Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานสร้างสื่อ (1).

ใบงานสร้างสื่อ (1).

Published by FahFah channal, 2021-02-11 09:00:30

Description: ใบงานสร้างสื่อ (1).

Search

Read the Text Version

ใบความร้ทู ี่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกีย่ วกับการตัดตอ่ วิดีโอ ในปจั จบุ นั งานวดิ ีโอได้เข้ามามบี ทบาทในชวี ติ ของเรามากข้นึ ดว้ ยความสามารถของงานทางด้าน มัลติมเี ดยี ท่ีทาใหก้ ารนาเสนองานของเรานา่ สนใจแลว้ ราคากล้องวดิ โี อกร็ าคาถูกลงมามากและหาซื้อไดไ้ ม่ ยาก พรอ้ มกับโปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการตัดต่อวดิ ีโอกม็ ใี หเ้ ลอื กใช้มากมายและกไ็ มย่ ากจนเกนิ ไปทีจ่ ะเรยี นรู้ สาหรับส่อื นจ้ี ะขอนาเสนอการตดั ต่อด้วยโปรแกรม Ulead Video Studio เพือ่ เป็นพ้ืนฐานในการตัดต่อ เพื่อ นาไปใช้ประโยชน์ดงั น้ี ประโยชน์ของงานวดิ โี อ 1. แนะนาองคก์ รและหนว่ ยงาน การสร้างงานวิดีโอเพอ่ื แนะนาสถานทต่ี ่างๆ หรอื ในการนาเสนอ ขอ้ มลู ภายในหนว่ ยงานและองค์กร เพ่อื สร้างความนา่ สนใจให้กบั ผู้ชมผฟู้ งั และยังกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจใน ตวั งานไดง้ า่ ยขนึ้ 2. บันทกึ ภาพความทรงจา และเหตุการณส์ าคญั ตา่ งๆ เช่น การเดนิ ทางไปท่องเทีย่ วในสถานที่ตา่ งๆ zภาพนิ่ง 3. การทาสอ่ื การเรยี นการสอน คณุ ครสู ามารถสร้างส่อื การสอนในรปู แบบวดิ ีโอไว้นาเสนอได้ หลายรูปแบบ เช่น เป็นวิดโี อโดยตรง เป็นภาพวดิ ีโอประกอบในโปรแกรม POWER POINT เป็นภาพวิดโี อ ประกอบใน Homepage และอนื่ ๆ 4. การนาเสนอรายงาน วทิ ยานพิ นธ์ และงานวจิ ยั ตา่ งๆ ซง่ึ ปรบั เปลี่ยนการนาเสนองานจากรูป แบบเดมิ ท่เี ปน็ เอกสารภาพประกอบ แผ่นชารจ์ แผน่ ใส ใหท้ นั สมยั เหมาะสมกบั สถานการณป์ จั จบุ นั 5. วิดีโอสาหรบั บคุ คลพเิ ศษ บุคคลสาคัญในโอกาสพิเศษ อาจหมายถึง วิทยากรท่เี ชญิ มาบรรยาย ผู้ จะเกษียณอายจุ ากการทางาน เจา้ ของวันเกดิ ค่บู ่าวสาว โอกาสของบคุ คลทไี่ ดร้ ับรางวลั ต่างๆ ทก่ี ล่าวมานคี้ อื ส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้เรามองเห็นความสาคญั ของงานวิดโี อมากขึ้น และได้ร้วู า่ การทา วิดีโอไมไ่ ด้ลงทนุ มากและยงุ่ ยากอย่างท่ีคดิ จากประสบการณ์ ในการทางานวิดีโอ สรปุ ไดว้ ่าวิดีโอทด่ี ี ไมไ่ ด้ ข้นึ อยู่กับจานวนเงนิ ลงทุนทใ่ี ช้ แตข่ ้ึนอย่กู บั ความประณีต และความคดิ สร้างสรรค์ แนวคิดในการสร้างวดิ โี อ กอ่ นท่ีลงมอื สรา้ งผลงานวิดโี อสักเรือ่ ง จะตอ้ งผ่านกระบวนการคิด วางแผนมาอยา่ งรอบครอบ ไมใ่ ชไ่ ปถ่ายวดิ ีโอแล้วกน็ ามาตัดตอ่ เลย โดยไม่มกี ารคิดใหด้ ีก่อนทจ่ี ะถา่ ยทา เพราะปญั หาท่ีมักเกิดข้นึ เสมอ กค็ ือการทีไ่ ม่ได้ภาพตามทีต่ อ้ งการ เนื้อหาทถ่ี ่ายมาไมส่ อดคลอ้ งกับสง่ิ ท่ีต้องการนาเสนอ ในที่นีข้ อแนะนา แนวคดิ ในการทางานวดิ ีโออย่างมีประสิทธภิ าพ ตรงตามความต้องการ จะไม่ต้องมาเสียเวลาแกไ้ ขภายหลัง โดยมลี าดบั แนวคิดของงานสร้างวิดโี อเบือ้ งตน้ ดงั นี้

1. เขียน Storyboard สิง่ แรกทีเ่ ราควรเรียนรกู้ ่อนสร้างงานวดิ ีโอ กค็ อื การเขียนStoryboard คอื การจนิ ตนาการฉาก ต่างๆ กอ่ นท่ีจะถา่ ยทาจรงิ ในการเขียน Storyboard อาจวธิ งี ่ายๆ ไม่ถงึ ขนาดวาดภาพปรกอบกไ็ ด้ เพียงเขยี น วัตถปุ ระสงคข์ องงานให้ชดั เจนว่าตอ้ งการสือ่ อะไรหรอื งานประเภทไหน จากนนั้ ดวู ่าเราต้องการภาพ อะไรบ้าง เขียนออกมาเป็นฉาก เรยี งลาดบั 1, 2, 3,.......(ดูรายละเอยี ดการเขียน Storyboard ท้ายใบความรู้ท่ี 1) 2. เตรยี มองคป์ ระกอบตา่ งๆ ทีต่ อ้ งใช้ ในการทางานวดิ โี อ เราจะตอ้ งเตรียมองคป์ ระกอบต่างๆ ให้ครบถ้วน ไมว่ า่ จะเปน็ ไฟล์วดิ ีโอ ไฟล์ ภาพนงิ่ ไฟลเ์ สียง หรอื ไฟลด์ นตรี 3. ตัดตอ่ งานวิดีโอ การตดั ตอ่ คือการนาองค์ประกอบตา่ งๆ ท่เี ตรยี มไวม้ าตดั ต่อเป็นงานวิดโี อ งานวิดีโอจะออกมาดี นา่ สนใจเพยี งใดขน้ึ อยู่กบั การตัดตอ่ เป็นสาคญั ซงึ่ เราจะตอ้ งเรียนรกู้ ารตดั ต่อในบทต่อไปก่อน 4. ใส่เอ็ฟเฟก็ ต/์ ตัดตอ่ ใส่เสยี ง ในขั้นตอนการตดั ตอ่ เราจะตอ้ งตกแต่งงานวิดีโอดว้ ยเทคนิคพเิ ศษต่างๆ ไมว่ า่ จะเปน็ การเลน่ สี การ ใส่ข้อความ หรือเสยี งดนตรี ซง่ึ จะชว่ ยใหง้ านของเรามสี สี ัน และน่าสนใจมากย่ิงข้ึน 5. แปลงวิดโี อ เพือ่ นาไปใชง้ านจรงิ ข้นั ตอนการแปลงวิดีโอเป็นข้ันตอนสุดทา้ ย ในการทางานวดิ โี อทเี่ ราได้ทาเรียบรอ้ ยแลว้ น้ันไปใช้ งาน โปรแกรม Ulead Video Studio สามารถทาได้หลายรปู แบบ เชน่ ทาเป็น VCD, DVD หรอื เป็นไฟล์ WMV สาหรบั นาเสนอทางอนิ เทอรเ์ นต็ อปุ กรณใ์ นการตัดต่อวดิ ีโอ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรเ์ ป็นอุปกรณช์ ้นิ แรกท่จี าเปน็ ตอ้ งมี ปัจจุบนั เทคโนโลยกี ้าวหน้าไปไกล ทาใหเ้ ราสามารถมีเครือ่ ง คอมพิวเตอร์ทมี่ ีประสทิ ธิภาพสูงในราคาประหยัด สาหรบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์สาหรับการตดั ต่อควรมสี เปค็ เครือ่ งขัน้ ตา่ ดังนี้ * ซพี ียู แนะนา Pentium 4 ความเรว็ 1 GHz ข้ึนไป * แรมหรอื หน่วยความจา ขนาด 512 MB ข้ึนไป * ฮารด์ ดสิ ก์ 80 GB ซึ่งปัจจุบันเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ มีความจุ ฮารด์ ดสิ กม์ ากพออยแู่ ลว้ * ระบบปฏบิ ัตกิ าร แนะนาให้ใช้ Windows XP/2000

2. กล้องถ่ายวดิ ีโอ กล้องถ่ายวดิ โี อ มหี ลายประเภท หลายรูปแบบ แต่ในท่ีจะ กลา่ วถงึ การใชง้ านเฉพาะกลอ้ งถา่ ยวิดโี อแบบดิจติ อล หรือ กล้องดิจติ อลแบบ MiniDV 3. Capture Card (การ์ดจบั ภาพวดิ โี อ) เนอื่ งจากเราไมส่ ามารถนาภาพวิดีโอทอ่ี ยู่ ในกลอ้ งวิดีโอมาใช้ กับเคร่ืองคอมพิวเตอรโ์ ดยตรง ดังนัน้ เราจาเปน็ ตอ้ งมีอุปกรณ์ ท่ีเรียกว่าการด์ แคปเจอร์ หรอื การ์ดจบั ภาพวิดโี อ ช่วยเปลยี่ น เสมือนเป็นสือ่ กลางในการสง่ ถ่ายข้อมลู จากกล้องมายงั เครอ่ื ง คอมพวิ เตอรน์ นั้ เอง และแคปเจอร์ หรือการด์ จบั ภาพวดิ ีโอ ก็ มีหลายรปู แบบเชน่ กนั 4. ไดรว์สาหรบั เขียนแผน่ CD หรือ DVD อปุ กรณน์ ้ีจาเปน็ ต้องมหี ากเราตอ้ งการสรา้ งงานให้อยูใ่ น รูปแบบ VCD หรือ DVD ซึ่งในปจั จบุ นั กห็ าซอ้ื ไดไ้ ม่ยาก ราคากไ็ มแ่ พง 5. แผน่ CD สาหรับบนั ทึกข้อมลู แผ่น CD-R (CD-ReWrite หรอื CD Record) ใช้สาหรับ บันทึกข้อมลู ทั่วไป เชน่ ข้อมลู ตา่ งๆ โปรแกรมเพลง รูปภาพ และภาพยนตร์ สามารถเขยี นหรอื บนั ทกึ ขอ้ มลู ไดเ้ พยี งครง้ั เดยี วจนกว่าจะเตม็ แผน่

รูปแบบของแผน่ ดวี ีดี แผน่ CD-RW (CD-Write) แผน่ CD-RW (CD-Write) ใช้สาหรับบนั ทกึ ขอ้ มูล ทั่วไปเช่นเดยี วกบั แผ่น CD-R แต่มีความพิเศษกวา่ ตรงท่ี สามารถทจี่ ะเขยี นหรือบันทกึ ซา้ และลบขอ้ มูลที่เขยี น ไปแล้วได้ ดวี ดี อี ารด์ บั บลิวไดรว์ ดีวดี ดี อี ารด์ บั บลิวไดรว์ (DVD+-RW drive) ก็คลา้ ย กบั ซีดีอาร์ดับบลวิ ไดรวน์ ่นั เอง คือสามารถอ่านและขียน แผ่นดวี ีดแี บบพเิ ศษ คือแผ่น DVD+-R และ แผน่ DVD+-RW ได้ แผ่นดวี ดี ีอาร์ ดวี ดี ีอาร์ (DVD+R : Digital Versatile Disc- Recordable) เปน็ แผน่ ดีวดี ีทผี่ ูใ้ ชส้ ามารถบันทึก หรือ เขยี นขอ้ มูลลงไปไดค้ รงั้ เดยี ว จนกว่าจะเตม็ แผน่ มใี ห้ เลอื กแบบดา้ นเดียว และ 2 ดา้ น ในความจุด้านละ 4.7 GB แผน่ ประเภทน้ยี งั แบ่งออกเป็น 2 มาตรฐาน (จาก 2 คา่ ย) คอื แผ่น DVD-R DVD+R แผ่นดวี ดี อี ารด์ บั บลวิ ดีวีดีอารด์ บั บลวิ (DVD+RW : Digital Versatile Disc-Re-recordable) เป็นแผน่ ดีวดี ที ่ีใช้เขยี น และลบ ข้อมลู ได้หลายครั้งมีความจุ 4.7 GB

รูปแบบไฟล์ภาพ BMP (Bitmap) ไฟล์ภาพประเภทท่เี กบ็ จดุ ของภาพแบบจุดต่อจดุ ตรงๆ เรียกวา่ ไฟล์แบบ บิตแมพ( Bitmap ) ไฟลป์ ระเภท นีจ้ ะมขี นาดใหญ่แต่สามารถเก็บรายละเอยี ดของภาพได้ อย่างสมบูรณ์ แต่เน่ืองจากการเก็บแบบ Bitmap ใชเ้ นอ้ื ท่ี ในการเกบ็ จานวนมาก จึงไดม้ กี ารคิดค้นวิธีการเก็บ ภาพให้มีขนาดเล็กลงโดยยังคงสามารถเก็บภาพได้ เช่นเดิม ข้นึ มาหลายวธิ ีการ เชน่ JPEG และ GIF JPEG ( Joint Graphics Expert Group ) เป็นการเก็บไฟลภ์ าพแบบทีบ่ บี อดั สามารถทาภาพ ใหม้ ีขนาดของไฟลภ์ าพเล็กกวา่ แบบ Bitmap หลายสิบ เท่า แตเ่ หมาะจะใชก้ บั ภาพท่ีถ่ายจากธรรมชาตเิ ท่านน้ั ไมเ่ หมาะกับการเกบ็ ภาพเหมอื นจรงิ เช่น ภาพการต์ นู เป็นตน้ GIF ( Graphics Interchange Format ) เป็นวิธีการเก็บไฟล์ภาพแบบบบี อดั คล้ายกับ JPEG โดยทว่ั ไปแลว้ ไม่สามารถเกบ็ ภาพท่ถี ่ายจากธรรมชาติ ไดม้ ีขนาดเลก็ เท่ากบั แบบ JPEG แต่สามารถเกบ็ ภาพที่ ไม่ใช่ภาพถ่ายจากธรรมชาตเิ ชน่ ภาพการต์ นู ไดเ้ ป็น อยา่ งดี นากจากน้ี GIF ยังสามารถเกบ็ ภาพไวไ้ ดห้ ลายๆ ภาพ ในไฟลเ์ ดียว จึงถูกนาไปใชส้ รา้ งภาพเคลื่อนไหว ง่ายๆ เชน่ ในอนิ เตอร์เนต็ TIFF ( Tagged Image File Format ) คือการเกบ็ ไฟลภ์ าพในลักษณะเดยี วกบั ไฟลแ์ บบ BMP แตใ่ นไฟล์มี Tagged File ซ่งึ เปน็ สญั ลักษณท์ ่ี ช่วยโปรแกรมควบคมุ การแสดงภาพ เชน่ การแสดงหรือไมแ่ สดงภาพบางส่วนได้ ภาพทเ่ี ก็บไว้ในลกั ษณะ ของ TIFF จงึ มีความพิเศษกว่าการเกบ็ แบบอนื่ ทีก่ ล่าวมา นอกจากนีย้ งั มีไฟล์ภาพแบบตา่ งๆ อีกหลายแบบ โดยแต่ละแบบจะมีจดุ เดน่ แตกตา่ งกนั ไป มกั นิยมใช่ในงานกราฟกิ การพมิ พ์

รปู แบบของไฟลว์ ิดีโอ ไฟลว์ ดิ ีโอท่ีนามาใช้งานกบั น้ันมหี ลายรปู แบบ โดยเราจะมาทาความรูจ้ ักกบั ไฟลว์ ดิ ีโอแบบตา่ ง เพอ่ื เป็นแนวทางในการเลอื กใช้ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและตรงตามประเภทของงาน ไฟล์ MPEG MPEG ( Motion Picture Exports Group ) เปน็ มาตรฐานสาหรบั การบีบอัดวิดโี อและเสียงแบบ ดิจติ อล ซึง่ เป็นรูปแบบของวดิ โี อทม่ี คี ุณภาพสงู และนิยมใช้กบั งานทกุ ประเภทโดยไฟล์ MPEGน้ี ก็ยังแยก ประเภทออกไปตามคณุ สมบัติต่าง ๆ อีกดว้ ย ดงั นี้ MPEG -1 ถือกาเนดิ ขึ้นมาในปี 2535 ซึ่งเปน็ รปู แบบของไฟล์ทเ่ี ขา้ รหัสมาด้วยการบบี อดั ใหไ้ ดไ้ ฟลท์ ีม่ ี ขนาดเลก็ เพื่อสาหรบั การสร้างวิดโี อแบบ VCD โดยจะมีการบีบอัดขอ้ มลู สูง มคี า่ บติ เรตอยู่ ท่ี 1.5 Mb/s ซึง่ มคี ณุ ภาพใกลเ้ คียงกบั เทปวดิ ีโอ MPEG -2 ถือกาเนิดขึน้ ในปี 2538 ซง่ึ เป็นรปู แบบของไฟลท์ เ่ี ข้ารหัสมาเพือ่ การสร้างภาพยนตร์ โดยเฉพาะ โดยสามารถสร้างเปน็ SVCD หรอื DVD กไ็ ด้ ซึง่ อตั ราการบีบอัดข้อมลู จะน้อย กว่า MPEG-1 ไฟล์ท่ีไดจ้ ึงมขี นาดใหญ่กวา่ และไดค้ ณุ ภาพสงู กว่าด้วย อีกทง้ั คา่ บติ เรตกไ็ ม่ ตายตัว ทาใหส้ ามารถกาหนดอัตราการบบี อัดข้อมูลได้เอง MPEG -4 เปน็ รปู แบบของไฟลแ์ บบใหม่ทีถ่ ือกาเนิดขน้ึ ในเดอื นตลุ าคม 2541 จากความรว่ มมอื กันของ วิศวกรทว่ั โลกและได้เปน็ มาตรฐานของนานาชาติเมอ่ื ปี 2542 ซึ่งถอื เป็นการปฏิวัตวิ งการ ดิจติ อลวิดีโอ เพราะมรี ปู แบบการบีบอดั ทดี่ กี วา่ MPEG-1 และ MPEG-2 โดยไฟล์ ประเภทนจี้ ะมคี ณุ ภาพของวดิ ีโอสงู สามารถสรา้ งรหัสภาพวิดีโอไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพโดยมี จุดประสงคเ์ พอื่ การใช้งานอยู่ 3 ประเภท คอื ระบบโทรทศั น์แบบดิจิตอล งานด้านแอพพลิเค ชันกราฟิกและมัลติมีเดยี ตา่ งๆ แต่ปัจจบุ ันยังมสี ือ่ ที่รองรบั ไฟล์ประเภทน้อี ยู่น้อย จงึ ไมค่ อ่ ย ไดร้ ับความนยิ มมากนกั ระบบการส่งสัญญาณโทรทศั น์ ในปัจจบุ ันนี้มรี ะบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ทน่ี ิยมใช้ในแถบภมู ภิ าคต่างๆ คอื 1. ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็นระบบโทรทัศน์สีระบบแรกทใี่ ชง้ านใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ตง้ั แตป่ ีค.ศ.1953 ประเทศทีใ่ ช้ระบบนีต้ อ่ ๆ มาไดแ้ ก่ ญี่ปุ่น แคนาดา เปอเตอรโิ ก้ และ เมก็ ซโิ ก เป็นตน้ 2.ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปน็ ระบบโทรทศั นท์ พ่ี ัฒนามาจากระบบ NTSC ทาใหม้ ีการ เพ้ยี นของสนี ้อยลง เรมิ่ ใช้งานมาต้ังแตป่ คี .ศ.1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คอื เยอรมนั ตะวนั ตก องั กฤษ ออสเตรเลยี เบลเย่ียม บราซิล เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวเี ดน สวิตเซอร์แลนด์ และมีหลายประเทศในแถบเอเซยี ท่ีใช้กันคอื สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใชร้ ะบบน้ี

3. ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire(\"memory sequential\") เป็นระบบโทรทัศน์อีกระบบหนง่ึ คิดคน้ ขึ้นโดย Dr.Henry D.France เร่มิ ใช้มาตงั้ แต่ปีค.ศ.1967 นิยมใชก้ นั อย่หู ลายประเทศแถบยโุ รป ตะวนั ออก ไดแ้ ก่ ฝร่ังเศส อัลจเี รีย เยอรมนั ตะวันออก ฮังการี ตนู ีเซยี รมู าเนยี และรัสเซีย เปน็ ตน้ มาตรฐานวดิ ีโอ MPEG-1 MPEG-2 MPEG-4 ความละเอียดสงู สุด 352 x 288 1920 x 1152 720 x 576 มาตรฐานในระบบ PAL 352 x 288 720 x 576 720 x 576 มาตรฐานในระบบ NTSC 352 x 288 640 x 480 640 x 480 ความถี่ของคล่ืนเสียงสูงสุด 48 kHz 96 kHz 96 kHz ชอ่ งสญั ญาณเสียงสงู สุด 288 จานวนเฟรมตอ่ วนิ าทีในระบบ PAL 25 25 25 จานวนเฟรมตอ่ วินาทใี นระบบ NTSC 30 30 30 คุณภาพของวดิ โี อ พอใช้ ดีถงึ ดมี าก ดีมาก ประสทิ ธิภาพของระบบ ตา่ สงู สงู มาก รายละเอยี ดของเทคโนโลยี MPEG ไฟล์ประเภทอื่นๆ เป็นไฟลส์ าหรบั โปรแกรม QuickTime จากบรษิ ทั Apple ซึง่ นยิ มใช้ MOV สาหรับเครือ่ งแมคอินทอช แต่เคร่อื งพซี กี ็สามารถใชไ้ ด้ โดยจะตอ้ งมี ( Quick Time Movie ) โปรแกรม QuickTime เพ่ือใช้เปดิ ไฟล์ โดยไฟล์ประเภทนจี้ ะมี คุณภาพสงู และประกอบดว้ ยรายละเอยี ดต่างๆ มากมาย เปน็ รปู แบบของไฟลป์ ระเภท DVD – Video ทม่ี คี ณุ ภาพสงู ทง้ั ดา้ นภาพ VOB และเสยี ง สามารถเลน่ ไดก้ ับเครือ่ งเลน่ ดวี ดี หี รอื ไดรฟด์ วี ดี จี ากเครอื่ ง คอมพวิ เตอร์ เป็นรปู แบบของไฟลป์ ระเภท Video CD ท่มี ีความละเอยี ดตา่ กวา่ ไฟล์ DAT ประเภทดวี ดี ี โดยไดร้ บั การเขา้ รหสั มาจากเทคโนโลยีของ MPEG- 1 คุณภาพของวดิ โี อก็พอ ๆ กบั เทป VHS สามารถเล่นได้กบั เคร่ืองเล่น วีซีดโี ดยท่ัวไป หรอื เล่นไดจ้ ากคอมพวิ เตอร์ เป็นมาตรฐานไฟล์วดิ โี อทเ่ี รมิ่ มมี าพร้อมกับ Windows 3.11 พัฒนาโดย AVI ไมโครซอฟต์ ซ่ึงมคี วามละเอียดสงู เหมาะกับการใช้งานในการตดั ตอ่ ( Audio – Video Interleave ) วดิ ีโอ แต่ไมน่ ยิ มใช้ในการสง่ สญั ญาณหรอื โอนย้ายไปยงั ปลายทาง อ่ืนๆ เพราะไฟล์มขี นาดใหญ่

WMV เปน็ ไฟล์วิดีโอของไมโครซอฟต์อกี เชน่ กัน ถือกาเนดิ ขน้ึ มาจาก ( Windows Media Video ) เทคโนโลยีของ Microsoft Windows Media ซึง่ สามารถสรา้ งขน้ึ มา ไดจ้ ากโปรแกรม Microsoft Movie Maker โดยไฟล์ประเภทน้กี าลงั ได้รับความนยิ มทางอินเตอร์เน็ต เชน่ การชมวิดโี อแบบ Movie on Demand เพราะด้วยขนาดไฟลท์ ่ีเล็กและมีคณุ ภาพดี ทาใหส้ ามารถ โอนถา่ ยข้อมูลไดร้ วดเร็ว มาตรฐานของวดิ ีโอแบบตา่ ง ๆ มาตรฐานของวิดโี อมีอย่ดู ว้ ยกนั 3 รูปแบบ คือ VCD , SVCD และ DVD ซึ่งคณุ ภาพของวดิ ีโอกม็ ีความแตกต่างกันไปตามแตล่ ะประเภท โดยแต่ละรูปแบบก็มคี ณุ สมบัติดงั น้ี VCD (Video Compact Disc) VCD เปน็ รปู แบบของวิดโี อทีไ่ ดร้ บั ความนิยมกันโดยทว่ั ไปประกอบด้วยภาพและเสยี งแบบ ดิจติ อล ความจุของแผน่ VCD โดยปกตจิ ะอย่ทู ี่ 74/80 นาทหี รอื ประมาณ 650/700 เมกกะไบต์ โดย ได้รับการเขา้ รหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มีความละเอยี ดของภาพอยทู่ ่ี 352 x 288 พกิ เซลใน ระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลในระบบ NTSC คณุ ภาพของวิดีโอใกลเ้ คยี งกับเทป VHS ซงึ่ สามารถเล่นไดก้ บั เคร่อื งเล่นวีซดี ีโดยทัว่ ไปหรอื จากไดรฟ์ซดี รี อมของเครื่องคอมพิวเตอร์ และแผน่ ซีดที ่ใี ช้ เขียน VCD ได้กจ็ ะมอี ยู่ 2 แบบคอื แผ่น CD-R ซ่ึงเป็นชนดิ ทเ่ี ขยี นขอ้ มลู ไดค้ รั้งเดยี ว และแผ่น CD- RW ทส่ี ามารถเขยี นและลบเพอ่ื เขียนข้อมลู ลงไปใหมไ่ ด้ แต่แผ่น CD-RW มกั จะอา่ นไม่ไดจ้ ากจากเครอื่ ง เล่น VCD หลายๆ รนุ่ SVCD ( Super Video Compact Disc ) SVCD เป็นรปู แบบของวดิ โี อทีค่ ลา้ ยกับ VCD แตจ่ ะใหค้ ุณภาพของวิดีโอท้ังในด้านภาพและ เสียงทด่ี กี วา่ โดยเขา้ รหัสมาจากเทคโนโลยขี อง MPEG – 2 จะมคี วามละเอียดของภาพอยู่ที่ 482 x 576 พกิ เซลในระบบ PAL และ 480 x 480 พิกเซลในระบบ NTSC ซ่ึงแผน่ ประเภทนี้ยงั มีเครื่อง เล่น VCD หลาย ๆ รนุ่ ที่อ่านไมไ่ ด้ โดยจาเป็นตอ้ งอ่านจากเครือ่ งเลน่ DVD หรือ VCD บางรุน่ ที่ สนับสนุนหรือเล่นจาก CD – ROM จากเครื่องคอมพวิ เตอร์เท่านัน้ DVD ( Digital Versatile Disc ) DVD เป็นรูปแบบการเก็บขอ้ มูลแบบใหมท่ ี่ให้คณุ ภาพของวิดโี อสงู ทง้ั ด้านภาพและเสียงซงึ่ มากกวา่ รปู แบบของ VCD หลายเทา่ ตัว โดยให้ความละเอยี ดของภาพอยู่ที่ 720 x 480 พกิ เซลในระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผ่น DVD กม็ หี ลายประเภท เช่น DVD + R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซึง่ ความจุของแผ่น DVD กม็ ใี หเ้ ลือกใช้ตาม ชนดิ ของแผน่ โดยมตี ัง้ แต่ 4.7 กิกะไบตไ์ ปจนถงึ 17 กกิ ะไบต์ ทาให้สามารถบันทึกภาพยนตรท์ ้งั เรื่อง ไดอ้ ย่างสบาย ซึ่งคาดการณ์กนั วา่ สื่อประเภท DVD คงจะเขา้ มาแทนที่ VCD ได้ในไม่ชา้

รปู แบบของไฟลเ์ สยี งชนดิ ตา่ ง ๆ ในการบันทึกเสียงในระบบ Hard disk Recording จะมีรปู แบบของการเก็บขอ้ มูลเสยี งมากมาย และแตล่ ะรูปแบบก็สามารถเปลย่ี นไปมากนั ได้ บางรปู แบบที่มีการบบี อัด เมื่อเปล่ยี นกบั มาเปน็ รูปแบบที่ไม่ มีการบบี อัดกจ็ ะไดค้ ุณภาพเสยี งเหมอื นทบ่ี บี อดั ไปแล้ว เพราะมกี ารสญู เสียคณุ ภาพสญั ญาณไปในขัน้ ตอน ของการบบี อัดไปแล้วไมส่ ามารถเรยี กกลบั คืนมาไดโ้ ปรแกรมดนตรีมักจะเก็บข้อมลู เสยี งดังน้ี AIFF ย่อมาจาก Audio Interchange File Format เป็นรูปแบบทใี่ ช้กันมากกับโปรแกรมบน Mac เพราะ Apple เปน็ ผูร้ ิเริม่ เปน็ ไดท้ ั้ง Mono และ Stereo ความละเอียดเรม่ิ ตน้ ที่ 8 Bit/22 kHz ไปจนถงึ 24 bit/ 96 kHz และมากกว่านนั้ MP3 เป็นรปู แบบทรี่ จู้ กั กนั ดีในปจั จบุ ัน ในฐานะทค่ี ุณภาพเสยี งทดี่ ีในขณะทขี่ ้อมลู น้อยมาก ประมาณ 1 MB ต่อ เพลงความยาว 1 นาทแี บบ Stereo ซึง่ เปน็ การบบี อดั โดยลดความซ้าซ้อนของขอ้ มลู เสยี ง และตดั เสียงที่หูของมนุษยไ์ มส่ ามารถได้ยินโดยอา้ งอิงจากงานวจิ ัย Psychoacoustic แตไ่ ม่สามารถใหค้ ณุ ภาพเสยี ง ท่ดี กี วา่ เสียงแบบ Full Bandwidth หรอื Hi-fi ได้ เพราะมนั เปน็ การบบี อดั ที่สูญเสียหรือเรียกว่า “Lossy Technology” ถงึ แมว้ ่าเจา้ ของค่ายเพลงในเมอื งไทยหรอื ท่ัวโลกไม่ชอบมัน แต่ในเมอื่ มนั คุ้มคา่ สาหรับเก็บไว้ ฟังหรอื ส่งต่องานให้เพ่อื น โปรแกรมดนตรีส่วนใหญก่ ็ใหเ้ ราสามารถ import /export งานเปน็ MP3 ได้ QuickTime แมไ้ ม่ได้เปน็ รปู แบบของการเกบ็ ขอ้ มูลเสียงโดยเปน็ โปรแกรมเลน่ media ทพ่ี ัฒนาโดย Apple แต่ โปรแกรมดนตรบี างตัวกส็ ามารถ Save หรือ Load ขอ้ มูลเสียง , Video , MIDI เปน็ File ของ QuickTime ได้ สง่ิ สาคญั ท่คี วรรอู้ ีกอย่างก็คือขอ้ มูลเสยี งท่ี save มาจาก QuickTime หรือโปรแกรมท่ี Compatible กบั QT อย่าง TC Works Spark อาจจะเปน็ ไฟล์ Extension อยา่ ง .mov , .aif หรือ .WAV ก็ได้ แตไ่ ม่ต้องเปน็ หว่ งเร่อื งนี้ เนอ่ื งจากโปรแกรมดนตรสี ว่ นใหญ่จะสามารถเลน่ ไฟล์ QT โดยไมส่ นใจว่าจะเป็นไฟล์ Extension แบบไหนก็ตาม RealAudio คนชอบฟงั เพลงบน Internet คงรจู้ ักกันดี ไฟล์ RealAudio จะแสดง Extension เป็น .ra หรือ .rm ซึง่ เปน็ ส่วนหน่ึงของระบบ RealSystem G2 ไวส้ าหรับการเล่น multimedia จาก RealNetworks ซงึ่ จะมี Tools ในการเล่น, encode รวมไปถึง tools ในการทา server ใหใ้ ช้ฟรี ๆ ในการส่ง Audio, Video, Animation ผา่ นเวป แต่แม้ว่าโปรแกรมดนตรสี ว่ นใหญจ่ ะไมใ่ ช้ RealAudio ในการบนั ทกึ แต่ กบั บางโปรแกรม เราสามารถเก็บงานของเราเป็น RealAudio เพื่อใช้บนเวป็ ซงึ่ แน่นอน ว่า RealAudio กเ็ ปน็ Lossy Format เหมอื นกบั MP3REX เปน็ ไฟลเ์ สยี งของโปรแกรม Propellerhead Recycle ซึง่ เป็นโปรแกรมที่ แบ่งไฟล์เสยี งประเภท Loop (เปน็ วลีดนตรหี รอื จงั หวะทส่ี ามารถเลน่ ซา้ ไปเรื่อย ๆ ตอ่ เนอื่ งกันได)้ ออกเป็น ช้นิ ๆ เชน่ เสยี งกระเด่ือง กลองสแนร์ หรือ ไฮ-แฮท ซงึ่ ไฟลท์ ี่ถูกแบ่งเหล่านีส้ ามารถนาไปใช้กบั Sampler แล้ว Trigger โดย MIDI Sequence ท่ีสร้างขน้ึ มาโดย Recycle เช่นกนั ทาให้เราสามารถทจี่ ะเร่งหรอื ลด ความเรว็ โดยท่ี pitch ของเสยี งไมม่ กี ารเปลยี่ นเลย ซึ่งเปน็ หลักการเดียวกันกบั Technology Groove Control

จาก Spectrasonics และ ILIO แต่ตา่ งกนั ตรงที่ Groove Control นนั้ มีการเตรียมไฟล์ท่ีห่นั ไวแ้ ล้วกบั MIDI โดยทาง Spectrasonics เอง ไมร่ วู้ า่ ทาง Spectrasonics จะใช้ Recycle ทารึเปล่านะครับ ไฟล์ REX เองมี Extension อยหู่ ลายอนั เลยอยา่ ง .rx2 (Recycle 2.0 หรอื สงู กวา่ ).ryc และ .rex ซ่ึงสร้างมาจากเวอร์ชนั แรก Sound Designer II โดง่ ดงั มาจาก โปรแกรม Sound Designer Stereo Editing จาก Digidesign และใช้กบั Pro Tools ดว้ ย Sound Designer II หรอื SD II สนับสนุนไฟลเ์ สียงทค่ี วามละเอยี ด ตา่ ง ๆ เหมอื นกับ WAV และ AIFF โปรแกรมดนตรสี ว่ นใหญก่ ็จะมคี ณุ สมบตั ใิ นการแปลงไฟล์ WAV หรอื AIFF มาเปน็ SD IIWAV ถูกสรา้ ง ข้ึนจากการรวมตวั กนั ของ Microsoft กับ IBM WAV format สามารถใช้ได้กับ bit depths และ sample rate ในระดับต่างกนั ในขณะที่ AIFF เปน็ ทีน่ ิยมในหมู่ผู้ใช้ PC ดว้ ย ในเร็วๆนี้ Acidized WAV files ได้รบั ความ นิยมเพ่มิ ข้นึ อกี นีค่ ือชนิดของ WAV files ที่รวมข้อมูลของ pitch กบั tempo เข้าไว้ดว้ ยกัน Acidized WAV สามารถถกู อ่านได้โดย Sonic Foundry Acid และโปรแกรมอ่นื ๆทีส่ ามารถให้ samples ท่ีจัด pitch and tempo ไดโ้ ดยอัตโนมัติ

เค้าโครงวีดโี อ 1. ช่อื เรอ่ื ง ........................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 2. ผจู้ ดั ทา......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. แนวความคดิ ................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4. วัตถปุ ระสงค์................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. กลุ่มเปา้ หมาย............................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 6. หมายเหตุ..................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

Subject Storyboard Multimedia filename Title sound Pageno: Filename: File out to : image File in form: VDO note : Narration Script :

คาอธิบายวิธกี ารกรอกข้อมูล storyboard Subject : ชื่อเรือ่ งผลงานทท่ี า เชน่ MV เพลงรกั มากมาย ละครสน้ั ฟา้ มตี า โฆษณางดเหล้า เข้าพรรษา Title : ชอื่ หวั ข้อย่อยภายใตช้ ่ือเรอ่ื งทที่ า ในทนี่ หี้ มายถึง ชอื่ ของฉากน้ี เช่น ฉากซอ้ นทา้ ย จกั รยาน ฉากมอบแหวน ฉากนางเอกเล่นไวโอลิน เปน็ ตน้ ในผลงานชนิ้ หน่ึงอาจ ประกอบดว้ ยฉากได้หลายรอ้ ยฉาก แต่ละฉากจาเป็นตอ้ งใช้ storyboard 1 ใบ Filename : ช่ือแฟ้มข้อมลู (ในการเก็บแบบดจิ ติ อล) เชน่ movie_section1.swf Pageno. : หน้าท่ี ในฉากหนึง่ ๆ อาจมีไดห้ ลาย page เชน่ ฉากซ้อนทา้ ยจกั รยาน มี page 1 แสดงให้เห็นระยะไกล page 2 คือการซูมเขา้ ไปทใ่ี บหนา้ พระเอกและนางเอก เปน็ ตน้ File in form : หนา้ ก่อน ใหร้ ะบุชอ่ื แฟม้ ข้อมลู เชน่ movie_section2.swf ข้นึ อยูก่ ับวา่ ผลิตผลงาน ดว้ ยโปรแกรมอะไรเป็นหลัก File out to : หนา้ ถัดไป ให้ระบชุ ่อื แฟ้มขอ้ มูล Sound เพลงที่ใชป้ ระกอบในฉากนี้ ให้ระบุชอ่ื แฟม้ ข้อมลู ประเภทเสยี ง เชน่ piano.mp3 รวมทั้งถา้ มีเสยี งบรรยายกใ็ หร้ ะบไุ ว้ทน่ี ่ีเช่นกนั Image ภาพน่งิ ท่ใี ช้ประกอบในฉากนี้ เชน่ doSomething.jpg chicken.gif เป็นตน้ VDO วิดโี อที่ใช้ประกอบในฉากนี้ note : เป็นการใหร้ ายละเอียดปลกี ยอ่ ยเพิ่มเติม เพือ่ อธิบายใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั เช่น “ มี เดก็ ผชู้ ายวง่ิ ออกมาจากดา้ นขวาของฉาก และรอ้ งตะโกนเรยี ก” Narration Script : ใสบ่ ทพูดท้ังหมดทเ่ี กดิ ขึ้นในฉากนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook