคาํ ศพั ทท ่ผี า นสายตาผูเรียนทีอ่ าจทาํ ใหน ักเรียนสะกด คาํ ถูก และเขา ใจความหมายของเรอื่ งเรยี นมากขนึ้ จากตัวอยา งดงั กลา วก็สามารถนํามาเปน การวจิ ยั ในชน้ั เรยี นไดวา อาจารยแ กป ญหาผเู รยี นอยางไร ผูเรยี นปรบั พฤตกิ รรมหรือไม มีความคดิ สะทอนในเรอื่ งดงั กลาวอยางไร สรุป การวิจัยในช้ันเรียนเปนการสืบสอบเชิงธรรมชาติ (Natural Inquiry) ซ่ึงพึ่งพิงเนื้อหาสาระของ รายวิชาทีจ่ ะสอน โดยอาจารยเปน ผูว ิจยั งานที่อาจารยป ฏบิ ตั อิ ยใู นชั้นเรยี น เพื่อพฒั นาการสอน การเรียนรู และผูเรียนอันนําไปสูความกาวหนาในวิชาชีพครู ผูวิจัยจะเลือกวิธีการรายงานตามรูปแบบที่สถาบันที่ เก่ียวของกําหนดหรือเลือกการเขียนขอคนพบตามสภาพธรรมชาติข้ึนอยูกับวัตถุประสงคของการวิจัย และ ข้นึ อยกู ับเปาหมายของการวิจยั วาทําใหใ ครอา น แตการวิจัยในช้ันเรียนตองมีลักษณะสําคัญคือ ผลการวิจัย เปนการเพิ่มความรูและประสิทธิภาพการเรียนการสอน การพัฒนาผูเรียน ความคิดสะทอนในการวิจัย ตลอดจนการแลกเปลย่ี นเรยี นรูใ นวงการครู 10

บรรณานกุ รม พชิ ิต ฤทธิ์จรญู . (๒๕๔๔). การวิจยั เพอื่ พัฒนาการเรยี นรู: ปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัยในชั้นเรยี น. กรงุ เทพฯ: ศนู ยหนังสือจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั . ไพฑรู ย สนิ ลารัตน, บรรณาธิการ. ( ๒๕๔๖). การเรียนการสอนทม่ี กี ารวจิ ัยเปนฐาน. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั . ลัดดา ภูเกยี รต,ิ สมศรี เพชรยม้ิ , บรรณาธกิ าร. (๒๕๔๖). ครแู ละนกั เรยี นสาธติ จุฬาเรยี นรผู าน กระบวนการวิจัย. กรงุ เทพฯ: เพอรฟ อรมอารต . วัลลภา เทพหสั ดิน ณ อยุธยา. (๒๕๔๔). การพัฒนาการเรยี นการสอนทางการอดุ มศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย. สรชัย พศิ าลบตุ ร. ( ๒๕๔๗). การวิจัยในช้นั เรียน. กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน. สมั มา รธนติ ย. ( ๒๕๔๖). การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู: จากประสบการณส ปู ฏบิ ัตกิ าร. กรงุ เทพฯ: ขา วฟาง. Campoy,Renee. (2005). Learning and Teaching Research-based Methods. Boston: Pearson Education. Merter, Craig. (2006). Action Research: Teachers as Researchers in the Classroom. London: Sage. Kauchak,Donald P. and Eggen, Paul D. (2003). Case Study Analysis in the Classroom. London: Sage. http://trochim.humasn.cornell.edu/kb/dedind.html http://www.madison.k12.wi.us/sod/car/carstartingpoints.html http://www.madison.k12.wi.us/sod/car/carhomepage.html 11

12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook