แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพฒั นาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” และเปา้ หมายการพัฒนาประเทศข้างต้น จงึ จำเปน็ ต้องกำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศระยะยาว ท่จี ะทำให้ประเทศไทยมีความมัน่ คงในเอกราชและอธิปไตย มภี ูมิคุ้มกันตอ่ การเปลี่ยนแปลงจากปัจจัย ภายในและภายนอกประเทศในทกุ มติ ทิ ุกรูปแบบและทกุ ระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศได้รับการพัฒนายกระดับไปสู่การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสรา้ ง มูลค่าเพิ่ม และพัฒนากลไกทส่ี ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ทจ่ี ะสรา้ งและเพ่มิ ศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพ่ือยกระดบั ฐานรายไดข้ องประชาชนในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปสภู่ าคสว่ นต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม คนไทย ได้รบั การพัฒนาให้เป็นคนดี เก่ง มวี นิ ัย คำนงึ ถงึ ผลประโยชน์สว่ นรวม และมศี กั ยภาพในการคดิ วิเคราะห์ สามารถ “รู้รับ ปรับใช”้ เทคโนโลยใี หม่ได้อยา่ งต่อเนอื่ ง สามารถเข้าถึงบริการพ้นื ฐาน ระบบสวัสดิการ และกระบวนการยุติธรรมได้อย่าง เท่าเทียมกัน โดยไม่มีใครถูกทิ้งไว้ข้างหลงั การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยทุ ธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้าง สมดุลระหว่างการพัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน รูปแบบ “ประชารัฐ” โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ โดยแต่ละยุทธศาสตร์มี เป้าหมายและประเด็นการพัฒนา ดงั นี้ 4.1 ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธปิ ไตย และมคี วามสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตัง้ แตร่ ะดับชาติ สงั คม ชุมชน มงุ่ เน้นการพฒั นาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมอื กับภยั คุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดบั ความรนุ แรง ควบคู่ไปกับการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา ด้านความมัน่ คงท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะ เกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ี ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้าน และมิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออํานวย ประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ ให้สามารถขบั เคล่ือนไปไดต้ ามทิศทางและเป้าหมายท่ี กำหนด 4.2 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา ที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในด้านอื่น ๆ นํามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจและ สังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศในมิติ ต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนสง่ โครงสร้างพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทลั และการปรับ สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วย 32
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 การเพิ่มศักยภาพของผูป้ ระกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมท้ัง การส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทาง การคา้ และการลงทนุ ในเวทโี ลก ควบคไู่ ปกบั การยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถงึ การเพิ่มขนึ้ ของคนชั้นกลาง และลดความเหลือ่ มล้ำของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน 4.3 ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ มเี ปา้ หมาย การพัฒนา ที่สำคญั เพ่ือพัฒนาคนในทกุ มิติและในทกุ ช่วงวยั ใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมท้งั กายใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่นื มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ี จําเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการ เรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอนื่ ๆ โดยมีสัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง 4.4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย การพัฒนาทีใ่ ห้ ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทำ เพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจ และความ รับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการ ตนเอง และการเตรียมความพรอ้ มของประชากรไทย ทัง้ ในมิตสิ ุขภาพ เศรษฐกจิ สงั คม และสภาพแวดล้อมให้เป็น ประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้ หลกั ประกนั การเข้าถงึ บริการและ สวัสดกิ ารทม่ี คี ุณภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและท่ัวถงึ 4.5 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาทีส่ ำคัญเพือ่ นําไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยนื ในทุกมิติ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกจิ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง บรู ณาการ ใชพ้ น้ื ท่เี ปน็ ตวั ตงั้ ในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝา่ ยที่เกีย่ วข้องได้เข้ามามีส่วนร่วม ในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเปน็ ทางเศรษฐกจิ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลท้ัง ๓ ด้าน อันจะนําไปสู่ความ ย่งั ยนื เพือ่ คนร่นุ ต่อไปอยา่ งแท้จริง 4.6 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชนส์ ว่ นรวม” โดยภาครัฐตอ้ งมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หนว่ ยงานของรฐั ที่ ทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการ ให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และ พรอ้ มท่ีจะปรับตวั ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิง การนาํ นวตั กรรม เทคโนโลยีข้อมูล ขนาดใหญ่ ระบบการทำงานทีเ่ ป็นดิจิทัลเข้ามาประยกุ ต์ใช้อยา่ งคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล 33
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 รวมทง้ั มีลกั ษณะเปิดกวา้ ง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ ทกุ ภาคส่วนเขา้ มามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และ โปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์ สุจรติ ความมธั ยสั ถ์ และสรา้ ง จิตสํานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบอย่างสน้ิ เชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพยี งเท่าทจี่ ําเป็น มีความทนั สมัย มคี วามเป็นสากล มปี ระสิทธิภาพ และนําไปสู่การ ลดความเหลอื่ มล้ำและเอ้อื ต่อการพฒั นาโดยกระบวนการยุตธิ รรมมกี ารบรหิ ารท่ีมีประสิทธภิ าพ เปน็ ธรรม ไม่เลือก ปฏิบตั ิ และการอาํ นวยความยตุ ธิ รรมตามหลักนติ ธิ รรม เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุตามวสิ ัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่งั ยัง่ ยืน เป็นประเทศทพี่ ฒั นาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป้าหมายการพัฒนา ประเทศขา้ งตน้ จงึ ได้กำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศระยะยาวได้ 6 ยุทธศาสตร์ ดงั นี้ 1. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นความม่นั คง ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมัน่ คงมีเป้าหมายสำคัญในภาพรวมระยะ 20 ปีที่เป็นรูปธรรมชัดเจน คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” โดยเร่งเสริมสร้างความเข้มแข็งและความรักความสามัคคี ปรองดองของคนในชาติ ตลอดถึงการปลุกจิตสํานึกด้านความมั่นคงให้เกิดขึ้นในประชาชนทุกระดับ การพัฒนา ระบบงานดา้ นการข่าวให้มุ่งเน้นการบูรณาการข้อมลู ข่าวสารด้านความมั่นคงอย่างเป็นระบบ การพัฒนาปรับปรงุ กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง และกลไกในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาความมั่นคงให้มี เอกภาพ มีประสิทธภิ าพ และมีการบูรณาการการดาํ เนินงานอย่างแท้จรงิ โดยปัญหาความม่ันคงเรง่ ด่วนที่จะต้อง ดำเนนิ การแก้ไข ประกอบด้วย ปญั หาความม่ันคง ปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สิน ปัญหายาเสพตดิ ปญั หาความไม่ สงบในพื้นท่จี งั หวัดชายแดนภาคใต้ ปญั หาอาชญากรรมทางไซเบอร์ และปัญหาการทจุ ริตในระบบราชการ เปา้ หมาย 1. ประชาชนอยู่ดี กนิ ดี และมคี วามสขุ 2. บา้ นเมืองมีความมน่ั คงในทุกมิตแิ ละทุกระดับ 3. กองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความ พร้อม ในการป้องกนั และแก้ไขปัญหาความมัน่ คง 4. ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคม ระหวา่ งประเทศ 5. การบรหิ ารจดั การความมนั่ คงมผี ลสำเรจ็ ทเี่ ปน็ รปู ธรรมอย่างมีประสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ดั 1. ความสขุ ของประชากรไทย 2. ความมัน่ คงปลอดภยั ของประเทศ 3. ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความมั่นคง 4. บทบาทและการยอมรับในด้านความม่ันคงของไทยในประชาคมระหว่างประเทศ 5. ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการความม่ันคงแบบองคร์ วม 34
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 2. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันจึงกำหนดแนวทางการพัฒนา ท ี ่ ใ ห ้ คว า ม สำ ค ั ญ ก ั บ ก า ร พ ั ฒ น า ก ลไ ก ข ั บ เ คล ื ่ อ น เ ศร ษ ฐ ก ิ จ เ พ ื ่ อ อ น า ค ต ท ี ่ ส า ม า ร ถ สร ้ า ง ม ู ลค ่ า เ พ ิ ่ ม ไ ด้ ทั้งในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการและการท่องเที่ยว โดยให้ประเทศสามารถยกระดับการผลิต ทางการเกษตรเพ่ือสร้างมูลค่าให้สงู ข้ึน ขณะทมี่ ีอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตที่จะเป็นกลไก ขับเคลื่อนประเทศ ไทยไปส่ปู ระเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยนวตั กรรมและเทคโนโลยีแห่งอนาคต รวมทง้ั รกั ษาการเป็นจุดหมายปลายทางของการ ท่องเที่ยวระดับโลก ในขณะเดียวกันจำเป็นต้องพัฒนาปัจจัย สนับสนุนต่าง ๆ ทั้งในส่วน ของโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านโครงข่ายคมนาคม พื้นที่และเมือง รวมถึงเทคโนโลยี และโครงสร้างพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ เพื่ออํานวยความสะดวกและลดต้นทุนในการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน บุคลากร และเชื่อมโยง ประเทศไทยกับประชาคมโลก และรบั มอื กับการเปล่ยี นแปลงสู่อนาคต เป้าหมาย 1. ประเทศไทยเป็นประเทศทีพ่ ฒั นาแล้ว เศรษฐกิจเตบิ โตอย่างมเี สถยี รภาพและยั่งยนื 2. ประเทศไทยมขี ีดความสามารถในการแข่งขนั สงู ข้นึ ตัวชี้วดั 1. รายไดป้ ระชาชาติ การขยายตัวของผลติ ภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ และการกระจายรายได้ 2. ผลิตภาพการผลติ ของประเทศ ทงั้ ในปัจจัยการผลติ และแรงงาน 3. การลงทุนเพอ่ื การวิจยั และพฒั นา 4. ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 3. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ จึงได้กำหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ที่เน้นทั้งการแก้ไขปัญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน และการเสริมสร้าง และยกระดับการพัฒนา ที่ให้ความสำคัญที่ครอบคลุมทั้งในส่วนของการพัฒนาทุนมนุษย์และปัจจัย และสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ อย่างครอบคลุม ประกอบด้วย การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ควบคู่กับการปฏิรูปที่สำคัญ ทั้งในส่วนของการปรับเปลี่ยน ค่านิยมและวัฒนธรรม เพื่อให้คนมีความดีอยู่ใน “วิถี” การดำเนินชวี ิตและ มีจิตสํานึกร่วมในการสรา้ งสังคมที่น่า อยู่ และมีการปฏิรูปการเรียนรูแ้ บบพลิกโฉม ในทุกระดับตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการ พัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การ เปลย่ี นบทบาทครู การเพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบ บริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือพัฒนา ผู้เรียนให้สามารถกำกับ การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างตอ่ เนื่องแม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว รวมถงึ ความตระหนัก ถึงพหุปญั ญาของมนุษยท์ ห่ี ลากหลายตลอดจนพฒั นาและรักษากลุม่ ผมู้ ีความสามารถพิเศษของพหุ ปญั ญา แตล่ ะประเภท และการปฏิรูประบบเสรมิ สร้างความรอบรแู้ ละจิตสาํ นึกทางสุขภาพ เพ่อื ให้คนไทยมศี ักยภาพใน การจดั การสขุ ภาวะท่ีดีไดด้ ว้ ยตนเอง พร้อมกับการสรา้ งสภาพแวดล้อมท่ีเอ้อื ตอ่ การพัฒนา และเสรมิ สร้างศักยภาพ 35
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีการศึกษา 2564 ทรพั ยากรมนษุ ย์ ทง้ั การเสริมสร้างครอบครวั ที่เขม้ แขง็ อบอ่นุ ซ่งึ เป็น การวางรากฐานการส่งต่อเดก็ และเยาวชนที่มี คุณภาพสู่การพฒั นาในชว่ งอายุถดั ไป โดยการส่งเสริมการ เกิดที่มีคุณภาพ การสร้างครอบครัวที่เหมาะสมกับคน รุ่นใหม่ การสง่ เสรมิ บทบาทในการมสี ว่ นรว่ ม พัฒนาคน การพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลเพ่อื การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ ที่มีความเชื่อมโยงและบูรณาการ ข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษยร์ ะหว่างกระทรวง/หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง และการเสริมสร้าง ศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ในการใช้กิจกรรม นนั ทนาการและกฬี าเป็นเครื่องมือในการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะของประชาชนอย่างครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน รวมถึงการพัฒนาทกั ษะด้านกฬี าสคู่ วามเป็นเลศิ และกีฬาเพือ่ การอาชีพ เปา้ หมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรบั วิถีชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 2. สงั คมไทยมีสภาพแวดล้อมท่เี อือ้ และสนบั สนุนตอ่ การพฒั นาคนตลอดช่วงชวี ิต ตัวชี้วดั 1. การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ สขุ ภาวะ และความเปน็ อยู่ท่ีดขี องคนไทย 2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต 3. การพฒั นาสงั คมและครอบครัวไทย 4. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมจึงได้กำหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ที่เน้นการตอบโจทย์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ เพื่อให้การเติบโตของประเทศเป็นการเติบโตที่ย่ังยืนโดยทุกคนได้รับประโยชนอ์ ยา่ งทั่วถึง และเป็น ธรรม การกําหนดให้ภาคการเกษตรและครัวเรือนเป็นกลุ่มเป้าหมายของการปรับโครงสร้าง และพฤตกิ รรม และการกระจายศูนย์กลางความเจรญิ เพื่อให้เกิดการสรา้ งงานในพ้นื ท่ี เพ่ือพลกิ ฟื้น โครงสร้างทาง สังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และช่วยลดความเสี่ยงต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงของ ประเทศบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากน้ี ยังเน้นการดงึ เอา พลังทางสงั คมท่ีประกอบด้วย ภาคสว่ นต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชนทอ้ งถิน่ มารว่ ม ขับเคล่อื นการพฒั นาประเทศในรูปแบบประชา รัฐ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำที่ยั่งยืน รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการ จัดการตนเอง และการเตรียมความพรอ้ มของประชากรไทยทง้ั ในมิติสขุ ภาพ เศรษฐกจิ สงั คม และสภาพแวดล้อม ใหเ้ ป็นประชากรทีม่ คี ุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทำประโยชน์แกค่ รอบครัว ชุมชน และสงั คมให้นานที่สดุ เป้าหมาย 1. สรา้ งความเปน็ ธรรม และลดความเหล่อื มล้ำในทกุ มติ ิ 2. กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็น กําลงั ของการพฒั นาประเทศในทุกระดบั 3. เพิ่มขดี ความสามารถของชุมชนทอ้ งถน่ิ ในการพัฒนา การพง่ึ ตนเองและการจัดการ ตนเองเพ่ือ สรา้ งสงั คมคุณภาพ 36
แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศึกษา 2564 ตวั ชวี้ ดั 1. ความแตกต่างของรายได้และการเขา้ ถงึ บรกิ ารภาครัฐระหวา่ งกลุ่มประชากร 2. ความกา้ วหนา้ ของการพฒั นาคน 3. ความก้าวหน้าในการพฒั นาจังหวัดในการเป็นศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี 4. คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ 5. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้น้อมนําศาสตร์ของพระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยยึดหลัก 3 ประการคือ “มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” มาเป็นหลักในการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติควบคู่กับการนําเป้าหมายของการพัฒนา ที่ยั่งยืน ทั้ง 17 เป้าหมาย มาเป็นกรอบแนวคิดที่จะผลักดันดำเนินการเพื่อนําไปสู่การบรรลุเป้าหมาย การพัฒนา ที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วน ความ รว่ มมือระหวา่ งกนั ทั้งภายในและภายนอกประเทศอยา่ งบูรณาการ โดยมวี สิ ัยทัศนเ์ พอ่ื ให้ ประเทศไทย เป็นประเทศ พฒั นาแล้วท่มี ีคุณภาพชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ มที่ดที สี่ ดุ ในอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2580 จากหลักการดังกล่าวข้างต้น ทำให้การพัฒนายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้ างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ถูกดำเนินการบนพื้นฐานความเชื่อในการเติบโตร่วมกันไม่ว่าจะเป็น ทางเศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ้ ม และคณุ ภาพชวี ิต โดยใหค้ วามสำคัญกับการสรา้ งสมดุลทัง้ ๓ ดา้ น ไม่ให้มากหรือน้อย จนเกินไป อันจะนําไปสู่ความยั่งยืนเพื่อคนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง สอดคล้องกับแนวคิดหลักของแผน คือ เติบโต สมดุล ย่ังยนื ซึ่งเปน็ หัวใจของยทุ ธศาสตรช์ าติด้านนี้ เป้าหมาย 1. อนุรกั ษแ์ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คนรุน่ ต่อไปไดใ้ ช้ อย่าง ยงั่ ยืน มสี มดลุ 2. ฟนื้ ฟแู ละสรา้ งใหมฐ่ านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม เพ่อื ลดผลกระทบทางลบ จากการ พัฒนาสงั คมเศรษฐกิจของประเทศ 3. ใช้ประโยชน์และสรา้ งการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้สมดุล ภายใน ขดี ความสามารถของระบบนเิ วศ 4. ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกำหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และ วฒั นธรรม บนหลักของการมีส่วนรว่ ม และธรรมาภบิ าล ตัวช้ีวัด 1. พืน้ ท่สี เี ขยี วท่เี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม 2. สภาพแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติทีเ่ สือ่ มโทรมไดร้ บั การฟ้ืนฟู 3. การเติบโตทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม 4. ปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจก มลู ค่าเศรษฐกจิ ฐานชีวภาพ 37
แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศกึ ษา 2564 6. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ช า ต ิ ด ้ า น ก า ร ป ร ั บ ส ม ด ุ ล แ ล ะ พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร บ ร ิ ห า ร จ ั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ จึงมีประเด็น ยุทธศาสตร์ที่เน้นการปรับเปลี่ยนภาครัฐ ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ สว่ นรวม” โดยภาครฐั ต้องมีขนาดทีเ่ หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ และแยกแยะบทบาทหน่วยงานของ รัฐ ที่ทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขนั มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรร มาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะ ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนํานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูล ขนาดใหญ่ และระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ มาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อ ตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสงั คมต้องร่วมกัน ปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจรติ ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสาํ นึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤตมิ ิ ชอบอย่างสนิ้ เชงิ นอกจากนนั้ กฎหมาย ตอ้ งมีความชัดเจน มเี พียงเท่าทจ่ี ําเป็น มคี วามทนั สมัย มีความเป็นสากล มปี ระสิทธภิ าพ และนําไปสกู่ าร ลดความเหล่ือมลำ้ และเอ้ือตอ่ การพฒั นา โดยกระบวนการยตุ ิธรรมมกี ารบริหารท่มี ี ประสิทธิภาพ เป็น ธรรม และไม่เลือกปฏิบตั ิ การอาํ นวยความยุตธิ รรมตามหลกั นิติธรรม รวมท้ังต้องมีการพัฒนา ระบบ บริหารจัดการบุคลากรภาครัฐที่สามารถจูงใจและดึงดูดให้คนดีคนเก่งเข้ามาร่วมพลังการทำงานที่มีความ มงุ่ มั่นและมีแรงบนั ดาลใจในการท่ีจะรว่ มกันพลกิ โฉมประเทศไปสเู่ ปา้ หมายท่พี ึงประสงค์ เปา้ หมาย 1. ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 2. ภาครฐั มขี นาดท่เี ลก็ ลง พร้อมปรับตัวใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง 3. ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ 4. กระบวนการยตุ ิธรรม เปน็ ไปเพื่อประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมของประเทศ ตวั ชวี้ ดั 1. ระดับความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ รกิ ารสาธารณะของภาครฐั 2. ประสิทธิภาพของการบรกิ ารภาครัฐ 3. ระดับความโปรง่ ใส การทุจริต ประพฤติมิชอบ 4. ความเสมอภาคในกระบวนการยตุ ิธรรม 38
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตไิ ด้จัดทำแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คม แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) หรับใชเ้ ป็นแผนพฒั นาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซง่ึ เป็นการแปลงยทุ ธศาสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติ อย่างเปน็ รปู ธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้กำหนดสาระสำคญั ไว้ ดงั นี้ วิสัยทัศน์ : มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศ ที่มีรายได้สูง มีความมั่นคงและยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว “มัน่ คง ม่ังคั่ง ยง่ั ยืน” ของประเทศ หลักการ : 1) น้อมนำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาองเศรษฐกิจพอเพียงในทุกมิติกำพัฒนาอย่างบูรณาการบน ทางสายกลาง มีความพอประมาณ มเี หตผุ ล และมรี ะบบภูมิคุ้มกันทดี่ ี 2) คำนึงถึงการพฒั นาที่ยัง่ ยืน โดยใหค้ นเป็นศูนย์กลาง เพ่ือสร้างความมั่นคงของชาติและเป็นกลไกสำคัญใน การขบั เคล่ือนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดล้อม และการบรหิ ารจัดการ 3) มุ่งเสริมสร้างกลไกการ พฒั นา ประเทศ ทง้ั กลไกท่ีเปน็ กฎหมายและกฎ ระเบียบต่าง ๆ เพ่อื ให้เอ้ือต่อการ ขับเคลื่อนการพัฒนาในทุก ระดับ ควบคู่กับการพัฒนากลไกในรูปแบบของคณะกรรมการในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระดบั ประเทศและ ระดับพืน้ ท่ี วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อให้คนไทยทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ สามารถพัฒนา ตนเองได้ ต่อเนื่องตลอด ชวี ติ 2) เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีโครงสรา้ งทีเ่ ขม้ แขง็ มีเสถยี รภาพ แขง่ ขนั ได้ ยง่ั ยืน 3) เพ่ือ รกั ษาทุนธรรมชาตแิ ละคุณภาพสิง่ แวดล้อมสู่ความสมดุลของระบบนเิ วศน์ 4) เพ่ือสร้างความมัน่ คง ภายในประเทศ ป้องกนั และลดผลกระทบจากภยั คกุ คามข้ามชาติ 5) เพื่อให้การทำงานเชิงบูรณาการใน ลักษณะเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานที่ยึดหน้าท่ี และพ้นื ที่ ทำใหภ้ าครฐั มปี ระสทิ ธภิ าพและปราศจากคอรปั ชัน่ 39
แผนปฏิบัติการประจำปีการศกึ ษา 2564 ยุทธศาสตร์ : 1) ยทุ ธศาสตรก์ ารเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์ 2) ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งความเป็นธรรมและความเหลือ่ มลำ้ ในสังคม 3) ยทุ ธศาสตร์การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแขง่ ขันได้อยา่ งยัง่ ยืน 4) ยทุ ธศาสตร์การเตบิ โตทีเ่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาอย่างยง่ั ยนื 5) ยุทธศาสตรก์ ารความมั่นคงแหง่ ชาติเพือ่ การพัฒนาประเทศสูค่ วามมั่งคั่งและย่ังยนื 6) ยุทธศาสตร์กำรบริหารจดั การในภาครฐั การปอ้ งกนั การทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบและ ธรรมาภิบาลในสงั คมไทย 7) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์ 8) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม 9) ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค เมือง และพื้นทีเ่ ศรษฐกจิ 10) ยุทธศาสตรค์ วามร่วมมือระหว่างประเทศเพอ่ื การพัฒนา เป้าหมายรวม : 1) คนไทยมคี ุณลักษณะเปน็ คนไทยที่สมบูรณ์ สามารถเรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง มีความเป็นพลเมือง ตืน่ รู้ทำประ โยชน ์ ต่อส่วนรวม เป็นนวัตกรรมสร้างสรรค์ทางสังคม มีความสุขทั้งมิติทางกาย ใจ สังคมและจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตที่ พอเพยี ง มีความเปน็ ไทย และมคี วามสามารถเชงิ การแข่งขนั ในเวทโี ลกไดอ้ ย่างมีศกั ด์ิศรี 2) ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมี ความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมี โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบรกิ ารทางสงั คมท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม 3) ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิ จปรับสู่เศรษฐกิจ ฐานบริการและดิจทิ ัล เนน้ อปุ สงคน์ ำการผลิต มีผู้ประกอบการร่นุ ใหม่ และมีผปู้ ระกอบการขนาดกลางและ ขนาด เล็กที่เข้มแข็ง มีการ ลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู ้ชั้นสูงใหม่ๆ โดยกระจายฐาน การผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยเศรษฐกิจไทยมีอัตราการขยายตัวเฉล่ีย รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปีและมีปัจจัยสนบั สนุน อาทิ ระบบโลจิสตกิ ส์ พลงั งาน และการลงทุนวจิ ัยและพฒั นา 4) ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตร กบั สิ่งแวดลอ้ ม มีความม่ันคง ทางอาหาร พลงั งาน และนำ้ 5) มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ที่ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาประเทศต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง ปัญหา อาชญากรรมลดลง ปรมิ าณความสูญเสียจากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนส่งสินค้า และการค้ามนุษย์ลดลง มีความพร้อม ในการ ปกปอ้ งประชำชนจากการก่อการร้ายและภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ 6) มรี ะบบบริหารจัดการภาครัฐทม่ี ีประสิทธิภาพ ทนั สมยั โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอำนาจและมีส่วน ร่วมจากประชาชน ลดปัญหาคอรร์ ัปชั่น การใช้จ่ายภาครัฐต้องมีประสิทธิภาพสูง และมบี ุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และปรบั ตวั ได้ทนั กบั ยุคดิจทิ ัลเพิม่ ข้ึน 40
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศึกษา 2564 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ วสิ ัยทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รบั การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมคี ุณภาพ ดำรงชีวิต อย่างเปน็ สุข สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” พนั ธกจิ 1. พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่ีคนไทยทุกคนเข้าถงึ โอกาสในการศึกษา และเรียนรู้ตลอด ชีวิต สร้างความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรยี นทกุ กลุม่ เป้าหมาย ยกระดบั คุณภาพและประสทิ ธิภาพของการ จดั การศึกษาทกุ ระดับ และจดั การศึกษาทสี่ อดคลอ้ งและรองรับกระแส การเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นผู้มีความรู้ คุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สามารถพัฒนาศักยภาพและเรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต 3. สร้างความมั่นคงแก่ประเทศชาติ โดยสร้างสังคมไทยใหเ้ ป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู้ และสังคมคุณธรรม จริยธรรมทค่ี นไทยทุกคนอยูร่ ่วมกนั อยา่ งปลอดภัย สงบสขุ และพอเพียง 4. พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการก้าวข้าม กับดักประเทศ รายได้ปานกลาง สู่การเป็นประเทศในโลกที่หน่ึง และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมด้วยการเพ่ิมผลิตภาพของกำลัง แรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา ประเทศพร้อมรับการเปล่ียนแปลงที่เป็นพลวตั ของโลกศตวรรษท่ี 21 ภายใต้ยคุ เศรษฐกจิ และสังคม 4.0 วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทม่ี คี ุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้อง กบั บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพอ่ื พฒั นาสังคมไทยให้เป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม ร้รู ัก สามัคคี และร่วมมือผนึก กำลังมุ่งสู่การพฒั นาประเทศอย่างยัง่ ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศ ลดลง เป้าหมายดา้ นผเู้ รียน (Learner Aspirations) แผนการศึกษาแห่งชาตมิ งุ่ พัฒนาผู้เรียนทกุ คนให้มคี ณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs 8Cs) ประกอบดว้ ย ทักษะและคุณลกั ษณะตอ่ ไปนี้ 41
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีการศึกษา 2564 • 3Rs ได้แก่ - การอ่านออก (Reading) - การเขียนได้ (Writing) - การคดิ เลขเปน็ (Arithmetic) • 8Cs ได้แก่ - ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) - ทักษะดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and Innovation) - ทักษะด้านความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรมต่างกระบวนทศั น์ (Cross–cultural Understanding) - ทักษะดา้ นความรว่ มมือการทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration,Teamwork and Leadership) - ทกั ษะดา้ นการส่ือสารสารสนเทศ และการรูเ้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications,Informationand Media Literacy) - ทักษะด้านคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy) - ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning Skills) - ความมเี มตตา กรณุ า มีวนิ ัย คุณธรรมจรยิ ธรรม (Compassion) 42
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2564 เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ได้กำหนดเปา้ หมายของการพฒั นาการศกึ ษาในระยะ 20 ปีไว้ 5 ด้านประกอบด้วย 1) ประชากรทกุ คนเขา้ ถึงการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพและมาตรฐานอยา่ งทวั่ ถึง (Access) ❖ เดก็ ปฐมวัยมีพัฒนาการสมวยั ❖ ประชากรทกุ คนมีโอกาสได้รับบริการทางการศึกษาต้ังแตป่ ฐมวัยถงึ มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่าที่ มีคณุ ภาพและมาตรฐาน ❖ ประชากรที่อยู่ในกำลังแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะที่ตอบสนอง ความตอ้ งการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ ❖ ประชากรสูงวัยได้เรียนรู้ฝึกฝนเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะเพื่อการทำงานหรือการมีชีวติ หลงั วัยทำงานอยา่ งมีคณุ ค่าและเปน็ สุข 2) ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม (Equity) ผู้เรียนทุก กลุม่ เป้าหมายทง้ั กลมุ่ ปกตผิ ู้มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความบกพรอ่ งด้านตา่ งๆ ผพู้ กิ ารผดู้ ้อยโอกาสและผู้มีภูมิหลัง ทางสังคมหรือฐานะทางเศรษฐกิจทีแ่ ตกต่างกนั ไดร้ บั โอกาสและการบริการทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและเท่า เทียม 3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถและเต็มตามศักยภาพ (Quality) ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อคุณลักษณะทักษะความรู้ ความสามารถและสมรรถนะของแตล่ ะบคุ คลให้ไปไดไ้ กลท่สี ุดเท่าที่ศกั ยภาพและความสามารถ ของแต่ละบคุ คลพึง มีภายใต้ระบบเศรษฐกิจสังคมฐานความรู้สังคม แห่งปัญญาและการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ท่ี ป ร ะ ช า ช น ส า ม า ร ถ เ ร ี ย น ร ู ้ ไ ด ้ อ ย ่ า ง ต ่ อ เ น ื ่ อ ง ต ล อ ด ช ี ว ิ ต ม ี ค ุ ณ ธ ร ร ม จ ร ิ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ส า ม า ร ถ ด ำ ร ง ช ี วิ ต ได้อย่างเปน็ สขุ ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 4) ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือการพฒั นาผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และมคี ุณภาพ และการ ลงทนุ ทางการศึกษาทีค่ ้มุ ค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency) หน่วยงาน สถานศึกษาและสถาบนั การศกึ ษาทุกแห่ง สามารถบริหารและจัดการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล จัดให้มีระบบการ จดั สรรและใชท้ รพั ยากรทางการศกึ ษา ทีก่ ่อประโยชน์สูงสุดในการพฒั นาผู้เรยี นแต่ละคนให้บรรลุศักยภาพและขีด ความสามารถของตนและส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสงั คมที่มีศกั ยภาพและความพร้อมเข้ามามีส่วนร่วม ในการระดมทุนและร่วมรบั ภาระค่าใช้จา่ ยเพอื่ การศกึ ษาโดยเฉพาะสถานประกอบการสถาบันและองคก์ รตา่ ง ๆ ใน สงั คมและผเู้ รียน ผ่านมาตรการทางการเงนิ และการคลงั ที่เหมาะสม 5) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและ บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ระบบการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐานสนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาทักษะคุณลักษณะและสมรรถนะในการทำงานของกำลังคนใน ประเทศให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดงาน สงั คมและประเทศ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี และยุทธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 ที่ จะนำประเทศไทยก้าวข้ามกบั ดักประเทศท่ีมีรายได้ป้านกลางสู่การเปน็ ประเทศที่พัฒนาแลว้ ด้วยการศึกษาท่ีสร้าง ความม่นั คงในชวี ิตของประชาชนสังคมและประเทศชาตแิ ละการสร้างเสริมการเติบโตทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม 43
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 6 ยุทธศาสตรห์ ลกั ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ทีส่ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ❖ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 : การจัดการศึกษาเพ่อื ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ มีเป้าหมาย ดงั นี้ 1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่ส่งเสริมการ เรียนรู้ที่สะท้อนความรักและการธํารงรักษาสถาบันหลักของชาติและการยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความเป็น พลเมอื ง (Civic Education) และส่งเสรมิ การอยรู่ ่วมกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม เป็นตน้ 1.2 คนทุกช่วงวยั ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและ เรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ มตี วั ชี้วดั ทส่ี ำคัญ เชน่ นกั เรยี นในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้และพ้ืนที่ พเิ ศษมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) แต่ละวชิ าผา่ นเกณฑค์ ะแนนร้อยละ 50 ข้ึนไปเพ่มิ ขนึ้ สถานศกึ ษาจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม กลุม่ ชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ วเพิ่มข้ึน และสถานศึกษาในพ้ืนท่ีพิเศษทีจ่ ัดอยู่ในมาตรการจูงใจ มีระบบเงินเดือน ค่าตอบแทน ที่สูงกว่าระบบปกตเิ พ่มิ ขน้ึ เป็นตน้ 1.3 คนทุกชว่ งวัยได้รบั การศึกษา การดูแลและป้องกนั จากภยั คกุ คามในชวี ิตรปู แบบใหม่ มีตัวชี้วัดท่ีสำคัญ เชน่ สถานศกึ ษาที่จดั กระบวนการเรียนรู้และปลูกฝังแนวทาง การจดั การความขัดแย้งโดยแนวทางสันติวิธีเพิ่มข้ึน มกี ารจัดการเรียนการสอน/กจิ กรรม เพอื่ เสริมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจท่ถี ูกต้องเกยี่ วกับภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ เพ่มิ ข้ึน มีระบบ กลไก และมาตรการทเี่ ข้มแข็งในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่และผู้เรียน ในสถานศึกษาที่มีคดที ะเลาะววิ าทลดลง เป็นตน้ โดยไดก้ ำหนดแนวทางการพฒั นา คือ พฒั นาการจัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สรา้ ง ความม่นั คงของสถาบัน หลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ยกระดับคุณภาพและ ส่งเสรมิ โอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พเิ ศษ ท้ังท่ีเป็น พื้นที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรม กล่มุ ชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว พฒั นาการจดั การศึกษาเพอ่ื การจดั ระบบการดแู ลและป้องกันภัย คกุ คามใน รูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรนุ แรงในรปู แบบต่าง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พิบัตจิ ากธรรมชาติ ภัย จากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น และมีแผนงานและโครงการสำคัญ เช่น โครงการ ยกระดับคุณภาพ การศกึ ษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพนื้ ทพ่ี ิเศษ เปน็ ตน้ ❖ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจยั และนวตั กรรรม เพื่อสรา้ งขีดความสามารถในการ แข่งขนั ของประเทศ มเี ปา้ หมาย ดังน้ี 2.1 กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น มีฐานข้อมูลความต้องการกําลังคน (Demand) จําแนกตาม กลุม่ อุตสาหกรรมอย่างครบถ้วน สดั สว่ นผเู้ รียนอาชีวศึกษาสูงขึน้ เมื่อเทียบกบั ผู้เรียนสามัญศกึ ษา และสัดส่วนผู้เรียน วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสงู ขึน้ เมือ่ เทียบกับผู้เรียนสงั คมศาสตร์ กาํ ลังแรงงานในสาขาอาชีพ ต่าง ๆ ท่ีไดร้ บั การยกระดับคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี เพิม่ ขน้ึ เป็นต้น 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้านมี ตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น สัดส่วนการผลิตกําลังคนระดับกลางและระดับสูง จําแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษา ใน 44
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 สาขาวิชาทส่ี อดคลอ้ งกับความต้องการของ ตลาดงานและการพฒั นาประเทศเพิ่มข้นึ ร้อยละของสถาบันการศึกษา จัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนในโรงงานตามมาตรฐานที่กำหนดเพิ่มขึ้น จำนวน หลักสตู รของสถานศึกษาท่ีจัดการศกึ ษาทวิวุฒิ (Dual Degree) เพิม่ ขึ้น จำนวนสถาบันอาชวี ศึกษาและอุดมศึกษา ที่จัดหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษเพิ่มขึ้น และมีภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชน สถาน ประกอบการ สมาคมวิชาชพี และหน่วยงานท่จี ดั การศกึ ษาเพมิ่ ขน้ึ เป็นต้น 2.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ มี ตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น สัดส่วนเงินลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนเมื่อเทียบกับภาครัฐ สัดส่วนค่าใช้จ่ายการ ลงทนุ เพ่ือการวิจัยและพฒั นาเม่ือเทยี บกับผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเพิ่มข้นึ โครงการ/ งานวิจัยเพื่อสร้าง องค์ความรู้/นวัตกรรมท่ีนําไปใช้ประโยชน์ในการพฒั นาประเทศเพิ่มขึ้น บุคลากรด้านการวิจยั และพัฒนาต่อประชากร 10,000 คน เพิ่มขึ้น นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ที่ได้จดสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญา เพม่ิ ขน้ึ และผลงานวจิ ัยทไ่ี ดร้ ับการตพี ิมพใ์ นระดับนานาชาตเิ พ่มิ ขึน้ เป็นต้น โดยได้กำหนดแนวทางการพัฒนา คือ ผลิตและพัฒนากําลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความ ต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ส่งเสริม การผลิตและพัฒนากําลังคนที่มี ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้าง ผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และมีแผนงานและโครงการสำคัญ เช่น โครงการจัดทำแผนผลิตและพัฒนา กําลงั คนให้ตรงกับความตอ้ งการของ ตลาดงานในกลุ่มอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย เป็นตน้ ❖ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ มเี ปา้ หมาย ดงั นี้ 3.1 ผูเ้ รยี นมีทักษะและคณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานของพลเมอื งไทย และทักษะและคณุ ลกั ษณะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษ ที่ ๒๑ มตี ัวชว้ี ดั ทส่ี ำคัญ เชน่ ผู้เรยี นท่มี คี ุณลกั ษณะและทกั ษะ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่มิ ข้ึน ผ้เู รียนทกุ ระดับ การศึกษามีพฤตกิ รรมที่แสดงออกถึง ความมวี นิ ยั และมีจิตสาธารณะเพิม่ ขึ้น สถานศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น หรอื เทียบเทา่ ขน้ึ ไป ทจี่ ัดกจิ กรรมสะทอ้ นการสร้างวินัย จติ สาธารณะ และคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์เพ่มิ ข้ึน เปน็ ต้น 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ สมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น เด็กแรกเกิด – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น นักเรยี นมีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษา ระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) แต่ละวชิ าผ่านเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้ึนไปเพิ่มข้ึน ผู้สูงวัย ที่ได้รับบริการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชีวิตเพิม่ ข้ึน และมสี าขาและ วชิ าชพี ทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผสู้ ูงวยั ไดร้ ับการส่งเสรมิ ให้ทำงานและถา่ ยทอดความร/ู้ ประสบการณเ์ พ่ิมขน้ึ เปน็ ตน้ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพ และมาตรฐาน มตี ัวชี้วัดท่สี ำคัญ เช่น ศูนยเ์ ดก็ เลก็ /สถานศึกษาระดับกอ่ นประถมศกึ ษาท่ีจดั กิจกรรมการเรียนรู้ได้ คุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขึ้น สถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจัดกิจกรรม ที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานคุณภาพเด็กปฐมวัย ของอาเซียนเพิ่มข้ึน สถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหม้ ี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น และสถาบันการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและ อุดมศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตร ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 เพ่ิมข้ึน เปน็ ตน้ 45
แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศกึ ษา 2564 3.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชน สามารถเข้าถงึ ได้โดยไม่จำกดั เวลาและสถานท่ี 3.5 ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมนิ ผลมปี ระสิทธิภาพ 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดบั สากล 3.7 ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ❖ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มีเปา้ หมาย ดงั นี้ 4.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพ 4.2 การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทลั เพือ่ การศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย 4.3 ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการวาง แผนการบริหารจดั การศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล ❖ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 : การจดั การศึกษาเพ่อื สร้างเสริมคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม มเี ปา้ หมาย ดงั น้ี 5.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ 5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการน าแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติ 5.3 การวิจยั เพอื่ พัฒนาองคค์ วามร้แู ละนวัตกรรมดา้ นการสร้างเสริมคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม ❖ ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 : การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษามีเป้าหมาย ดังนี้ 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถ ตรวจสอบได้ 6.2 ระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลส่งผลต่อคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา 6.3 ทุกภาคส่วนของสงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาท่ีตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพน้ื ที่ 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษารองรบั ลกั ษณะที่แตกต่างกนั ของผู้เรยี น สถานศึกษา และความตอ้ งการกำลงั แรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษามีความเปน็ ธรรม สร้างขวญั กำลงั ใจ และสง่ เสรมิ ให้ปฏิบัตงิ านได้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ 46
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล ผลผลิต /ผลลัพธ์ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น สามารถท่องจำและนำสิ่งที่จำไปฝึกคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดในเชิงสร้างสรรค์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น สอดคล้องกับ ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณธรรมจริยธรรม ผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับ/ประเภทได้รับการศึกษาที่มี คุณภาพมาตรฐาน มีจิตสำนึกประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวมทั้งสามารถอยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสามัคคปี รองดอง กลยทุ ธ์ 1.1 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียน ในรูปแบบทห่ี ลากหลาย สอดคลอ้ งกับทกั ษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 1.2 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวัดและประเมินผลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษาให้ ทนั สมัย สอดคล้องกับความกา้ วหน้าทางวิทยาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 1.3 ส่งเสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อการผลิต สือ่ การเรียนการสอน ตำราเรยี นท่มี ีคณุ ภาพ รวมท้งั ตำราเรยี นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 1.4 ปรับปรุงระบบทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาตใิ หส้ อดคล้องกบั หลกั สูตรและกระบวนการจัดการ เรียนการสอน 1.5 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโ ลก ตามหลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพยี งในระบบการศกึ ษาอยา่ งเขม้ ขน้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยทุ ธศาสตรผ์ ลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผลผลิต /ผลลพั ธ์ มีการผลิตครูได้สอดคล้องกับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับทุกประเภทมีครูครบตาม เกณฑ์มีครูประจำชน้ั ครบทุกหอ้ ง และมีครูทจ่ี บตรงวุฒิตามสาขาวชิ าทสี่ อน ผู้มใี บอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู มีจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งมีคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศกั ยภาพในการสอนได้อยา่ งเต็มทแ่ี ละขวญั กำลังใจทดี่ ีในการปฏบิ ัติหน้าท่ี กลยุทธ์ 2.1 วางแผนการผลติ และพัฒนาครู คณาจารย์ อยา่ งเปน็ ระบบใหส้ อดคล้องกับความต้องการในการ จัดการศึกษาทกุ ระดับ / ประเภทการศกึ ษา 2.2 ปรบั ระบบการผลติ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 47
แผนปฏิบตั ิการประจำปีการศึกษา 2564 2.3 เร่งรัดพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา รวมทั้งครูประจำการที่สอนไม่ตรงวุฒิ ค รูที่สอน คละชน้ั และครใู นสาขาวชิ าที่ขาดแคลน 2.4 สรา้ งขวัญกำลงั ใจ สรา้ งแรงจูงใจให้กับครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศึกษา 2.5 พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากำลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการ พัฒนาประเทศ ผลผลติ /ผลลัพธ์ มีการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีที่มีคุณภาพ เพิ่ม จำนวนบัณฑิตในสาขาวิชาชีพที่ขาดแคลน มีสมรรถนะ มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล ประชาชนได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด และความสนใจ รวมทั้งมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์การ ให้การรักษาพยาบาล และการพฒั นาความเปน็ ศูนยก์ ลางดา้ นการศึกษาของภูมภิ าค กลยทุ ธ์ 3.1 เร่งผลิตและพัฒนากำลังคนสาขาที่จำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี แพทย์ และพยาบาล 3.2 เร่งผลิตและพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และรองรับพ้นื ท่เี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ 3.3 ส่งเสริมภาพลักษณ์การอาชีวศึกษา เร่งปรับค่านิยม และวางรากฐานทักษะอาชีพให้แก่ผู้เรียน ต้งั แตว่ ยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 3.4 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผู้มคี วามสามารถพเิ ศษอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทกุ ระดบั 3.5 เสริมสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการผลิตและพัฒนากำลังคน โดยสร้างเครือข่าย ความร่วมมอื ตามรปู แบบประชารฐั ทง้ั ระหวา่ งองคก์ รภายในและต่างประเทศ 3.6 ส่งเสรมิ งานวิจยั และนวัตกรรมท่ีสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชวี ิต ผลผลติ /ผลลพั ธ์ ผเู้ รยี นทกุ คนเขา้ ถึงการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพอย่างเท่าเทียมกนั ในทุกระดับและประเภทการศึกษา ได้รับ การสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และสามารถเรยี นรูจ้ ากแหลง่ เรียนรู้ได้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบทได้รับการยกระดับคุณภาพในการให้บริการเด็กพิการและด้อย โอกาสไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาท้งั ในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน รวมท้งั สามารถเทยี บโอนผลการเรียน และทกั ษะประสบการณเ์ พอื่ ขอรับวฒุ ิการศึกษาเพ่ิมขึน้ ได้ 48
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 กลยทุ ธ์ 4.1 ประกันโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน ในทุกพืน้ ท่ี ครอบคลมุ ถงึ คนพกิ าร ผ้ดู ้อยโอกาส และผู้มคี วามตอ้ งการพิเศษ 4.2 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบ และการเขา้ ถงึ แหลง่ เรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความสนใจ และ วิถชี ีวติ ของผูเ้ รียนทกุ กลุม่ เป้าหมาย 4.3 เร่งสร้างความเข้มแข็งของระบบการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้เกิดผล เปน็ รปู ธรรมอย่างกวา้ งขวาง 4.4 จัดหาทนุ และแหล่งทุนทางการศึกษา 4.5 เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย และสามารถให้บริการได้อย่างท่ัวถงึ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ยทุ ธศาสตรส์ ่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อการศึกษา ผลผลติ /ผลลพั ธ์ ผู้เรียน สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศกึ ษาทกุ ระดับทุกประเภทการศึกษาเขา้ ถงึ ทรพั ยากร และ ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างทวั่ ถึงและมีประสิทธภิ าพ มีองค์ความร้เู ทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงขนึ้ รวมทัง้ มีศูนยก์ ลางในการจัดเก็บรวบรวมสอื่ การเรียนการสอนแบบดิจิทัลที่ทันสมัย และระบบฐานขอ้ มูลกลางทางการศกึ ษาของประเทศทีถ่ กู ต้องและเป็นปัจจุบนั กลยุทธ์ 5.1 พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการที่ทันสมัย และไม่ซำ้ ซ้อน ให้ผ้รู ับบรกิ ารสามารถเข้าถงึ ได้อย่างทวั่ ถงึ และมีประสทิ ธิภาพ 5.2 พัฒนากระบวนการจัดทำระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบ การรายงานผลของฐานข้อมูลโดยเชื่อมโยงข้อมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา ให้เป็นอกภาพ เปน็ ปัจจุบัน และมีมาตรฐานเดียวกัน 5.3 ผลิตและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือสื่อการเรียนรูอ้ ิเล็กทรอนิกส์ให้ผู้เรียน สถานศึกษาและ หน่วยงานทางการศกึ ษาทุกระดบั /ประเภทการศกึ ษา นำมาใชเ้ พม่ิ คณุ ภาพการเรยี นร้อู ย่างเปน็ ระบบ 5.4 จัดหาอุปกรณ์ /ทรัพยากรพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรียนอย่างเพียงพอ ทั่วถึง และเหมาะสมกบั การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษา ผลผลติ /ผลลัพธ์ ระบบบริหารจัดการมีความคล่องตัวในการบริหารงานการศึกษามากยิ่งขึ้น มีความโปร่งใส และเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ โครงสร้างของกระทรวงได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพโดยการกระจาย อำนาจลงไปสู่ส่วนภูมิภาคและสถานศึกษา และมีกลไกการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสนับสนุน 49
แผนปฏิบตั ิการประจำปีการศึกษา 2564 ทรัพยากรเพื่อการศึกษา สถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทมีธรรมาภิบาลในการบริหาร รวมท้ังผู้เรียนในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทส่ี งู ข้ึน มศี กั ยภาพเพ่อื ไปประกอบอาชพี ในทอ้ งถิ่นได้ กลยุทธ์ 6.1 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเน้น ดา้ นคณุ ธรรม ความโปร่งใส ทัง้ ในระดับสว่ นกลาง และในพื้นที่ระดับภาค/จงั หวดั 6.2 พฒั นาระบบบริหารงานงบประมาณ/การเงนิ ให้มีประสิทธิภาพ 6.3 ยก ร ะ ดับคุณภาพ ก าร ศึก ษาตอ บสน อ ง ก าร สร ้างอ าชีพ และ เพ ิ่มคุณภาพ ชีวิต ลดความเหลอ่ื มลำ้ สร้างความสมานฉนั ท์ และเสริมสร้างความมน่ั คงในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 6.4 เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษา รวมทั้งสนับสนุน ทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา 6.5 เสริมสร้างภาพลักษณ์หน่วยงานให้เกิดความร่วมมือ และสร้างเครือขา่ ย/ความเปน็ ภาคหี ุน้ สว่ น กบั องค์กรทัง้ ภายในและตา่ งประเทศ 6.6 ส่งเสริมและขยายผลให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความพร้อม พัฒนา เป็นสถานศึกษานติ บิ ุคคลในกำกบั 50
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 พระบรมราโชบาย ในหลวงรชั กาลท่ี 10 พระบรมราโชบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาใน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ร.10 และพระราชกรณียกิจด้าน การศึกษาการศกึ ษาต้องมงุ่ สรา้ งพ้นื ฐาน ใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น 4 ดา้ น คือ 1) มที ัศนคตทิ ่ีถูกตอ้ งตอ่ บ้านเมอื ง 2) มีพ้นื ฐานชวี ิตทม่ี น่ั คง – มีคณุ ธรรม 3) มงี านทำ – มอี าชพี 4) เปน็ พลเมอื งดี 1. มที ัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมอื ง 1) มคี วามร้คู วามเข้าใจต่อชาตบิ า้ นเมือง 2) ยึดมน่ั ในศาสนา 3) ม่นั คงในสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 4) มคี วามเอ้อื อาทรตอ่ ครอบครวั และชุมชนของตน 2. มีพื้นฐานชวี ิตท่ีมั่นคง – มคี ณุ ธรรม 1) รจู้ ักแยกแยะสิง่ ทผ่ี ิด – ชอบ / ชว่ั – ดี 2) ปฏิบตั ิแตส่ ิ่งท่ชี อบ สิ่งทด่ี ีงาม 3) ปฏเิ สธสงิ่ ทผี่ ดิ สงิ่ ทช่ี ัว่ 4) ชว่ ยกนั สรา้ งคนดใี ห้แก่บ้านเมือง 3. มีงานทำ – มอี าชพี 1) การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือ การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็ก และ เยาวชนรักงาน สงู้ าน ทำจนงานสำเร็จ 2) การฝึกฝนอบรมท้งั ในหลกั สูตรและนอก หลักสูตรต้องมจี ุดมงุ่ หมายใหผ้ ู้เรียนทำงานเปน็ และมี งานทำในทสี่ ุด 3) ต้องสนับสนุนผสู้ ำเร็จหลักสตู รมีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลย้ี งตัวเองและครอบครัว 4. เป็นพลเมืองดี 1) การเป็นพลเมอื งดี เป็นหน้าทขี่ องทุกคน 2) ครอบครัว – สถานศกึ ษาและสถาน ประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ทกุ คนมีโอกาส ทำหน้าท่ีเป็น พลเมอื งดี 3) การเป็นพลเมืองดี คอื “เห็นอะไรทจ่ี ะทำเพ่อื บ้านเมืองไดก้ ็ตอ้ งทำ” เชน่ งานอาสาสมัคร งาน บำเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณกศุ ล ให้ทำด้วยความมีน้ำใจ และ ความเออื้ อาทร 51
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อใหก้ ารดำเนินการจดั การศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นไป ด ้ ว ย ค ว า ม เ ร ีย บ ร ้ อย บ ร ร ล ุ เ ป ้ า ห ม าย อ า ศ ั ย อ ำ น า จ ต า มค ว า มใ น มา ต ร า 8 แ ล ะ ม า ต ร า 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดำเนินงานในการจัดทำแผนและ งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมทง้ั ขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานด้านการศึกษาให้มีคุณภาพ ประสทิ ธิภาพในทุกมิติ โดยใชจ้ า่ ยงบประมาณอย่างคมุ้ คา่ เพ่ือม่งุ เปา้ หมาย คือ ผู้เรียนทุกชว่ งวัย ดงั นี้ หลกั การตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กระทรวงศึกษาธิการมุง่ มั่นดำเนินการภารกจิ หลักตามแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ใน ฐาน ะ หน ่ว ยง าน เจ้าภาพ ขั บเ ค ลื่อ น ทุก แผน ย่อ ย ใน ปร ะ เด็น 12 ก าร พ ัฒ น า การเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษา และนโยบายรัฐบาลทั้ง ใน ส่วนน โยบายหลัก ด้านก ารปฏิร ูปกระบวนก ารเรียนรู้ และการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว่ งวัย และนโยบายเรง่ ด่วน เรื่องการเตรยี มคนไทยสูศ่ ตวรรษท่ี 21 นอกจากน้ียัง สนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉ บ ั บ ท ี ่ 12 (พ . ศ . 2561 – 2564) น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ร ะ ด ั บ ช า ต ิ ว ่ า ด ้ ว ย ความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทกุ ช่วงวยั จะได้รบั การพัฒนาในทกุ มิติ เป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ และมคี วามพรอ้ มรว่ มขับเคลื่อนการพฒั นาประเทศ สู่ความม่นั คง มงั่ คั่ง และยัง่ ยนื ดังน้ัน ในการเรง่ รดั การทำงานภาพรวมกระทรวงใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ เพ่ือสร้างความ เชื่อมั่นให้กับสงั คม และผลักดันให้การจดั การศึกษามีคณุ ภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึง กำหนดนโยบายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1. ปรับรื้อและเปลย่ี นแปลงระบบการบรหิ ารจัดการ โดยมุ่งปฏริ ปู องคก์ ารเพ่ือหลอมรวมภารกิจและ บคุ ลากร เช่น ด้านการประชาสมั พนั ธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ท่สี ามารถลดการ ใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยทั้งการ บรหิ ารงานและการจดั การศึกษารองรับความเป็นรฐั บาลดิจิทลั 2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/ โครงการแบบรว่ มมือและบรู ณาการ ท่สี ามารถตอบโจทยข์ องสงั คมและเปน็ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื รวมท้งั กระบวนการ จัดทำงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ นานาชาติ เชือ่ มนั่ และร่วมสนบั สนุนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษามากยิ่งขนึ้ 52
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 3. ปรับร้ือและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของ กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้ ความสามารถของบุคลากรภาครัฐ ใหม้ คี วามพร้อมในการปฏบิ ตั ิงานรองรบั ความเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั 4. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด การศึกษาเพือ่ คุณวฒุ ิ และการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตที่สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 จุดเนน้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1.1 การจดั การศกึ ษาเพือ่ คณุ วุฒิ 1) จัดการศกึ ษาทุกระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ และการวัดประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผ้เู รยี น ทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ 2) ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ินและหลกั สูตรสถานศกึ ษา ตามความตอ้ งการจำเป็น ของกลุ่มเป้าหมายและแตกตา่ งหลายตามบริบทของพ้ืนที่ 3) พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จำลองผา่ น การลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพ่ือเปิดโลกทัศนม์ ุมมองร่วมกันของผู้เรียน และครูใหม้ ากขึน้ 4) พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตและสร้างอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั สุขภาวะและทัศนคติท่ีดตี ่อการดูแลสขุ ภาพ 1.2 การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 1) จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทกุ ช่วงวยั เน้นส่งเสรมิ และยกระดับทักษะภาษาองั กฤษ (English for All) 2) ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพที่เหมาะสมรองรับ สังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร BUDDY โดยเน้นการมีส่วน ร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อส่งเสริมประชาสัมพันธ์สินค้า ออนไลนร์ ะดบั ตำบล 3) งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทำ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จงั หวดั ชายแดนใต้ และเขตพื้นท่พี เิ ศษ (พ้นื ทสี่ ูง พน้ื ทตี่ ามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพนื้ ท่ีเกาะแก่ง ชายฝ่งั ทะเท ทั้ง กลมุ่ ชนตา่ งเชอื้ ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กล่มุ ชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว 4) พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และ ภาษาองั กฤษ รวมทัง้ การจดั การ 5) พัฒนาครูอาชีวศึกษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on Experience) เพื่อให้มี ทกั ษะและความเช่ียวชาญทางวชิ าการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศกึ ษาชน้ั นำของประเทศ 53
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 6) พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคคลกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้มีความพร้อมในการ ปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์พัฒนาสมรรถนะบุคลากรระดับ จงั หวดั ทว่ั ประเทศ 2. การพัฒนาการศึกษาเพ่ือความมัน่ คง 1) พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ โดยน้อมนำยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เปน็ หลักในการดำเนนิ การ 2) เฝ้าระวังภัยทุกรูปแบบที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพติด อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์ 3) ส่งเสริมการใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกบั ภาษาไทย เป็นสื่อจัดการเรียนการสอนในพื้นที่ท่ีใชภ้ าษาอยา่ ง หลากหลาย เพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนมพี ัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งทักษะการสื่อสารและใช้ภาษาที่ สามในการต่อยอดการเรยี นรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) ปลูกฝังผ้เู รยี นให้มหี ลกั คิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผูม้ ีความพอเพียง วินัย สุจริต จติ อาสา โดยใชก้ ระบวนการลูกเสอื ยุวกาชาด 3. การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 1) สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตลังแรงงานที่มีคุณภาพ ตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษา และตามบริบทของพน้ื ที่ รวมทัง้ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศท้ังในปจั จบุ ันและอนาคต 2) สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรียน การสอนด้วยเครื่องมือปฏิบัติที่ทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นใหผ้ ูเ้ รียนมีทักษะการวิเคราะหข์ อ้ มลู (Data Analysis) และทกั ษะการสื่อสารภาษาตา่ งประเทศ 4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 1) พัฒนาแฟลตฟอร์มดจิ ทิ ัลเพ่อื การเรียนรแู้ ละใช้ดิจทิ ัลเป็นเครือ่ งมอื การเรยี นรู้ 2) ศกึ ษาและปรบั ปรงุ อตั ราเงินอดุ หนนุ คา่ ใช้จา่ ยตอ่ หวั ในการจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับ สภาพเศรษฐกิจและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 3) ระดมสรรพกำลังเพื่อส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อลดความ เหลอ่ื มล้ำทางการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั พระราชบัญญัตพิ ้ืนทน่ี วตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 5. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม 1) เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึง ประสงคด์ า้ นสิ่งแวดลอ้ ม 2) ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถ เปน็ อาชีพ และสรา้ งรายได้ 6. การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ 1) ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงานที่มี ภารกจิ ใกลเ้ คียงกนั เชน่ ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านตา่ งประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย เป็นต้น 54
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 2) ปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบยี บที่เปน็ อปุ สรรคและขอ้ จำกัดในการดำเนินงาน โดยคำนึงถงึ ประโยชน์ ของผ้เู รียนและประชาขน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยรวม 3) สนบั สนุนกจิ กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ 4) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการศกึ ษา (Big Data) 5) พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดคล้องกับการ ปฏิรปู องค์การ 6) สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างมี อิสระและมปี ระสิทธภิ าพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธิการ 7) จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต บคุ ลากรของกระทรวงศึกษาธกิ าร 8) สง่ เสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ โดยเนน้ ปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก บรเิ วณโรงเรยี นใหเ้ ออื้ ต่อการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ การขบั เคล่ือนนโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบตั ิ 1. ให้ส่วนราชการ หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจุดเน้นเป็นกรอบแนวทางมาใช้ใน การวางแผนและจัดงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยคำนึงถึงมาตรการ 4 ข้อ ตามรฐั มนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ให้แนวทางในการบรหิ ารงบประมาณไว้ ดงั นี้ 1) งดดงู านต่างประเทศ 1 ปี ยกเว้นกรณที ่ีมคี วามจำเป็นและเปน็ ประโยชน์ตอ่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2) ลดการจัดอบรมสมั มนาทม่ี ีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก 3) ยกเลิกการจัดงาน Even 4) ทบทวนงบประมาณท่ีมีความซำ้ ซอ้ น 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้น สู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน สำนักงานศึกษาธิการภาคและ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผล สป. เป็นฝา่ ยเลขานุการและผู้ช่วยเลขานกุ ารตามลำดับ โดยมีบทบาท ภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลำดับ 3. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นที่หรอื ข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและดำเนนิ การ แก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการ ติดตามฯ ขา้ งตน้ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามลำดบั อนึ่ง สำหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหน้าท่ี (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ดำเนินการอยู่ก่อน เมื่อรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสำคัญเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือ 55
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 จากที่กำหนด หากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของ ส่วนราชการหลกั และหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งตอ้ งเร่งรัด กำกบั ติดตาม ตรวจสอบให้การดำเนนิ การเกิดผลสำเรจ็ และ มีประสทิ ธภิ าพอยา่ งเป็นรูปธรรมด้วยเช่นกนั จดุ เน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพมิ่ เติม) 1. พัฒนาครูทุกระดบั ให้มีทกั ษะความรู้ท่ีจำเปน็ เพ่ือทำหน้าที่วิทยากรมอื อาชีพ (Train TheTrainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพอื่ ความเปน็ เลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) 2. จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้าง ให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเน้อื หา เพอ่ื ให้ผู้เรยี น ครู และผบู้ รหิ ารทางการศกึ ษามีทางเลอื กในการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) 3. ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคล ส่คู วามเปน็ เลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) 4. จัดทำ “คูม่ อื มาตรฐานโรงเรียน” เพ่อื กำหนดใหท้ กุ โรงเรยี นตอ้ งมีพ้ืนฐานท่ีจำเป็น” 56
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เรอ่ื ง นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ประกาศ ณ วนั ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2563 นายอมั พร พินะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษากำหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดีสมวัย ทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนัก ถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานรว่ มกับผ้อู ่นื ได้ อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็นพลเมอื งที่รู้สิทธิและหน้าที่ มี ความรับผดิ ชอบและมจี ิตสาธารณะ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น “การศึกษาข้ันพื้นฐานวถิ ีใหม่ วถิ ีคุณภาพ” มุง้ เนน้ ความปลอดภยั ในสถานศึกษา สง่ เสริมโอกาสทางการศึกษาที่มี คณุ ภาพอย่างเท่าเทยี ม และบรหิ ารจัดการศกึ ษาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ดงั นี้ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 วิสยั ทัศน์ สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนษุ ย์ สูส่ งั คมอนาคตท่ียงั่ ยืน พันธกจิ 1. จัดการศึกษาเพือ่ เสรมิ สรา้ งความมนั่ คงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและมีความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสร้างขีดความสามาร ถ ในการแข่งขนั 3. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพผ้เู รยี นใหม้ ีสมรรถนะตามหลกั สูตรและคณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รบั บริการทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึงและเทา่ เทยี ม 5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีสมรรถนะด้านภาษาและการใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัล 57
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 6. จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เป้าหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษาทุกระดับ และจัดการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) เพอื่ พฒั นามุ่งสู่ Thailand 4.0 นโยบาย 1. ด้านความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีสามารถ ปรับตวั ต่อโรคอุบตั ิใหม่และโรคอบุ ัตซิ ้ำ 2. ดา้ นโอกาส 2.1 สนบั สนนุ ใหเ้ ด็กปฐมวยั ไดเ้ ข้าเรียนทกุ คน มีพัฒนาการที่ดี ทงั้ ทางรา่ งกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ให้สมกบั วัย 2.2 ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่ อ และประกอบอาชีพ ตรงตามศกั ยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทง้ั สง่ เสริมและพัฒนาผู้เรยี นท่ีมีความสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศเพื่อเพ่ิม ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ 2.3 พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือเดก็ และเยาวชนทอี่ ยใู่ นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพ่อื ป้องกันไม่ให้ออก จากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทยี มกัน 2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ดา้ นคุณภาพ 3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็น ของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มที ัศนคติท่ีถูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง 3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลือกศึกษาต่อ เพอื่ การมีงานทำ 3.3 ปรบั หลักสตู รเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักท่ีจำเป็น ในแต่ละ ระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบตั ิจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สรา้ งสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการจัด การศึกษาเพอื่ พัฒนาพหปุ ัญญา พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลผู้เรียนทุกระดับ 3.4พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้เป็นครยู คุ ใหม่ มศี กั ยภาพในการจัดการเรียนการสอนตาม 58
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศึกษา 2564 หลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนา ตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเน่อื ง รวมท้งั มจี ิตวญิ ญาณความเป็นครู 4. ประสิทธิภาพ 4.1 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชพ้ ้นื ทเ่ี ป็นฐาน มนี วัตกรรมเป็นกลไกหลกั ในการขบั เคลอ่ื น บนฐานข้อมูลสารสนเทศทีถ่ ูกต้อง ทนั สมัย และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น 4.2 พฒั นาโรงเรยี นมัธยมดสี ่มี ุมเมือง โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียน ที่สามารถดำรงอยู่ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างย่งั ยนื สอดคล้องกบั บรบิ ทของพนื้ ที่ 4.3 บริหารจดั การโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา ที่มีจำนวนนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 นอ้ ย กวา่ 20 คน ใหไ้ ดร้ ับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน 4.4 สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพในสถานศกึ ษาทม่ี ีวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ และสถานศึกษา ท่ตี ้งั ในพน้ื ทลี่ กั ษณะพิเศษ 4.5 สนับสนุนพืน้ ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาใหเ้ ป็นต้นแบบการพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษาและการ เพม่ิ ความคล่องตวั ในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 4.6 เพิม่ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์หนว่ ยงาน 1. การจดั การศึกษาเพื่อความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ 2. การจัดการศึกษาเพอ่ื เพิ่มความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 3. การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 4. การสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา 5. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา 59
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 12 นโยบาย การจัดการศึกษา นางสาวตรีนุช เทยี นทอง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมื่อวนั ที่ 29 มีนาคม 2564 เพื่อเป็นการตระหนักถึงความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดช่วงชวี ิต การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ ช่วงตั้งครรภจ์ นถึงปฐมวัย การพัฒนาชว่ งวยั เรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดบั ศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการ ส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพฒั นาการเรียนรทู้ ี่ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และ พหปุ ญั ญาของมนษุ ยท์ ่ีหลากหลาย และประเด็นอื่นที่เก่ยี วข้อง ข้อ 1 การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลง ของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะ ท่เี หมาะสมกบั บรบิ ทสังคมไทย ข้อ 2 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ ทั้งด้านการจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สื่อทันสมัย และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลลพั ธ์ทางการศึกษาทเี่ กิดกับผู้เรยี น ข้อ 3 การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรยี นรูด้ ้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และ การส่งเสริมการฝึกทกั ษะดิจทิ ัลในชีวิตประจำวนั เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอรม์ การเรียนรู้ดว้ ย ดิจิทลั แหง่ ชาติ ที่สามารถนำไปใชใ้ นกระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ท่ี ันสมัย และเข้าถงึ แหล่งเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างกว้างขวาง ผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานขอ้ มูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร และการจดั การศกึ ษา ข้อ 4 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการปรับปรุง เพื่อกำหนด ให้มีระบบบริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน ให้มคี ุณภาพ สถานศึกษาใหม้ ีความเปน็ อสิ ระและคล่องตวั การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มรี ะบบการบริหารงานบคุ คลโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล ข้อ 5 การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัดความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอดุ มศึกษา ทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการ ประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรบั ปรงุ ใหท้ ันสมัย ตอบสนอง ผลลัพธท์ างการศกึ ษาไดอ้ ย่างเหมาะสม 60
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 ข้อ 6 การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรใหท้ ั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร ทางการศกึ ษาจากความร่วมมอื ทกุ ภาคส่วน เพื่อให้การจัดสรรทรพั ยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมและสร้าง โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น 1 กระจายทรัพยากรทั้งบุคลากรทาง การศึกษา งบประมาณและสื่อเทคโนโลยีได้อย่างทวั่ ถงึ ข้อ 7 การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติ เป็นการผลติ และการพัฒนากำลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศโดยใชก้ รอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชือ่ มโยงระบบการศึกษา และการอาชีพโดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิต และการจดั ทำมาตรฐานอาชพี ในสาขา ทีส่ ามารถอา้ งอิงอาเซยี นได้ ข้อ 8 การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาใหส้ มกบั วยั เพ่ือเปน็ การขบั เคลื่อนแผนบูรณาการ การพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามพระราชบญั ญัตกิ ารพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒ สู่การปฏิบัติเปน็ รูปธรรม โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไป เปน็ กรอบในการจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารเพ่อื พัฒนาเดก็ ปฐมวัย และมีการติดตามความกา้ วหน้าเป็นระยะ ข้อ 9 การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ ผู้จบ การศกึ ษาระดบั ปริญญาและอาชีวศึกษามอี าชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีพและคุณภาพชีวิตท่ีดี มีส่วน ช่วยเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทีโลกได้ ข้อ 10 การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยมาใช้ในการ จัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ท่ที ันสมยั มาใช้ในการจดั การศกึ ษาผ่านระบบดจิ ิทัล ข้อ 11 การเพม่ิ โอกาสและการเข้าถงึ การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพของกลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา และ ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผู้เรียนท่มี คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ ข้อ 12 การจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย โดยยดึ หลกั การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ และ การมสี ่วนร่วมของผู้มีสว่ นเกีย่ วข้อง เพอ่ื เพ่ิมโอกาสและการเข้าถงึ การศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง การศกึ ษาและผ้เู รยี นท่มี คี วามตอ้ งการจำเป็นพิเศษ 7 วาระเรง่ ด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร วาระที่ 1 เรื่องความปลอดภัยของผู้เรียนโดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความ ปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในก ารดูแลตนเองจากภัย อันตรายต่าง ๆท่ามกลางสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม วาระที่ 2 หลักสูตรฐานสมรรถนะมุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยยึดความสามารถของ ผู้เรียนเปน็ หลัก และพฒั นาผูเ้ รียนให้เกิดสมรรถนะท่ตี ้องการ 61
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2564 วาระที่ 3 Big Data พฒั นาการจัดเกบ็ ข้อมูลอย่างเปน็ ระบบและไมซ่ ้ำซ้อน เพ่ือให้ได้ข้อมูลภาพรวม การศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่าง แทจ้ รงิ วาระที่ 4 ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลิศของแต่ละ สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประเทศทงั้ ในปัจจุบนั และอนาคต ตลอดจนมี การจัดการเรยี นการสอนด้วยเครอ่ื งมือท่ที นั สมัย สอดคลอ้ งกบั เทคโนโลยปี ัจจบุ ัน วาระที่ 5 พัฒนาทักษะทางอาชีพส่งเสริมการจัดการศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพ ของผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ที่เหมาะสม และเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ วาระท่ี 6 การศกึ ษาตลอดชีวิตการจัดเรยี นรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกชว่ งวัยให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตาม ศกั ยภาพตง้ั แตว่ ัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลกั สูตรที่เหมาะสมเพอื่ เตรียมความพรอ้ มในการเขา้ ส่สู ังคมผู้สูงวัย วาระที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรับผูท้ ี่มีความต้องการจำเป็นพิเศษส่งเสริมการจัดการศึกษาใหผ้ ู้ที่มี ความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพฒั นาอย่างเต็มศกั ยภาพสามารถดำรงชวี ิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศักด์ศิ รี เท่า เทียมกบั ผ้อู ื่นในสังคม สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองและมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศ อีกทั้งในปัจจุบันนี้ สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ดังที่มีคำกล่าวว่าเป็น “โลกไร้พรมแดน” จึงนับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างย่ิง ที่จะต้องปฏิบัติหน้าที่บนความคาดหวังของสังคมพวกเราจะต้องสร้าง “ความเชื่อมั่น ไว้วางใจ” หรือ “TRUST” ให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กและผู้ปกครอง ว่าเราสามารถที่จะเป็นหลัก หรือที่พึง่ ให้กับ พวกเขาได้ “TRUST หมายถึง ความไว้วางใจ เปน็ รปู แบบการทำงานที่จะทำให้ครูบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้เรยี น และประชาชน กลับมาใหค้ วามไว้วางใจในการทำงานของกระทรวงศึกษาธิการอีกครงั้ T ย่อมาจาก Transparency (ความโปร่งใส) R ยอ่ มาจาก Responsibility (ความรบั ผดิ ชอบ) U ยอ่ มาจาก Unity (ความเป็นอันหนงึ่ อนั เดียว) S ยอ่ มาจาก Student-Centricity (ผูเ้ รยี นเปน็ เป้าหมายแห่งการพฒั นา) T ยอ่ มาจาก Technology (เทคโนโลยี) รูปแบบการทำงาน “TRUST” คือ การพัฒนาต่อยอดจากรูปแบบการทำงาน “MOE ONE TEAM” หรือ “การทำงานร่วมกันเป็นหนึ่งเดียวของกระทรวงศึกษาธิการ” ที่กระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการ มาโดยตลอด ซึ่ง “TRUST” จะเข้ามาเป็นส่วนเสริมในเรื่อง ความโปร่งใส ทั้งในเชิงกระบวนการทำงานและ 62
แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศึกษา 2564 กระบวนการตรวจสอบจากภาคสว่ นตา่ ง ๆ การสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการตามภารกิจของตนดว้ ย ความรบั ผิดชอบตอ่ ตวั เอง องคก์ ร ประชาชน และประเทศชาติ ให้ความสำคญั กับการประสานความร่วมมือจากทุก ภาคส่วน (Participation) ผ่านกลไกการรับฟังความคิดเห็นมาประกอบการดำเนินงานต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาทง้ั น้ี กระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ พ้ืนทขี่ องทุกคนมีความเป็นอนั หนงึ่ อันเดียว ระหว่างครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้เรียน และประชาชน ซึ่งมีเป้าหมายร่วมกัน คือ การมีผู้เรียนเป็นเป้าหมาย แห่งการพัฒนา โดยการทำให้ผู้เรียนมีวิธีคิดและทักษะที่เป็นสากลสอดคลอ้ งกับพลวัตในศตวรรษที่ 21 ควบคู่ไป กับสำนึกและความเข้าใจในความเป็นไทย ผ่านการมีความพร้อมด้าน เทคโนโลยี ทั้งในเชิงโครงสร้าง (Infrastructure) คอื การเขา้ ถึงสิ่งจำเปน็ และสิง่ อำนวยความสะดวกด้านการศึกษาอยา่ งทั่วถึง เพอ่ื ลดความเหลอื่ ม ลำ้ ของโอกาสในการศึกษา และในเชงิ การเรยี นรู้ (Learning) คอื แหลง่ ข้อมูล แหล่งเรียนรรู้ ปู แบบตา่ ง ๆ ที่ทนั สมัย และจะช่วยใหผ้ ู้เรียนทุกคนถึงพรอ้ มซงึ่ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ุกประการ 63
แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศกึ ษา 2564 ทิศทางการพฒั นาการศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี ชมุ พร วสิ ัยทศั น์ (Vision) องคก์ รมติ ใิ หม่ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล บนพ้นื ฐานความเป็นไทย คำสำคัญของวิสัยทศั น์ 1. องค์กรมิติใหม่ หมายถึง องค์กรที่บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรมยุค ใหม่ และเครือข่ายความร่วมมือ 2. คุณภาพการศึกษา หมายถงึ คุณภาพผเู้ รยี น คณุ ภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ 3. มาตรฐานสากล หมายถึง การพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น คุณภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา การบรหิ ารจัดการ ดว้ ยระบบคณุ ภาพ 4. ความเป็นไทย หมายถึง หน่วยงานทางการศึกษาน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพระบรมรา โชบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 มาใช้ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษาและการจัดการเรยี นรู้ พนั ธกจิ (Mision) 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ด้วยศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนา อยา่ งยง่ั ยนื 2. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และเทา่ เทยี ม 3. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสู่มาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม สมรรถนะ และคุณลักษณะผเู้ รียนในศตวรรษที่ ๒๑ 4. ส่งเสริมและพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล และสร้างสรรค์ นวตั กรรมสู่ความเปน็ มอื อาชพี 5. จัดการศึกษาเพอ่ื สง่ เสรมิ คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ มอย่างยง่ั ยืน 6. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั นวัตกรรมยคุ ใหม่ และเครือขา่ ยความ ร่วมมือ 64
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 เปา้ ประสงค์ (Goal) 1. ผูเ้ รียนมคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมขุ ดำรงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ประชากรวัยเรียนระดับมธั ยมศึกษาทกุ คน ได้รบั การศึกษาตามสิทธอิ ยา่ งทั่วถงึ เท่าเทยี ม และมีคณุ ภาพ 3. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ สามารถพึ่งพาตนเองได้ ดำเนินชีวิตตามวิถีไทย และปรบั ตัวรับการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 4. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีจรรยาบรรณและสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชพี 5. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างเสริมคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย เ ป็นมิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม 6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร มีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ ตามหลักธรรมาภิ บาล โดยใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั นวตั กรรมยุคใหม่ และเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กลยทุ ธ์ (Strategy) กลยุทธท์ ่ี 1 จัดการศึกษาเพอื่ ความมน่ั คง สง่ เสรมิ คุณภาพชีวติ เป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม บนพืน้ ฐานความเป็นไทย กลยทุ ธท์ ่ี 2 สร้างโอกาส และลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษา กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพือ่ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสมู่ าตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 4 พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาสมู่ ืออาชีพ กลยทุ ธ์ที่ 5 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและสง่ เสริมการมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา จุดเน้นการดำเนนิ งาน 1. ดา้ นผ้เู รียน ผูเ้ รียนคณุ ภาพ 1.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) มีค่าพัฒนาสูงกว่าปีที่ผ่านมา หรือค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดบั ประเทศ 1.2 ผเู้ รยี นมีความรู้ความสามารถ มสี มรรถนะ และทกั ษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 1.3 ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1.4 ผู้เรยี นมีทักษะชีวติ ทกั ษะอาชพี ตามความถนดั เตม็ ตามศกั ยภาพ 1.5 ผเู้ รียนมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขันระดับชาติ และนานาชาติ 65
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 2. ด้านครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 2.1 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามืออาชพี 2.1.1 ครูและบุคลากรทางการศึกษามวี นิ ัย มีคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี 2.1.2 ครจู ัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ ใช้ส่อื นวัตกรรม ที่หลากหลาย 2.1.3 ครูมคี วามรู้ ทักษะทางภาษา ทกั ษะการส่อื สาร ทกั ษะดจิ ิทัล และปัญญาประดษิ ฐ์ 2.1.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษามกี ารพฒั นาตนเอง และมีความกา้ วหน้าในวิชาชพี 2.1.5 ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา มขี วญั กำลังใจ และไดร้ บั การยกยอ่ ง เชดิ ชูเกียรติ 2.2 ผู้บริหารยคุ ใหม่ 2.2.1 เป็นผู้นำการเปล่ยี นแปลง บริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยใชเ้ ทคโนโลยนี วัตกรรม และเครอื ขา่ ยความร่วมมือ 2.2.2 เป็นผูน้ ำดา้ นทกั ษะดิจทิ ลั และการส่อื สาร 2.2.3 มีการพฒั นาตนเองและมคี วามก้าวหน้าในวชิ าชีพ 2.2.4 มขี วัญ กำลงั ใจ และได้รบั การยกยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติ 3. ด้านบรหิ ารจดั การ องคก์ รมิติใหม่ 3.1 นำนวัตกรรม และเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มาใชใ้ นการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการ บริหารและการจดั การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 3.2 บริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล ไดม้ าตรฐาน มคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ 3.3 มรี ะบบประกันคณุ ภาพการศึกษาทไ่ี ดม้ าตรฐาน 3.4 บรหิ ารจดั การศกึ ษาโดยเครือขา่ ยความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน 3.5 มีสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทเ่ี ออื้ ตอ่ การปฏิบัตงิ านและการเรียนรู้ ค่านิยมองคก์ ร ย้ิมแย้มแจม่ ใส วอ่ งไวทกุ งาน บรกิ ารประทบั ใจ มีวินัยและคณุ ธรรม Smile Speed Service Spirit 66
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษา โรงเรยี นเวยี งสระ วิสัยทัศน์ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล บนพนื้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกิจ ดำเนนิ การตามเกณฑแ์ ละวิธีการ OBECQA FOLLOW AND IMPLEMENT THE STANDARD CRITERIA OF THE OBECQA เป้าหมาย ผเู้ รยี นมีคุณภาพ ชุมชนศรทั ธา เอกลักษณ์ “ โรงเรยี นในฝัน: CLEAN GREEN SAFE ” อตั ลักษณ์ SMART S คือ Smile M คอื Moral A คือ Active R คือ Ready T คอื Talent 67
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศึกษา 2564 คา่ นิยมรว่ ม รักองค์การ งานถกู ตอ้ ง ยกยอ่ งคณุ ธรรม กลยุทธ์ กลยุทธท์ ่ี 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐานเทยี บเคียงมาตรฐานสากล กลยุทธท์ ่ี 2 ส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมของผเู้ รียน สำนึกในความเป็นไทยและวิถีชวี ติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียง กลยทุ ธ์ท่ี 3 สง่ เสริม สรา้ งศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้ได้รบั การพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง กลยุทธ์ที่ 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เพอ่ื สง่ เสริมการบริหารจดั การ ดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ICT กลยุทธ์ที่ 5 พฒั นาสภาพแวดล้อมและแหล่งเรยี นรภู้ ายในใหเ้ อ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้ 68
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในโรงเรียนเวยี งสระ ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน เชงิ เชิงคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ปรมิ าณ เชิงปรมิ าณ เชิง 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น (รอ้ ยละ) 1) มีความสามารถในการอา่ น รอ้ ยละทไี่ ด้ รอ้ ยละ คุณภาพ การเขียน การส่ือสารและการคิดคำนวณ 70 ดี 2) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคิด 70 ดี เปรียบเทยี บ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน 80 ดเี ลิศ ความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา ค่าเปา้ หมาย 3) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม 80 ดเี ลศิ 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 91.63 +21.63 ยอดเยย่ี ม สารสนเทศ และการส่อื สาร 80 ดเี ลศิ 5) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตร 80 ดเี ลิศ 93.15 +23.15 ยอดเยี่ยม สถานศกึ ษา 6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคติท่ีดตี ่อ 75 ดี 84.68 +4.68 ดเี ลศิ งานอาชพี 1.2 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของนกั เรียน 85 ดีเลศิ 92.96 +12.96 ยอดเยี่ยม 1) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดตี ามท่ี สถานศึกษากำหนด 80 ดีเลศิ 95.63 +15.63 ยอดเยี่ยม 2) ความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย 80 ดเี ลศิ 97.93 +17.93 ยอดเยี่ยม 3) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความ แตกต่างและหลากหลาย 80 ดีเลิศ 96.40 +21.40 ยอดเยย่ี ม 4) สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม 80 ดีเลศิ 91.27 +6.27 ยอดเยี่ยม 80 ดเี ลิศ 90.11 +10.11 ยอดเยย่ี ม 91.05 +11.05 ยอดเยี่ยม 88.66 +8.66 ดเี ลิศ 87.50 +7.50 ดีเลศิ 93.20 +13.20 ยอดเยย่ี ม 69
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา 2564 มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน เชงิ เชิงคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ปริมาณ เชิงปริมาณ เชิง (รอ้ ยละ) 2.1 การมเี ป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และ 70 ดี ร้อยละทไี่ ด้ ร้อยละ คณุ ภาพ พันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน 70 ดี 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของ 70 ดี เปรยี บเทียบ สถานศึกษา 70 ดี 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพ คา่ เปา้ หมาย ผ้เู รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและ 70 ดี ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 70 ดี 91.22 +21.22 ยอดเย่ียม 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรใหม้ ีความ เชย่ี วชาญทางวิชาชพี 70 ดี 97.60 +27.60 ยอดเยย่ี ม 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ สงั คมทเี่ อือ้ ตอ่ การจดั การเรียนรู้อย่างมี 70 ดี 93.11 +23.11 ยอดเยี่ยม คุณภาพ 70 ดี 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื 70 ดี 80.74 +10.74 ดเี ลศิ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการ 70 ดี เรียนรู้ 70 ดี 88.90 +18.90 ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการ 70 ดี 91.92 +21.92 ยอดเยย่ี ม สอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 95.0 +25.00 ยอดเยย่ี ม 3.1 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิ จรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ 92.15 +22.15 ยอดเย่ยี ม 3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง 100 +30 ยอดเยีย่ ม เรียนรูท้ ่เี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ 91.69 +21.69 ยอดเยี่ยม 3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็น 92.73 +22.73 ยอดเยี่ยม ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น 93.82 +23.82 ยอดเยี่ยม 3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะทอ้ นกลับเพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรุงการ 92.26 +22.26 ยอดเยี่ยม จัดการเรียนรู้ 70
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2564 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาถือเปน็ ข้อมูลสารสนเทศสำคญั ที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา 4 ปี และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการ ดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมท้งั แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความตอ้ งการการชว่ ยเหลือได้ดังนี้ สรุปผล จุดเด่น จุดควรพัฒนา ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณภาพผเู้ รียน จากการที่โรงเรียนมีแผนงานพัฒนาคุณภาพ 1) เน้นความสามารถในการอา่ นและเขียนได้ การศึกษา และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทำให้นักเรียนมี เหมาะสมตามระดับชั้น ความสามารถในด้านการสื่อสาร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีคะแนน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสมตามระดับช้ัน เฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ความสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมตามระดับ (O-NET) สูงกว่าระดับชาติ ในวิชาภาษาไทย ชั้น ชั้นในระดับดี มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ส่งเสริมให้ วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ผู้เรียนเขา้ ร่วมโครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศทางวิชาการ แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม เช่นการจัดกิจกรรมบันทึกการ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และ อ่าน การเสนอข่าวสารประจำวัน การใช้ภาษาอังกฤษใน เทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน (Junior Science ชีวิตประจำวัน และส่งเสริมการใช้คณิตศาสตร์ใน Talent Project.) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รุ่นที่ 24 ชีวิตประจำวัน ให้เป็นรูปธรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ประจำปี พ.ศ.2564 พฒั นาผเู้ รียนให้มีความรู้ ทกั ษะ และ ความสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมตาม เจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชัน้ ที่สูงขึน้ หรอื มี ระดบั ช้ัน วุฒิภาวะทางอาชีพเหมาะสมกับชว่ งวัย ผ้เู รียนสามารถใช้ 2) พัฒนาผเู้ รียนด้านผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทุก เทคโนโลยใี นการสื่อสารและแสวงหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง รายวชิ า ทกุ ระดบั ชัน้ เรียน ใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายของ สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมรองรับความแตกต่างและ สถานศึกษา และพฒั นานกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ชั้น หลากหลาย อาทิ เช่น ให้ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ตนเองในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ส่วนภูมิภาค ให้สงู ขึน้ อย่างตอ่ เนอื่ ง ประจำปี 2563 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เข้าร่วมแข่งขันวงปี่ พาทย์ผสมเครื่องสาย วงพิกุลทอง ได้รับรางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 2 รายการประกวดวงดนตรีไทยและวง องั กะลุงนกั เรยี น ชิงถว้ ยพระราชทาน สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช 71
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศึกษา 2564 จดุ เด่น จุดควรพัฒนา กมุ ารี ระดับภาคใต้ ผู้เรยี นไดร้ ับเกียรตบิ ตั รรางวลั ชมเชย ในการเข้าร่วมนำเสนอผลงาน กิจกรรมบริษัทสร้างการดี ระดับมัธยมศึกษา กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ นำเสนอผลงานและการประกวดแข่งขันกิจกรรมการ เรียนรู้ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โครงการโรงเรียนสุจริต) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ระดับภูมิภาค เพื่อเป็น การส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน ส่งเสริมทักษะการอยู่ ร่วมกัน ทักษะการทำงาน และการแก้ปัญหาร่วมกัน ตาม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ม ี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม ท ี ่ ด ี ต า ม ที่ สถานศึกษากำหนด และโครงการสง่ เสริมประเพณที อ้ งถ่ิน และความเป็นไทย ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผูบ้ ริหาร สถานศึกษา สถานศกึ ษา โรงเรียนมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 1) ความสามารถของคณะครใู นการวเิ คราะห์ ผบู้ ริหารมวี ิสัยทัศน์ มีภาวะผนู้ ำและมคี วามริเร่มิ ท่เี น้นการ สดั ส่วนพฤติกรรมการเรยี นรู้ตามตวั ชว้ี ดั ในแต่ละกลุม่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการ สาระเพื่อวางแผนการจัดการเรียนร้ใู ห้สอดคล้องกบั เรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการศึกษาที่เป็น พฤตกิ รรมการเรียนรตู้ ามที่หลกั สูตรตอ้ งการให้ผเู้ รยี น มิตรกับสิ่งแวดล้อม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ บรรลตุ ามเป้าหมายของหลักสูตร พอเพียงสู่การปฏิบัติ มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ 2) สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีสว่ นเกีย่ วข้อง สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา มีการติดตามนิเทศ ในการจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีความเขม้ แขง็ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และการจัดทำ 3) มสี ว่ นรว่ มรับผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา รายงานผลการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการใช้ สง่ เสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเช่ียวชาญ งานวิจัยมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษา มากข้ึนแบบมอื อาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการจัด จากกระบวนการบริหารและการจัดการ ส่งผลให้ครูและ กระบวนการเรียนรู้ online บุคลากรในโรงเรียนได้รับรางวัลประเภทต่าง ๆ จาก หน่วยงานภายในและภายนอกอย่างต่อเน่อื ง และ ไดร้ ับโล่ รางวลั โรงเรยี นท่มี กี ารบริหารจดั การศกึ ษาห้องเรยี นพิเศษ ภาษาอังกฤษดีเด่น ประจำปี2563 (2020) งานมหกรรม วิชาการ และแข่งขันทักษะวิชาการ southern EP/MEP Open House 2020 72
แผนปฏิบตั ิการประจำปีการศึกษา 2564 จุดเดน่ จุดควรพฒั นา ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั สำคญั ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายของการ 1) ครคู วรนำภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ให้เข้ามามีสว่ นรว่ ม จัดการศกึ ษา หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ปี ในการจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นได้เรยี นรู้ และลงมือปฏบิ ตั ิ พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) หลักสูตร จริง แล้วใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับแกน่ กั เรยี นทันทเี พือ่ นกั เรียน สถานศึกษาโรงเรียนเวียงสระ ตลอดจนหลักสูตรกลุ่ม นำไปใช้พัฒนาตนเอง สาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนได้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น 2) พัฒนาความสามารถด้านกระบวนการจัดการ รายบุคคลเพื่อนำมาออกแบบกระบวนการจัดการเรียน เรยี นรู้ online ใหด้ ียิ่งขนึ้ การสอน โดยใช้หลักการวิเคราะห์ผู้เรียน เช่น วิเคราะห์ 3) การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากรูปแบบพฤติกรรมการเรียนรู้ เจตคติต่อวิชา ความ และโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ในการ คาดหวังในการเรียน การจัดกระบวนการเรียนการสอน จดั การเรยี นร้แู ละประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน ครูผู้สอนใช้เครื่องมือในการวัดความรู้พื้นฐานของผู้เรียน (Pretest) ก่อนเรียน วัดผลการเรียนระหว่างเรียน และ หลังเรียน (Post-test) โดยครูจัดประสบการณ์ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้จะ บูรณาการเน้ือหาเพือ่ ชี้แนะทักษะกระบวนการคดิ การใช้ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการสอนของตนเองและ พัฒนาผู้เรียน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ในการหาความรู้จาก เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มอบหมายให้นักเรียนค้นคว้าและ นํามาอภิปรายในชั้นเรยี น มีการประเมินผลการเรียนการ สอนทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผูเ้ รียนและอิง พัฒนาการของผู้เรียน เช่น มอบหมายงานเดี่ยวและงาน กลุ่ม ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลงานที่มอบหมายใน ระหว่างเรยี น และทดสอบหลังเรยี น แลว้ นําผลประเมนิ มา ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็ม ตามศักยภาพ ในการนําผลการประเมนิ การเรียนรูม้ าเป็น แนวทางในการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน ครูผู้สอนมี การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและนาํ ผลไป ใช้พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอนตอ่ ไป 73
แผนปฏบิ ัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) โรงเรยี นมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) ลกั ษณะการเป็นมาตรฐานสากล ประกอบด้วย 1) การจดั การเรียนการสอน 2) บรหิ ารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ วัตถปุ ระสงค์โรงเรยี นมาตรฐานสากล 1) พัฒนาผู้เรยี นให้มศี ักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) 2) ยกระดับการจัดการเรยี นการสอนเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล (World Class Standard) 3) ยกระดบั การบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ (Quality System Management) ตวั ชีว้ ัดความสำเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล 1. ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น ตวั ชีว้ ัด 1.1 รอ้ ยละของนักเรยี นที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นผา่ นการประเมนิ ระดบั ชาติในระดบั ดีขึน้ ไป 1.2 รอ้ ยละของนักเรยี นได้รบั รางวัลเหรียญทองในการแข่งขันศิลปหตั ถกรรมระดับภาคหรือระดบั ชาติ 1.3 จำนวนรางวัลทีน่ กั เรียนไดร้ ับจากการเข้ารว่ มแขง่ ขนั ในระดบั นานาชาติ 1.4 นักเรยี นมคี า่ เฉลย่ี ผลการทดสอบด้วยเคร่อื งมือประเมนิ ระดับนานาชาติ เช่น PISA หรือ TIMMS ไมน่ ้อยกว่า คา่ เฉลี่ยของระดับนานาชาติ 1.5 รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่านการประเมนิ ระดับชาตอิ ยใู่ นระดบั ดีขนึ้ ไปจากเครอื่ งมอื ทีโ่ ครงการพัฒนาขน้ึ 1.6 จำนวนนักเรียนทเ่ี ข้ารบั การทดสอบภาษาองั กฤษดว้ ยเครอื่ งมือมาตรฐานระดบั นานาชาติ (เชน่ IELS, TOFEL เปน็ ต้น) 1.7 ร้อยละของนกั เรียนที่สามารถสอ่ื สารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษาคอื ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ 1.8 ร้อยละของนักเรยี นทส่ี ามารถตัง้ คำถาม ตงั้ สมมตฐิ าน และศึกษาคน้ คว้าอย่างอสิ ระดว้ ยตนเอง เพื่อหา คำตอบและสรปุ องคค์ วามรู้ได้ 1.9 รอ้ ยละของนกั เรียนที่สามารถสื่อสาร เขยี น เสนอผลการศกึ ษาค้นควา้ โดยใช้สอื่ ทเ่ี หมาะสมได้ ทมี่ แี หลง่ อา้ งอิงที่เชื่อถอื ได้ 1.10 ร้อยละของนกั เรยี นที่สามารถประยุกตอ์ งค์ความร้ทู ่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเองไปสู่ การปฏบิ ตั ิหรอื นำไปใช้เพ่ือประโยชน์แก่สังคม 1.11 จำนวนกิจกรรมท่จี ดั ให้นักเรียนได้มานำเสนอผลงานร่วมกนั ในกล่มุ ประเทศอาเซียน 1.12 จำนวนนกั เรียนแลกเปลย่ี นระหวา่ งโรงเรยี นในโครงการกบั โรงเรียนของประเทศตา่ งๆในอาเซียน 74
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2564 1.13 จำนวนโครงงานของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลายที่ส่งแขง่ ขันระดับนานาชาติ 1.14 จำนวนนักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลายท่เี ข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลยั ช้นั นำทัง้ ในประเทศและ ตา่ งประเทศ 1.15 ร้อยละของนักเรียนทม่ี คี วามรับผิดชอบตอ่ สังคมและเป็นพลเมอื งดี สามารถจดั การและควบคุมการใช้ เทคโนโลยี เพอื่ สง่ เสริมให้เกิดประโยชนต์ ่อสาธารณะและปกป้องค้มุ ครองสงั คม ส่ิงแวดสอ้ มและอุดมการณ์ ประชาธปิ ไตย 1.16 ร้อยละของนกั เรียนที่มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ กล้าเผชญิ ความเส่ียง ความสามารถใช้ความคดิ ระดับสูง มเี หตผุ ล และวางแผนจดั การส่เู ปา้ หมายทตี่ ั้งไวไ้ ด้ 2. ดา้ นหลกั สูตรและการเรียนการสอน ตัวช้วี ัด 2.1 รอ้ ยละของโรงเรยี นทจ่ี ดั หลักสูตรสถานศึกษาทเี่ ทยี บเคยี งกบั หลกั สูตรมาตรฐานสากล 2.2 รอ้ ยละของโรงเรียนที่จดั หลักสูตรที่ส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ตอบสนองตอ่ ความถนัดและศกั ยภาพตามความ ต้องการของผูเ้ รียน 2.3 ร้อยละของโรงเรียนท่จี ัดการเรียนรู้สาระการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (Independent Studey : IS) 3. ดา้ นบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ 1. ด้านคณุ ภาพบุคลากร คณุ ภาพผู้บริหารโรงเรียน ตวั ชวี้ ัด 3.1 ผบู้ รหิ ารมวี สิ ัยทัศน์และสามารถนำโรงเรียนสู่การเป็นมาตรฐานสากล 3.2 ผบู้ ริหารบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ 3.3 ผู้บริหารมีความเปน็ ผนู้ ำทางวิชาการ (Academic Leadership) ท่ีมีผลงานปรากฏเป็นที่ยอมรบั 3.4 ผู้บรหิ ารมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการส่อื สารและการบริหารจดั การ 3.5 ผบู้ รหิ ารสามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสอ่ื สาร 3.6 ผู้บริหารมีประสบการณอ์ บรม ศึกษาดงู าน แลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นการจัดการศกึ ษานานาชาติ คุณภาพของครู 3.7 ร้อยละของครดู า้ นวิชาการที่ผา่ นการประเมินความเชย่ี วชาญเฉพาะทางระดับชาติ 3.8 ร้อยละของครทู ี่มผี ลงานวจิ ัย โครงงาน หนังสอื บทความ หรือเปน็ วทิ ยากร 3.9 อตั ราการเพม่ิ ของครูทสี่ ามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสอื่ สาร 3.10 ร้อยละของครูทส่ี ามารถใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอน 3.11 รอ้ ยละทเ่ี พ่ิมขน้ึ ของครูทเี่ ข้าร่วมกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กับนานาชาติ 75
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 2. ดา้ นระบบการบรหิ ารจดั การ ตวั ชว้ี ัด 3.12 โรงเรยี นทบ่ี ริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพทีไ่ ด้รับรองจากองคก์ รมาตรฐานสากลระดับโลก 3.13 โรงเรียนมีการบรหิ ารด้านบุคลากรอยา่ งมอี ิสระคลอ่ งตวั โดยสามารถกำหนดอัตรากำลัง สรรหา บรรจุ จัดจ้าง สง่ เสรมิ และพัฒนา 3.14 โรงเรยี นสามารถแสวง ระดมทรพั ยากรด้านตา่ งๆ เพอ่ื พฒั นาความเปน็ เลศิ ในการจดั การศกึ ษาโดยสามารถ บริหารจัดการได้อยา่ งคล่องตวั ตามสภาพความตอ้ งการและจำเปน็ 3. ดา้ นปจั จัยพ้นื ฐาน ตัวชว้ี ัด 3.15 ร้อยละของโรงเรยี นที่มีหอ้ งอเิ ลกทรอนิกส์มลั ติมีเดยี 3.16 ร้อยละของโรงเรยี นมหี อ้ งทดลอง ห้องปฏิบตั ิการพรอ้ มอุปกรณท์ ีท่ นั สมัยเปน็ ไปตามเกณฑ์ 3.17 รอ้ ยละของโรงเรยี นมหี ้องสมดุ ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร (Resource Center) ทมี่ ีการบริการด้วยระบบเทคโนโลยีที่ ทันสมัย 3.18 ร้อยละของครู/นักเรียนมคี วามพงึ พอใจในการใช้ห้องสมดุ ศนู ยว์ ิทยบริการ 3.19 รอ้ ยละของโรงเรียนทม่ี ขี นาดห้องเรียนและห้องเรียนอัตราส่วนครูต่อนักเรยี นอยใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสม 4. ดา้ นเครือข่ายรว่ มพัฒนา ตัวชีว้ ัด 3.20 รอ้ ยละของโรงเรียนทม่ี เี ครอื ข่ายร่วมพัฒนา ทง้ั ในระดับท้องถ่ิน ระดบั ภมู ิภาค ระดับประเทศ และระหว่าง ประเทศ 3.21 รอ้ ยละของโรงเรียนที่มเี ครอื ขา่ ยสนับสนุนจากสถาบันอดุ มศึกษาและองค์กรอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องท้งั ภาครัฐและ ภาคเอกชนทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ 3.22 ร้อยละของครู/นักเรยี นท่ีมเี ครอื ขา่ ยเรยี นรูก้ บั บคุ คลอนื่ ทงั้ ระดับประเทศและระหวา่ งประเทศ 5. ดา้ นการวิจัยและการพฒั นา ตวั ชีว้ ัด 3.23 ร้อยละของโรงเรียนท่ีมผี ลการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการจดั การศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยปกี ารศึกษาละ 1 เรือ่ ง 76
แผนปฏิบตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2564 ตวั ชวี้ ัดโรงเรียนพระราชทาน ลำดบั เกณฑก์ ารประเมนิ ตัวช้วี ัด 1 ดา้ นที่ 1 คุณภาพนักเรียน 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั ชาติ (ONET) ของสถานศกึ ษา 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการ มีพฒั นาการอย่างตอ่ เน่ือง 3 ปี 2. นักเรยี นมีความสามารถในการอา่ นเขียนภาษาไทย การ สอ่ื สาร และ การคิดคำนวณ 3. นกั เรียนมคี วามสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสาร 4. นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ก้ปญั หา และ ประยกุ ต์ใช้ 5. นักเรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การ สื่อสาร (ICT) 6. นักเรยี นมีความก้าวหนา้ ทางการเรยี นตามหลักสูตรทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 7. นกั เรยี นมีความพร้อมในการศกึ ษาตอ่ การฝกึ งาน หรอื การ ทำงาน 7. นกั เรียนมีความรคู้ วามสามารถรอบด้าน มีความสามารถ พเิ ศษ และมผี ลงานเปน็ เลิศ 1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ 1. นักเรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม ตามทีส่ ถานศกึ ษา กำหนด และมีจิตส านึกถึงประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ตน 2. นกั เรียนตระหนกั และมสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม 3. นักเรียนยอมรับเหตุผลและความคิดเห็นของผู้อ่นื 4. นักเรยี นสามารถท างานเปน็ ทีม มีความรบั ผิดชอบ มีความ มุ่งม่ัน ในการท างาน และท างานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 5. นักเรียนมคี วามภาคภูมใิ จในความเป็นไทยและภมู ิปญั ญา ไทย มแี นวทางน าภูมิปัญญาทมี่ ีในท้องถนิ่ ของตนไปใช้ใน ชวี ิตประจำวัน 6. นักเรียนมีความมัน่ ใจในตนเอง และมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรยี น 7. นกั เรยี นสามารถรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิตได้ 77
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 ลำดับ เกณฑ์การประเมิน ตัวชว้ี ดั 8. นกั เรยี นมคี วามร้สู ึกปลอดภัย เขา้ ใจวธิ ีปอ้ งกนั ตนเองและ ผู้อื่นให้ ปลอดภัยจากสารเสพติด ปญั หาทางเพศ และอบายมุข ทกุ ชนิด 2 ด้านท่ี 2 การบริหารหลกั สูตร 1. วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการจำเป็นของสถานศกึ ษา รว่ มกับชมุ ชน และงานวิชาการ สังคม ท้องถิน่ และผมู้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ ง 1.1 การพฒั นาหลกั สูตร 2. นำผลการวิเคราะห์ทีไ่ ด้มาพฒั นาหลักสูตรของสถานศกึ ษาให้ สถานศึกษา มีความ ยืดหยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐาน 3. นำหลักสูตรสถานศึกษาไปออกแบบจัดการเรยี นการสอน เพอ่ื ให้ บรรลผุ ลตามจดุ มุง่ หมาย 4. จัดทำแผนและด าเนินการนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม และ ประเมิน การใชห้ ลักสูตร 5. สรุปผลการนิเทศ กำกบั ติดตาม และประเมนิ มาปรบั ปรุง และ พัฒนาหลักสูตร โดยใช้กระบวนการวิจัยเพอื่ พัฒนา 2.2 การจดั กจิ กรรมเสรมิ 1. นำผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลนักเรยี นรายบุคคลและความ หลกั สูตร คิดเห็นของ ผปู้ กครอง ชุมชน มาก าหนดกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร 2. กำหนดวัตถปุ ระสงค์ กรอบแนวคดิ และแนวทางการจดั กจิ กรรม เสริมหลักสูตร สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้เน้น การพฒั นา รอบด้าน 3. มรี ูปแบบการจัดกิจกรรมทหี่ ลากหลาย ทา้ ทาย สรา้ งสรรค์ ทง้ั กิจกรรมรายบคุ คล และกิจกรรมกลุม่ 4. นักเรียนทกุ คนร่วมกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรอยา่ งมีความสขุ 5. นกั เรียนมีผลงานเชิงสร้างสรรค์และเห็นการพัฒนาตอ่ ยอดได้ 2.3 สือ่ เทคโนโลยเี พ่ือการ 1. รบั ฟงั ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของครู นกั เรียน และ เรยี นรู้ และแหลง่ เรียนรู้ ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง มกี ารวิเคราะห์ สรปุ ผลเพอ่ื การออกแบบ จดั หา และผลิต 2. ออกแบบ วางแผน และจดั หาและผลิตสือ่ เทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนรู้ และแหล่งเรยี นรู้ ท่สี อดคล้องกับเป้าหมายของ หลักสตู ร 3. จดั บริการและบำรงุ รักษาสอื่ เทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้ และ แหลง่ เรยี นรู้ 78
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 ลำดบั เกณฑก์ ารประเมนิ ตวั ชว้ี ัด 4. ส่งเสริมสนับสนนุ ให้ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ และ แหล่ง เรยี นรู้ ทง้ั ทีม่ ีในสถานศึกษา ในทอ้ งถ่นิ และชมุ ชน และมี การใช้ อยา่ งเหมาะสม 5. ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่สื่อ เทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นรู้ และ แหล่งเรยี นรสู้ ู่แวดวงวิชาการ ดว้ ยรูปแบบและวธิ ีการที่ หลากหลาย น่าสนใจ 2.4 ระบบการวัดและ 1.สร้างและพัฒนาแนวทาง/กระบวนการประเมนิ ผลเพ่อื ให้ได้ ประเมนิ ผล ขอ้ มลู สารสนเทศเกยี่ วกบั นักเรยี น 2. มรี ะเบยี บการวดั และประเมนิ ผลที่สอดคล้องกับส่งิ ทต่ี อ้ งการ วัด และประเมนิ 3. สรา้ งและพัฒนาเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผลที่มีคุณภาพ และเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นระบบ ใช้งานสะดวกรวดเร็ว 4. จัดทำเอกสารประกอบการวดั และประเมนิ ผลเพอ่ื สรุป รายงาน เสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และผเู้ กี่ยวขอ้ ง 5. นำผลไปใช้เพอื่ พัฒนากระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ 3 ดา้ นที่ 3 การบรหิ ารและการ 1. ผู้บริหารมวี สิ ัยทศั นเ์ ชงิ กลยุทธ์ ยึดหลักการบริหารแบบมี จัดการศึกษา สว่ นร่วม 2. ผ้บู รหิ ารมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และเป็นแบบอย่างได้ 3.1 ภาวะผู้นา้ ของผู้บรหิ าร 3. ผบู้ ริหารจัดการศึกษาโดยยึดแผนพฒั นาสถานศกึ ษาเป็น สำคญั 4. ผ้บู ริหารมคี วามเป็นประชาธิปไตย 5. ผ้บู ริหารสรา้ งขวญั ก าลังใจใหแ้ ก่ครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษาที่เก่ียวขอ้ ง 3.2 การพฒั นาองคก์ ร 1. สถานศึกษามีระบบพฒั นาองคก์ รส่คู วามเปน็ เลิศ โดยรับฟงั ความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน 2. สถานศึกษาพฒั นาระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน 3. สถานศึกษาส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทด่ี ีงาม เพอ่ื พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียน 4. สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมสวยงาม และอาคารสถานทีม่ ี ความสะอาด และมรี ะบบการดูแลความปลอดภัย 79
แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศึกษา 2564 ลำดบั เกณฑก์ ารประเมิน ตัวชวี้ ัด 5. สถานศกึ ษามีหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบตั กิ ารถกู สุขลักษณะ มี ความมน่ั คง แข็งแรง อปุ กรณแ์ ละส่ิงอ านวยความสะดวก เพียงพอ 6. สถานศึกษามีการสง่ เสริมปฏิสัมพนั ธ์ที่ดีระหวา่ งนกั เรียน ครู บคุ ลากร ทางการศกึ ษา และผู้เกยี่ วข้อง 3.3 เทคโนโลยีและการส่ือสาร 1. สถานศกึ ษาจดั หา ผลติ ใชแ้ ละให้บริการเทคโนโลยีและการ เพ่อื การศกึ ษา สอ่ื สาร เพอ่ื การบรหิ ารและจัดการตามแผนงาน/โครงการ 2. สถานศึกษาจดั ให้มกี ารใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร เพื่อการ เรยี น การสอนและเพอื่ การบริหารและจัดการ ตามแผนงาน/ โครงการ 3. สถานศึกษากำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลการใช้เทคโนโลยแี ละ การ สือ่ สารเพอ่ื การศึกษา 4. สถานศึกษามรี ะบบดแู ลบำรุงรกั ษาเทคโนโลยแี ละการ ส่อื สาร เพ่ือการศึกษา และดำเนนิ การตอ่ เนอ่ื ง 3.4 ระบบการประกนั คุณภาพ 1. สถานศึกษาจดั ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีส่งผลตอ่ ภายใน คณุ ภาพ นักเรยี นโดยรวม 2. ผ้เู กีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายใหค้ วามร่วมมือในการด าเนินงานประกัน คุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษา 3. พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ทอ้ งถิ่น และผู้มีสว่ นเก่ยี วข้อง มน่ั ใจต่อระบบการบริหารและการจดั การ 3.5 ระบบข้อมูลและสารสนเทศ 1. จัดระบบขอ้ มลู และสารสนเทศพ้ืนฐานครอบคลุมการใชง้ าน 2. จดั เกบ็ ขอ้ มูลและสารสนเทศเปน็ ระบบ ทนั สมัย ทนั ต่อการ ใชง้ าน 3. นำขอ้ มลู และสารสนเทศไปใช้ในการบริหารและจดั การ และ พัฒนา การจดั การเรียนการสอน 4. เผยแพร่และประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู และสารสนเทศเกย่ี วกบั กจิ กรรม ของสถานศกึ ษาด้วยวธิ ีทห่ี ลากหลาย 4 ด้านท่ี 4 การจัดการเรยี นรู้ที่ 1. ครูออกแบบการเรียนรโู้ ดยใชข้ อ้ มูลจากผลการวเิ คราะห์ เนน้ นกั เรยี นเปน็ สำคัญ นักเรยี น และความเขา้ ใจนักเรยี นรายบคุ คล 2. ครูกำหนดเป้าหมาย ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะท่ี 4.1 การออกแบบการจดั การ พงึ ประสงค์ ตามมาตรฐาน ตัวช้วี ัด จุดเนน้ ของหลกั สตู ร และ เรยี นรู้ ตาม ความต้องการจ าเปน็ ของนักเรยี น 80
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีการศึกษา 2564 ลำดบั เกณฑ์การประเมนิ ตวั ชวี้ ดั 4. ครจู ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนทีอ่ อกแบบ 5. ครูวัดและประเมินผลการเรยี นอยา่ งมีคุณภาพ เน้นการมี สว่ นร่วม ของนักเรียน และผูป้ กครอง 6. ครูใช้ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้สอดคล้องกบั เป้าหมาย กิจกรรม การเรียนรู้ ตามธรรมชาตวิ ชิ า และเนน้ การมสี ่วนรว่ มของ นกั เรียน 4.2 การจัดการเรียนรูแ้ ละการ 1. ครมู คี วามรู้ความเขา้ ใจลกึ ซ้ึงในวชิ าที่สอน และจดั การเรียน จดั การชั้นเรียน การสอน อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ครูให้เวลานักเรยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตทิ างานเปน็ กลมุ่ อภปิ ราย และ นำเสนองานโดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยแี ละการสอื่ สารเพือ่ การศกึ ษา 3. ครใู หเ้ วลานกั เรยี นได้คิด ตอบปญั หา แกไ้ ขปญั หา สะท้อน ความรู้ ความเข้าใจในวชิ าท่ีเรยี น และน าความรูไ้ ปใชใ้ น ชีวติ ประจำวัน 4. ครกู ระต้นุ ให้นักเรียนกระตอื รือรน้ ท่จี ะพฒั นาวธิ ีการเรียนรู้ ของตนเอง และใส่ใจใฝร่ ู้ อดทนตอ่ การแสวงหาคำตอบ 5. ครูจดั กจิ กรรมท่ีสรา้ งปฏสิ ัมพันธท์ ดี่ ตี อ่ กนั และปลูกฝังให้ นักเรียน ยอมรับความแตกต่างของผ้อู ื่น 6. ครบู รู ณาการการเรยี นรู้วิชาท่ีสอนกับภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินและ กลุม่ สาระการเรียนรู้อ่ืน เพอื่ ให้นกั เรยี นเรียนรู้เพมิ่ ขึน้ แต่ใช้ เวลานอ้ ยลง 7. ครูจดั สอนซ่อมเสริมใหแ้ ก่นกั เรียนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการ เรยี น เพ่มิ พูนศักยภาพนักเรียนท่มี ีความสามารถพเิ ศษ 8. ครจู ัดการชั้นเรียนทชี่ ว่ ยใหน้ ักเรยี นสนใจเรยี น เห็น ประโยชนข์ อง การเรยี น และตง้ั ใจเรียน 4.3 การวัดและประเมินผลการ 1. ครูวดั และประเมินผลการเรียนร้เู พ่อื พฒั นานักเรียน และให้ เรียนรู้ นกั เรียน มีการประเมนิ ตนเอง 2. ครูวดั และประเมนิ ผลนักเรียนด้วยวิธีการและเครอื่ งมอื ประเมนิ ท่ี หลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของ รายวิชาทส่ี อน 81
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 524
Pages: