Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore is1-บทที่1

is1-บทที่1

Published by nontapatjitaree69, 2022-08-17 06:09:16

Description: is1-บทที่1

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา เป็นการเกร่นิ นาหรอื อารัมภบทแสดงใหเ้ หน็ ถึงความสาคญั และความจาเปน็ ทจ่ี ะต้องทาศึกษา กวา้ ง หรอื เหตผุ ลท่ีสมควรต้องมีการ ศึกษาปัญหาพเิ ศษเรอ่ื งน้ี โดยพยายามกาหนดปญั หาใหช้ ดั เจนทั้งในดา้ น การเกดิ ความรุนแรง การกระจายตวั ของปัญหา หรอื ดา้ นอน่ื ๆ ให้เข้าถึงขอ้ เท็จจรงิ ของปัญหาอย่างแทจ้ รงิ ด้วยการทบทวนเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ตรวจสอบสถติ ิ สอบถามความเหน็ จากบคุ คลทีเ่ กี่ยวข้อง และแสวงหา เหตผุ ลทน่ี ่าเป็นไปได้ จากทฤษฎีและสาขาท่เี กยี่ วขอ้ ง โดยเขียนโน้มนา้ ว จงู ใจใหผ้ ้อู ่านคลอ้ ยตามเหน็ ดว้ ย วา่ ทาไมตอ้ งทาศกึ ษาเร่ืองนี้ เช่น ยงั ประสบปญั หาอยูแ่ กไ้ ขไม่ได้ โดยใช้ความคิดตวั เองให้มากทสี่ ดุ  ย่อหน้าแรก จะตอ้ งอภปิ รายถงึ ความเปน็ มา ปญั หา ขอ้ ดี ขอ้ เสีย หรือขอ้ โต้แยง้ ของการทดลองที่ ไดท้ าการก่อนหนา้  ย่อหนา้ ท่ีสอง จะต้องอภปิ รายถงึ ความสาคัญ ข้อดขี องปญั หา รวมถึงแนวทางแกไ้ ขปญั หาในเรอ่ื ง ที่เราสนใจจะดาเนนิ การทา ควรมีเอกสารหรอื ท่ีมาของปญั หาทอ่ี า้ งอิงเพื่อสนับสนุนหรอื โต้แยง้ สงิ่ ท่ี เราจะทาการทดลองน้ัน  ย่อหน้าสดุ ทา้ ย ต้องอภปิ รายสรุปเป้าหมายหรอื เหตผุ ลท่ีจะทา เพือ่ แกป้ ญั หาที่งานทเ่ี ราจะทา และตอ้ งท้งิ ท้ายด้วยรปู แบบดังน้ี คอื ดงั นน้ั ผูศ้ กึ ษาจงึ มุ่งศกึ ษา.............................………………………….............................………... .............................................................เพอ่ื .........................................................................ตอ่ ไป รปู แบบการเขียน ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา ปญั หาวจิ ยั เขียนจากกว้างไปแคบ(ลึก) เขียนเรือ่ งทัว่ ๆ ไป เขียนเร่อื งเฉพาะ สรุปชใ้ี หเ้ หน็ ปญั หา แคบ ที่ศึกษาเพื่อแก้ปญั หา กอบแก้ว ตะนะพันธุ์. 2557(กันยายน, 26). “หลักการเขยี น ความเป็นมา และความสาคญั ของ ปญั หา | Kobkaew ....” [ออนไลน]์ . ที่มา : http://kobkaewtk.wordpress.com/

2 2. วตั ถปุ ระสงค์ หมายถึงแนวทางหรอื ทิศทางในการคน้ หาคาตอบ เปน็ เรื่องทีต่ อ้ งการทา - เปน็ การกาหนดวา่ ต้องการศึกษาในประเดน็ ใดบ้างในเรอ่ื งทจ่ี ะศึกษาคน้ คว้า โดยบง่ บอก สงิ่ ทจี่ ะทา ทง้ั ขอบเขต และคาตอบทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ - เปน็ การนาเอาความคดิ ของประเด็นปญั หามาขยาย รายละเอียด โดยใช้ภาษาท่ีชดั เจน เขา้ ใจง่าย เขยี นเป็นข้อหรอื เขียนรวมเปน็ ขอ้ เดียวกนั - อยา่ นาประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับมาเขียนเพราะประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั เปน็ ผลที่ คาดว่าจะเกดิ ข้นึ หลงั จากสนิ้ สดุ การศึกษาคน้ ควา้ แนวการเขยี นวัตถุประสงค์ของการศกึ ษาคน้ คว้า 1.วัตถปุ ระสงคเ์ ขยี นในรปู เป้าหมายการศกึ ษาคน้ ควา้ ไมใ่ ช่วิธีการ 2.วัตถปุ ระสงค์สอดคลอ้ งกับช่อื เรอ่ื ง 3.วตั ถุประสงค์ชดั เจน ไม่กากวม 4. ให้ใชค้ าวา่ “เพ่ือ” คาท่ีใชส้ าหรับการเขยี นวตั ถปุ ระสงค์ เชน่ เพือ่ ศึกษา เพือ่ สารวจ เพอ่ื ค้นหา เพ่อื บรรยาย เพื่ออธิบาย เพื่อพฒั นา เพือ่ เปรยี บเทียบ...กบั ... เพ่อื พสิ จู น์ เพ่อื แสดงใหเ้ ห็น เพอื่ ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ เพ่ือประเมิน เพอ่ื สงั เคราะห์ เพ่ือเปรยี บเทยี บ....กบั ........ เพือ่ ศกึ ษาอทิ ธพิ ลของ......ทม่ี ีตอ่ .. เพื่อศึกษาอทิ ธิพลของ...ที่มตี ่อ... เพื่อ วิเคราะหป์ จั จยั ทม่ี ี / สง่ ผล/อิทธพิ ล/ผลกระทบ... 3. สมมตุ ฐิ าน (ถา้ ม)ี สมมตุ ิฐานเป็นการคาดคะเนหรอื การทายคาตอบอย่างมเี หตผุ ลทีค่ าดไว้ล่วงหน้า การเขยี น สมมตุ ิฐานควรมีเหตผุ ลทสี่ าคญั คอื เปน็ ขอ้ ความทมี่ องเห็นแนวทางในการดาเนินการ

3 4. ขอบเขตของการศึกษา 4.1 ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา ประชากร หมายถงึ สมาชกิ ทุกหน่วยของส่งิ ทส่ี นใจศกึ ษา ซง่ึ ไมไ่ ดห้ มายถึงคนเพียงอย่าง เดยี ว ประชากรอาจจะเปน็ สง่ิ ของ เวลา สถานท่ี ฯลฯ เช่น ถา้ สนใจความคิดเห็นของคนไทยทม่ี ี ตอ่ การเลือกตง้ั ประชากร คอื คนไทยทกุ คน หรือถา้ สนใจอายุการใชง้ านของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ย่ีห้อหนง่ึ ประชากรคอื เครื่องคอมพิวเตอร์ยหี่ ้อน้นั ทกุ เครอื่ ง แต่การเกบ็ ข้อมลู กบั ประชากรทุก หนว่ ยอาจทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายทสี่ งู มากและบางครงั้ เป็นเรอ่ื งทต่ี อ้ งตดั สนิ ใจภายในเวลา จากัด การเลอื กศกึ ษาเฉพาะบางสว่ นของประชากรจงึ เปน็ เรื่องทม่ี คี วามจาเป็น เรยี กว่า “กลมุ่ ตวั อย่าง” ประเภทของประชากร จาแนกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื 1. ประชากรท่มี จี านวนจากัด เป็นประชากรทส่ี ามารถนบั จานวนได้ เชน่ จานวน นักศกึ ษา จานวนนกั เรยี น ฯลฯ 2. ประชากรทีม่ จี านวนไม่จากดั เชน่ จานวนเม็ดทราย ดวงดาวบนทอ้ งฟา้ ฯลฯ รูปแบบการเขียน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษาครงั้ น้ี ได้แก่ นักเรยี นช้ัน..........................โรงเรยี น............................... จานวน ....................ห้องเรียน เป็นนักเรียนทงั้ สิน้ .............คน 4.2 กลุ่มตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการศกึ ษา กลุม่ ตัวอย่าง หมายถงึ ส่วนหน่ึงของประชากรท่นี ามาศกึ ษาซง่ึ เปน็ ตวั แทนของ ประชากร การทก่ี ลมุ่ ตวั อย่างจะเป็นตวั แทนท่ดี ขี องประชากรเพอื่ การอา้ งอิงไปยงั ประชากรอยา่ ง น่าเชอ่ื ถือได้น้นั จะต้องมกี ารเลือกตวั อยา่ งและขนาดตวั อยา่ งที่เหมาะสม ซงึ่ จะต้องอาศัยสถติ เิ ข้า มาชว่ ยในการสมุ่ ตวั อยา่ งและการกาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การสมุ่ ตวั อยา่ งมหี ลายวิธี แตค่ รแู นะนาการสมุ่ ตวั อย่างสาหรบั นกั เรยี น คือ 1. การสุ่มตวั อยา่ งแบบง่าย นยิ มใช้กนั 2 วิธคี ือ 1.1 การจับฉลาก 1.2 การใชต้ ารางเลขสมุ่ 1.2.1 การจบั ฉลาก ใชก้ บั ประชากรขนาดเลก็ มขี นั้ ตอนคอื

4 (1) เขียนบญั ชรี ายชอื่ โดยรวบรวมทกุ ๆหน่วยของประชากรและให้ หมายเลขกากบั เช่น รายช่ือเจา้ หนา้ ทที่ กุ คนในแผนก รายชอื่ นกั เรยี น ทกุ คนในชัน้ เรียน (2) ทาฉลากหมายเลขเทา่ กับประชากรเป้าหมายท่ีอยู่ในบัญชีรายช่ือ (3) นาฉลากมาเคล้าปนกันให้ทว่ั (4) จบั ฉลากข้ึนมาครง้ั ละ 1 ใบให้ครบจานวนตัวอย่างทตี่ อ้ งการ 1.2.2 การใช้ตารางเลขสุ่ม นิยมใช้กบั ประชากรขนาดใหญ่ทม่ี ีบญั ชีรายชือ่ ทกุ หน่วยยอ่ ยของประชากรไวแ้ ลว้ โดยปกตติ ารางเลขสุม่ นสี้ ร้างข้ึนจากการสุ่มโดย เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ มีขัน้ ตอนดังนี้ (1) กาหนดขนาดตวั อยา่ งท่ตี อ้ งการส่มุ (2) กาหนดจานวนหลักตวั เลขที่ตอ้ งการส่มุ (3) กาหนดทิศทางการอ่านให้แน่ใจวา่ จะอ่านจากขวาไปซา้ ย หรอื บน มาล่าง (4) หาเลขเรมิ่ ต้นโดยการสุ่มเช่นสมุ่ ตัวเลขโดยกาหนดในใจวา่ จะเลือก ตัวเลขใด (5) เรียกเลขสมุ่ จนครบตามจานวนตวั อยา่ งจงึ หยดุ 2. การส่มุ ตวั อยา่ งแบบเป็นระบบ เป็นการส่มุ ตวั อย่างจากหนว่ ยย่อยของประชากรทม่ี ี ลักษณะใกลเ้ คยี งกนั มีขั้นตอนการสมุ่ ดงั น้ี 2.1 สุม่ หนว่ ยเรม่ิ ตน้ 2.2 คานวณระยะห่างของหน่วยต่อไป ระยะหา่ งระหวา่ งหมายเลข ( ) จานวนประชากรท้ังหมด ( คน) จานวนกลุ่มตัวอยา่ ง ( คน) 2.3 นับระยะห่างเทา่ ๆ กนั เชน่ 10 , 20 , 30 ... 2.4 กาหนดหมายเลขตัวอยา่ งดังนี้ เลขเรม่ิ ตน้ 10 ตวั อย่างเชน่ มปี ระชากร 800 คน ต้องการตัวอย่าง 80 คน 2.5 สุ่มเลขเริ่มตน้ หรือจบั สลากกไ็ ด้ใน 800 คน สมมุตไิ ด้เลข 5 ดังนั้นจงึ สมุ่ ทุกๆ 10 คน สุ่มจนไดค้ รบจานวนกลมุ่ ตวั อย่าง รปู แบบการเขียน กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา กลุ่มตัวอย่างท่ใี ช้ในการศกึ ษาคร้งั นเ้ี ปน็ นกั เรยี น(ท.่ี ..)ระดบั ชน้ั ...................................... โรงเรียน ....................................... ปกี ารศึกษา 25... จานวน.............คน (นคร เสรีรกั ษแ์ ละภรณี ดีราษฎร์วเิ ศษ , 2555 อ้างถึงใน กอบแก้ว ตะนะพันธ์ุ , 2557.)

5 4.3 เนอ้ื หาที่ใชใ้ นการศึกษา เนอ้ื หาท่ีใชใ้ นการศกึ ษาเป็นเน้อื หาทเ่ี ลือกจากปญั หาท่ีพบในโรงเรยี นหรือเรอ่ื งท่นี กั เรียนสนใจ คือ .......................(ระบเุ รอื่ งท่ีนักเรียนสนใจ ตงั้ ช่อื เรือ่ ง)......................... 4.4 ระยะเวลา ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ ดาเนินการในปกี ารศกึ ษา 25... 5. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั เปน็ ความสาคญั ของการศกึ ษาทีผ่ ู้ศึกษาพจิ ารณาว่าการศกึ ษาเรอ่ื งนัน้ ทาใหท้ ราบผลการศกึ ษา เรื่องอะไร และผลการศึกษาน้นั มปี ระโยชน์ต่อใคร อยา่ งไร เช่น การระบปุ ระโยชนท์ ่เี กดิ จากการนาผล การศกึ ษาไปใช้ ไมว่ ่าจะเป็นการเพิ่มพนู ความรู้ หรือนาไปเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิ หรอื แกป้ ญั หา หรอื พัฒนาคุณภาพ หลกั ในการเขยี นมดี งั น้ี 1. ระบปุ ระโยชน์ทอี่ าจเกิดจากผลทีไ่ ดจ้ ากการศึกษา 2. สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงคแ์ ละอยใู่ นขอบเขตของการศกึ ษาที่ได้ศึกษา 3. ในกรณที ่ีระบปุ ระโยชนม์ ากกว่า 1 ประการ ควรระบเุ ป็นขอ้ 4. เขยี นดว้ ยขอ้ ความสน้ั กะทัดรดั ชดั เจน 5. การระบนุ ัน้ ผู้ศึกษาต้องตระหนกั ว่ามีความเป็นไปได้ การศึกษาคน้ ควา้ ทกุ เรอื่ ง ผู้ศึกษาวา่ ผลการศึกษาจะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์อยา่ งไร ประโยชน์ของ การศกึ ษามไี ด้หลายลกั ษณะ เชน่ การนาผลการศกึ ษาไปใช้ในการกาหนดนโยบาย ปรับปรงุ การปฏบิ ตั งิ าน ใชเ้ ปน็ แนวทางการตัดสนิ ใจ การแก้ปญั หา หรือศึกษาค้นควา้ ต่อไป คาท่ใี ช้สาหรับการเขยี นประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั เช่น 1. เพือ่ เปน็ แนวทางในการพัฒนา.......................................... 2. ไดท้ ราบถงึ สาเหต(ุ ทศั นคติ ) ของนกั เรียน.............................ทีม่ .ี ......... 3. เป็นแนวทางในการ...........................................( เชน่ ศกึ ษาปญั หาตา่ งๆ ที่มใี นโรงเรียน) 4. นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจตอ่ ...................... 5. ผลการศกึ ษาทพ่ี บ ช่วยให้เกดิ (องค์ความรู้ใหม่ วิธีการใหม่ แนวทางใหม่ การจดั การเรียนรู้ ใหม่) ใน........ (นภิ า ศรไี พโรจน์ , 2556 อา้ งถงึ ใน กอบแก้ว ตะนะพันธุ์ , 2557.)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook