ฉบบั ที่ ๓ มถิ ุนายน-สงิ หาคม ๒๕๕๗ ครสุ ารธนบรุ ี 1
วิ ช า ชี พ ค รู แ ล ะ ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ค รู อธิการบดี (ผศ.ดร.ยุวลักษณ์ เวชวิทยาขลัง) และนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (ผศ.อารีย์ วชิรวราการ) ได้มอบ เหรยี ญทอง และช่อดอกไมแ้ สดงความยินดี แก่ นางสาวขวญั หทัย นพุ รม นกั ศกึ ษาครุศาสตร์ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา ซึ่งไดร้ บั รางวัล เหรียญทองเรยี นดี เกียรนิยมอนั ดับ 1 เมอ่ื วันท่ี 1 สงิ หาคม 2557 ในวันซอ้ มใหญพ่ ธิ พี ระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ธนบรุ ี ณ หอประชุมกองทัพเรอื โครงการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ก่อนแตง่ ต้ังใหม้ ีและเล่อื นเปน็ วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ คณะครุศาสตร์ ไดจ้ ดั โครงการพัฒนาขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตง้ั ใหม้ แี ละเลอื่ นเป็นวทิ ยฐานะชำนาญการ พิเศษรนุ่ ท่ี 4 เมื่อวนั ที่ 7 – 8,14 - 15 มถิ นุ ายน 2557 รว่ มกับสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ณ หอ้ งประชุมเฉลมิ พระเกยี รติ อาคาร 2 ชั้น 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยมี ผศ.ดร.ปนัดดา ย้ิมสกุล คณบดีคณะครุศาสตร์ และคณะวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ รศ.ดร.วไิ ล ตัง้ จติ สมคิด, ผศ.ดร.นภิ า พงศ์วริ ตั น,์ ผศ.ดร.วาสนา เพ่มิ พนู , ผศ.วสิ ูตร จำเนยี ร และ อ.นฤมล ปภัสสรานนท์ รวมทัง้ วิทยากรท่าน อื่นๆ ร่วมบรรยายให้ความรู้ แก่ผู้เข้ารับการอบรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้มี และเลื่อนเปน็ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ให้เป็นไปตามหลักสตู ร คู่มอื และแผนการจัดการเรียนรู้ และได้มาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ำหนด 2 ครสุ ารธนบุรี
บทบรรณาธกิ าร ส า ร บั ญ “ครุสารธนบุรี” ฉบับนี้ออกเผยแพร่ในเดือน วชิ าชีพครู และศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาครู 2 สิงหาคม ซ่ึงเป็นเดือนแห่ง “วันแม่” เป็นเดือนท่ี 4 พสกนิกรชาวไทยมีความปลาบปลื้มยินดีในโอกาส • โครงการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 4 เฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์ กอ่ นแตง่ ต้ังใหม้ แี ละเลอ่ื นเป็นวทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ 5 พระบรมราชินีนาถ “พระผู้ทรงเป็นแม่ และครูของ • โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการเร่อื ง “การวจิ ยั ในชัน้ เรียน” 6 แผ่นดิน” คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี • โครงการผลิตสื่ออิเลคทรอนิกส์เพื่อการเรียนการสอน 7 ขอร่วมเทอดพระเกียรติ และน้อมรำลึกในพระมหา • ระบบสารสนเทศการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู 9 กรุณาธิคุณอันย่ิงใหญ่หาท่ีเปรียบมิได้ ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาครู ผู้รับผิดชอบโครงการ และกองบรรณาธิการ สาขาวิชาภาษาไทย 11 ได้รวบรวมกิจกรรม โครงการ บทความ และสาระ 13 ความรู้ ในแต่ละสาขาวิชา เพื่อประชาสัมพันธ์ และ • สาขาวชิ าภาษาไทยจดั ประกวดเรยี งความวนั แม ่ 14 เผยแพร่ในจุลสารฉบับน้ี จึงขอขอบคุณ ผู้บริหาร 15 คณาจารย์ และผูท้ รงคุณวฒุ ทิ ุกท่าน มา ณ โอกาสน้ี สาขาจติ วิทยาและการแนะแนว 17 • สอนอยา่ งไร.........ให้รู้ทันเดก็ ยุค GEN ME 18ทป่ี รึกษากองบรรณาธกิ าร : 19ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ย้มิ สกลุ คณบดี / สาขาวชิ าสังคมศึกษาผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วสิ ตู ร จำเนยี ร, อาจารย์ ดร.นภิ าภรณ์ คำเจรญิ ,อาจารย์สมชาย ศรรี กั ษ์ รองคณบด,ี อาจารย์ ดร. สมจินตนา จิรายกุ ลุ • การเตรยี มพรอ้ มกบั การเผชิญความตายตามทศั นะ ผอู้ ำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู ทางพระพทุ ธศาสนากองบรรณาธกิ าร :อาจารย์ ดร. สมจินตนา จิรายกุ ลุ / อาจารย์วรรณนภา โพธผ์ิ ลิ / สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์อาจารย์วาสนา สังขพ์ ุ่ม / อาจารย์ณชิ ชา ชำนิยนต์ /อาจารย์ณรงค์พล เออื้ ไพจิตรกลุ • ลำดับฟิโบนักชี : สวยงาม น่าทง่ึ เปน็ ธรรมชาต ิจดั ทำรปู เล่ม :นายรณเกติ ชินตานนท/์ กรกมล สว่างจติ ต์ สาขาวชิ าคอมพิวเตอรศ์ กึ ษาช่างภาพวรวัชร เพชรคง • ครกู ับเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นการสอน ภาพปกนายอโนชา มงั สระคู นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ท่วั ไป ชั้นปที ี่ 4 สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรท์ ่วั ไปพมิ พ์ที่ :บรษิ ัท พริกหวานกราฟิค จำกัด โทร. 0 2424 3249 • โครงการสมั มนาพิเศษเพ่อื ส่งเสริมทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร ์ สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั • การพฒั นาสมองของเดก็ ปฐมวัยด้วยดนตร ี สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ • News from English Program คนดคี นเก่งครุศาสตร ์ ภาพกิจกรรม ครสุ ารธนบรุ ี 3
วิ ช า ชี พ ค รู แ ล ะ ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ค รู โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเร่อื ง “การวิจยั ในชัน้ เรียน” คณะครศุ าสตร์ โดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู จัดโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรือ่ ง “การวจิ ยั ในช้ันเรียน” เมื่อวนั ที่ 16-17 สิงหาคม 2557 ณ หอ้ งประชุมเฉลมิ พระเกียรติ อาคาร 2 ชัน้ 8 โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยวุ ลกั ษณ์ เวชวทิ ยาขลงั อธิการบดี เปน็ ประธานเปิดการอบรม และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก สุขสนุ ยั , อาจารย์ ดร.นธิ ิภทั ร บาลสริ ิ และอาจารย์ ดร.สมจินตนา จิรายุกุล เป็นวิทยากรในการอบรมเชิงปฏิบัติการในคร้ังน้ี การอบรมดังกล่าวมี ครู อาจารย์ บุคลากรทางการ ศึกษา และผู้เข้าร่วมสนใจ เขา้ รว่ มการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ จำนวน 64 คน ซึ่งวัตถปุ ระสงคใ์ นการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพือ่ ให้ ครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และผู้สนใจมีความรู้ความเข้าใจหลักการวิจัยในชั้นเรียน ฝึกปฏิบัติการสร้างงานวิจัย ในชัน้ เรียน และสามารถนำความร้ทู ีไ่ ด้ไปใชใ้ นการพฒั นางานวจิ ัยตอ่ ไปได้ โครงการผลติ สื่ออเิ ลคทรอนกิ สเ์ พอ่ื การเรียนการสอน เมื่อวันเสาร์ท่ี 26 กรกฎาคม 2557 ศูนยศ์ ึกษาพฒั นาครูได้จดั โครงการฝกึ อบรม ผลิต สือ่ อิเลคทรอนิกสเ์ พือ่ การเรยี นการสอน โดยมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื สง่ เสรมิ และสรา้ งแรงจูงใจใหก้ บั ครู อาจารย์ บุคลากร และผูท้ ส่ี นใจ ผลติ สื่อการเรยี นการสอนทมี่ ีประสิทธภิ าพเพ่ิมมากขึ้น และ สามารถพัฒนาตนเองในด้านการผลิตสื่อการเรียนการสอนด้วยตนเองให้มีประสิทธิภาพในระดับ ทีส่ ูงขนึ้ โดยทมี วทิ ยากรประกอบด้วย อาจารยณ์ ิชชา ชำนิยนต์ อาจารย์ณรงค์พล เออ้ื ไพจติ รกุล และอาจารย์วรรณนภา โพธ์ิผลิ4 ครสุ ารธนบุรี
วิ ช า ชี พ ค รู แ ล ะ ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ค รู ระบบสารสนเทศการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู Internship Information System โดย...อาจารยว์ าสนา สังข์พุ่ม ระบบสารสนเทศ ได้พัฒนาขึ้นภายใต้นโยบายของ มาตรฐานวิชาชีพครูของครุสภา โดยอาจารย์นิเทศก์ท่ีเข้าสู่ ระบบการนิเทศ จะมีนักศึกษาในการดูแลเพียง 10 คนเท่านั้น ภายในห้องนิเทศ อาจารย์นิเทศก์และนักศึกษาครู สามารถ แจ้งข่าวสาร แสดงความคิดเห็น สนทนา และส่งข้อความได้ โดยนักศึกษาครูสามารถปรึกษา และสอบถามข้อสงสัยกับ อาจารย์นิเทศก์ ผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ และเพื่อนนักศึกษา เพ่ือให้การปฏิบัติการสอนมีประสิทธิภาพ ตามพันธกิจหลัก ของคณะครศุ าสตรต์ อ่ ไป การปฏิบัติการสอนของนักศึกษาถือเป็นหัวใจสำคัญในการผลิต “ครู” เพื่อมุ่งเน้นจากทฤษฏีสู่การปฏิบัติจริงในห้องเรียน ระบบสารสนเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูท่ีพัฒนาขึ้น มุ่งเน้นกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดยเน้นให้นักศึกษาครูได้เรียนรู้ และศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมทักษะต่างๆของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ภายในระบบสารสนเทศจะประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบ3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ระบบการจัดการคลังความรู้ ที่ประกอบไปด้วยเนื้อหา การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะและเทคนิคการสอน การวัดและประเมินผล และการวจิ ัยเพ่ือการเรยี นรู้ 2) ระบบการประเมินผล สำหรบั อาจารย์นิเทศก์ เพ่ือใชป้ ระเมนิ ผลนกั ศึกษาเปน็ รายบุคคล 3) ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ (Web-board) การส่งข้อความ(Message) พร้อมแนบไฟล์เอกสารMs-Word, Ms-PowerPoint และ PDF ครสุ ารธนบุรี 5
ส า ข า วิ ช า ภ า ษ า ไ ท ย สาขาวชิ าภาษาไทยจดั ประกวดเรยี งความวันแม่ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี ได้จัดประกวดการเขียนความเรียงในหวั ข้อ “แมข่ องฉัน”เพ่ือเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2557 ซ่ึงผลการประกวด มีดังนี้ รางวัลชนะเลศิ ได้แก่ นางสาวกลั ยาณี สลี ารกั ษ์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ นางสาวกรรณิการ์ เวียนวงษ์ รางวัลรองชนะเลศิ อันดับท่ี 2 ไดแ้ ก่ นางสาวศุภกร พันละรด รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล ไดแ้ ก่ นายสทิ ธิชัย ทองอปุ การณ์ และนางสาวสุพรรณี ยฮู นั นัน โดยลักษณะนิสัยแล้วแม่เป็นคนใจเย็น น่ิง ไม่ค่อยพูด แต่ก็ เข้ากับผู้อ่ืนได้ดี เป็นคนขยันมุ่งม่ันทำอะไรทำจริง มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และเสียสละ ชอบช่วยงานชุมชน อาทิเช่น เป็นอาสาสมัครพัฒนาเรยี งความทไ่ี ด้รบั รางวัลชนะเลศิ เรื่อง “แมข่ องฉนั …” สังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ กรรมการพฒั นาบทบาทสตรตี ำบล และ อีกหลายๆอย่างที่แม่อาสาเข้าไปช่วยโดยไม่เคยหวังสิ่งตอบแทน แม่บอก ผู้หญิงคนหน่ึง คนที่ให้กำเนิดให้ความรักความอบอุ่น คนที่ให้ ฉันเสมอว่า “ถ้าหากเราอยู่ในศีลในธรรม ธรรมนั้นย่อมคุ้มครองเรา ให้ทุกสิ่งทุกอย่างในตัวฉัน ฉันเรียกผู้หญิงคนนี้ว่า “แม่” สำหรับฉันแม่เป็น หม่ันส่ังสมความดี บุญบารมีน้ีจะหนุนนำให้ชีวิตเราประสบความสำเร็จ”ผู้หญิงท่ีสวยและเก่งท่ีสุดในโลก เลี้ยงดูและส่งให้ฉันได้เรียนหนังสือจน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้แม่เป็นคนท่ีน่ายกย่องนับถือของคนในชุมชน ไม่ว่าโตมาถงึ ทกุ วนั น้ี คอยสง่ั สอนตักเตอื นในสิง่ ท่ผี ดิ สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ฉันได้ จะสุขทุกข์ก็จะแวะเวียนมาปรึกษาพูดคุยกับแม่ตลอด แม่จึงเป็นท่ีรักทำในสิ่งท่ีรักอย่างเต็มที่และสุดความสามารถ พร้อมทั้งให้กำลังใจในยาม และไว้วางใจของชาวบ้าน และแม่ก็ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากท่ีท้อแท้ จะมแี ม่ทค่ี อยปลอบและเขา้ ใจฉนั มากกว่าใครๆ ศูนย์คุณธรรมว่าเป็น “แม่ผู้เสียสละ” ได้รับรางวัลสตรีดีเด่น ผู้ทำ ในชีวิตครอบครัวของเราพ่อเป็นผู้ชายที่โชคดีที่สุดท่ีมีแม่เป็น คุณประโยชน์ต่อสังคม จ.ยโสธร รางวัลแม่ดีเด่น ประจำปี 2550, 2552คู่ชีวิต ฉันและน้องสาวก็โชคดีที่สุดท่ีได้เกิดเป็นลูกของแม่ พวกเราใช้ชีวิต และปี 2555 โรงเรียนมหาชนะชยั วิทยาคม ในครอบครัวอย่างมีความสุขตามอัตภาพ ถึงแม้จะไม่ได้ร่ำรวยไม่ได้มีชีวิต งานในชุมชนแม่ไม่เคยห่างหาย งานในบ้านก็ไม่เคยละเลย เป็นที่เลิศหรูอย่างใครๆ แต่เราก็ภูมิใจและพอใจในสิ่งท่ีตนมี เป็นความสุข แม่บ้านที่ดูแลเอาใจใส่พวกเราเป็นอย่างดีมาตลอด จนได้ รับรางวัลท่ีหาซอื้ จากท่ไี หนไม่ได้ และไมม่ ีเงินตราใดจะแลกกบั ความสุขนม้ี าได้ ชวี ติ “ครอบครัวอบอุ่นตัวอย่างของชุมชน” ประจำปี 2551 ซ่ึงแม่ทำตัวเป็นของแม่ท่ีผ่านมา 41 ปี เคยผ่านร้อนผ่านหนาวมาพอสมควร ปัญหา แบบอย่างท่ีดีเสมอมา แม่ฝึกให้ฉันได้เรียนรู้ความยากลำบากตั้งแต่เด็ก อุปสรรคและความยากลำบากหล่อหลอมให้แม่แข็งแกร่ง แม่เคยเล่าให้ฟัง ฝึกให้รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น ฝึกให้รู้จักการทำงานให้เป็นและทำงานร่วมแม้ว่าฐานะครอบครัวยากจน แม่ได้เรียนหนังสือจบแค่ชั้น ม.3 เพราะตา กับผู้อ่ืนได้ เพ่ือท่ีจะอยู่ในสังคมได้อย่างเข็มแข็ง แม่จึงเป็นแรงบันดาลใจกับยายไม่มีเงินส่งให้เรียนต่อ ในขณะท่ีเพ่ือนๆในห้องได้เรียนต่อในระดับ ของฉัน ไม่ว่าจะทำอะไรก็จะมีแม่เป็นต้นแบบ น้ันเพราะตัวอย่างท่ีดีมีค่าท่ีสูงจนได้ดีมีอาชีพท่ีม่ันคงกันทุกคน น่าเสียดายทั้งที่แม่เป็นคนเรียนเก่ง กว่าคำสอน สอบได้ที่หนึ่งของห้องมาโดยตลอด ตอนน้ันแม่เสียใจมาก แม่จึงอยากให้ฉันและน้องมีโอกาสได้เรียนสูงๆ แม่บอกว่า “ถ้าหนูต้ังใจและใฝ่เรียน หากจะกล่าวถึงความรักท่ีได้รับจากแม่ซ่ึงมากล้นเกินกว่าที่จะถึงแม้จะไม่มีเงินส่งแม่กับพ่อก็จะพยายามหามาให้ได้ เพ่ือหนูจะได้เรียน กล่ันมาเป็นคำพูดได้ รู้เพียงแค่ว่าไม่มีความรักของใครจะเทียบความรักไม่อยากให้เป็นเหมือนแม่ และจะเรียนต่อด้านไหนแม่ก็ไม่ห้าม ขอแค่หนู ของแม่ท่ีมีต่อฉันน้ันได้เลย มีคำพูดหนึ่งท่ีแม่พูดกับฉันว่า “ที่แม่ทำและสู้ตั้งใจ” คำพูดของแม่ทำให้ฉันคิดอยู่เสมอว่าความสุขและความหวังสูงสุด อยู่ทุกวันนี้ก็เพ่ือหนูสองคน” ฉันกล้ันน้ำตาไว้ไม่อยู่ ฉันภูมิใจที่ได้เกิดในของคนที่เป็นพ่อแมน่ ัน้ อยู่ที่ลูก ความรักของพ่อแม่ ถึงแมจ้ ะเปน็ เพียงชาวนาแตช่ าวนานี่แหละท่ที ำให้ชวี ติ ฉันมีค่าและสดใสได้ขนาดนี้ ได้เห็นโลกกว้างได้มีการศึกษา ขอบอกเลยว่า แม่ยังไม่ละความพยายามถึงแม้จะไม่ได้เรียนต่อ แม่ก็มาเรียนรู้ ท้ังชีวิตจะขอตอบแทนคณุ ทุกลมหายใจยังระลึกถงึ พระคณุ แม่เสมอ ขอให้งานด้านการตัดเย็บ เป็นช่างเย็บผ้าทำงานส่งเงินให้ตากับยายและเก็บเงิน แม่มีความสุข อยู่เป็นร่มโพธ์ิร่มไทรของฉันไปนานๆ รอดูวันนั้นวันที่ฉันไว้เรียนต่อ ภายหลังแม่มาเรียนต่อจนจบชั้น ม.6 ที่ กศน.ประจำอำเภอ ประสบความสำเร็จในชีวิต ฉันจะทำให้แม่ภูมิใจ แด่สุดดวงใจแม่ของฉันและเรียนต่อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา “มณี สลี ารกั ษ์” สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แม่ ถือว่าไม่มีใครแก่เกินเรียน และแม่ก็เรียนจบอย่างภาคภูมิใจด้วยเกียรติ นยิ มอันดับสอง แมเ่ รียนด้วยทำงานดว้ ยสามารถส่งตัวเองเรยี นจนจบ และ นางสาวกัลยาณี สลี ารกั ษ์นักศึกษาชัน้ ปีท่ี 3 คณะครศุ าสตร์ สามารถนำความรู้มาช่วยเหลอื สังคมและพฒั นาบา้ นเกดิ ได ้ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี6 ครุสารธนบรุ ี
ส า ข า วิ ช า จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร แ น ะ แ น ว สอนอยา่ งไร.........ใหร้ ูท้ นั เด็กยคุ GEN ME อาจารย์...วาสิณี จิรสริ ิ ผู้สอนหลายท่านคงประสบปัญหาในการเข้าถึงผู้เรียน ด้วยอายุที่ห่างกันมากเกินไปก่อให้เกิด ช่องว่างระหว่างวัยเกิดขึ้น ส่งผลให้บรรยากาศในการเรียนการสอนไม่เป็นกันเอง ไม่ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้เท่าทค่ี วร ทัง้ ๆ ที่จรงิ ๆ แล้ว ผเู้ รยี นของเรามศี กั ยภาพอยู่ไม่น้อยเลยทเี ดียว วยั เปน็ สว่ นหน่ึงของคำตอบเหลา่ น้ี โดยคนแตล่ ะยุค แตล่ ะวยั กจ็ ะมีพฤตกิ รรม ความคิด ทศั นคติ ความรู้ความสามารถท่ีแตกต่างกันออกไป ซึ่งทางสหรัฐอเมริกา และทางโลกตะวันตกได้ทำการแบ่งกลุ่ม คนออกเป็นรุ่นต่าง ๆ 8 Generation ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผู้เรียนของเราโดยเฉล่ียเกิดอยู่ในราว ๆ พ.ศ. 2540 ถงึ พ.ศ. 2544 จดั อยใู่ นคนยคุ Generation Z หรอื ท่ีเรียกกนั ในปัจจบุ ันวา่ Generation ME (เป็นคำที่คิดขนึ้ โดย Jean M. Twenge) คือคนที่เกดิ ปี พ.ศ. 2540 เปน็ ต้นไป โดยคนในชว่ งนีเ้ ติบโตมา พร้อมกับส่ิงอำนวยความสะดวกมากมาย มีความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีต่าง ๆ และเรียนรู้ได้ อย่างรวดเร็ว จากรายงานในนิตยสารไทส์ม เดือนสิงหาคม 2556 ท่ีผ่านมาระบุว่า Generation น้ีมี พฤตกิ รรมเห็นตนเองเป็นศนู ยก์ ลางของสงั คม หมกมุ่นอย่แู ตก่ ับตนเอง เชอ่ื ว่าตวั เองสำคัญ และต้องการ การยอมรบั ทางสงั คมอยา่ งสูงเพ่อื ทำใหต้ วั เองรสู้ กึ ดี พวกเขาจงึ ชอบการแข่งขนั ต้องการมีรายได้สูงกวา่ คน รอบข้าง และนำมาซ่ึงความเครียด อาการซึมเศร้าท่ีมากกว่าคนรุ่นก่อน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความกล้า ในการซิกแซกด้วยวิธีการสีเทาเพ่ือให้ได้มาซึ่งความสำเร็จแบบฉับพลันอีกด้วย เช่น การปลูกฝังเลี้ยงดูภาย ใต้วัฒนธรรม “แค่เข้าร่วมก็ได้ประกาศนียบัตร” โดยไม่สนใจถึงประสิทธิผลหรือวิธีการหรือความสำคัญ ของการเข้าร่วม ซึ่งทำให้พวกเขามักคิดว่า หากทำงาน พวกเขาควรได้รับการสนับสนุนให้เลื่อนขั้นทุกๆ สองปีโดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งพิจารณาทีผ่ ลงานหรือประสทิ ธิภาพ แต่ครั้นจะไปโทษเดก็ เพยี งอยา่ งเดียวก็คงไมไ่ ด้ เพราะสิ่งท่ีเป็นต้นเหตุในพฤติกรรมของเด็กคือ การเลี้ยงดูของพ่อแม่ ซึ่งถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง แล้ว เด็กแบบไหนทมี่ แี นวโนม้ ถกู เลี้ยงดูใหก้ ลายเปน็ เด็กรนุ่ ใหมท่ ่ถี กู เรียกว่า Generation ME 1. ลูกเป็นศูนย์กลางของบ้านถ้าเปรียบเทียบกับการเล้ียงดูของชาวจีนก็ ประมาณว่าจักรพรรดิน้อย ที่พ่อแม่คอยพะเน้าพะนอ อยากได้อะไรก็ได้ จะให้ลูกเป็น ผู้กำหนดตั้งแต่เล็ก ยกให้ลูกเป็นผู้ตัดสินใจ เพราะรักลูกอยากตามใจลูก โดยหารู้ไม่ว่า สิ่งเหล่านี้กำลังหล่อหลอมให้ลูกของเรากลายเป็นเด็กท่ีเอาแต่ใจตัวเอง และมองตัวเอง สำคัญท่สี ดุ ไมส่ นใจความรู้สกึ ของผู้อ่ืน ครสุ ารธนบรุ ี 7
ส า ข า วิ ช า จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร แ น ะ แ น ว 2. ลกู ไม่เคยผดิ หวงั สบื เนอื่ งมาจากการเป็นศนู ย์กลางของบา้ น เพราะฉะน้ันเม่อื ผู้ใหญ่ในบา้ นไมเ่ คยขดั และตามใจมาโดยตลอด จงึ มักตอบสนองในทกุ เรื่อง แม้บางเรอ่ื งเปน็ เรือ่ งท่ไี มเ่ หมาะสม เชน่ การทีล่ ูกอยากได้ ของเล่นของคนอ่นื พ่อแมก่ จ็ ะตอ้ งพยายามหาทางให้ลูกไดข้ องเลน่ ช้ินน้ัน ไปขอยมื มา หรอื ไมก่ ต็ ้องด้ินรนหาซอ้ื ของเลน่ ชิ้นใหม่จนได้ เป็นต้น 3. ลูกไม่เคยแพ้ในทนี่ เี้ ปน็ เรื่องการแข่งขันทถี่ กู ปลูกฝังมาต้งั แต่เลก็ เปน็ เดก็ ท่ตี อ้ งชนะ ไมว่ า่ จะเปน็ การ เล่นเกม หรือการเรียนก็ตาม ยกตัวอย่าง พ่อแม่ที่เล่นกับลูก ถ้าเป็นเกมท่ีต้องมีผู้แพ้ชนะ พ่อแม่มักยอมให้ลูก เป็นฝ่ายชนะตลอด เวลาลูกแพ้ ลูกมักร้องไห้หรืออารมณ์เสีย แทนที่พ่อแม่จะสอนให้ลูกรู้จักการแพ้ชนะ อย่างเป็นธรรมชาติและถูกต้องตามกฎกติกา และให้เขาได้รู้จักการจัดการกับอารมณ์น้ัน แต่พ่อแม่มักอ้างว่า รักลูก กลัวว่าลูกเสียใจก็เลยยอมแพ้ลูกตลอด จนเม่ือลูกต้องไปมีสังคมของเขาเอง เมื่อเขาแพ้ก็จะรู้สึกทนไม่ได้ ไมช่ อบหนา้ อกี ฝ่าย หรือบางทีกก็ ลายเป็นโกรธผู้นัน้ ไปเลย 4. ลูกไม่เคยลำบากข้อนี้มักเกิดกับกลุ่มพ่อแม่ชนช้ันกลางขึ้นไป ที่ไม่อยากให้ลูกลำบาก ยิ่งถ้าเป็น พ่อแม่ท่ีเคยผ่านความลำบากมาแล้ว ก็เลยมีความคิดว่าไม่อยากให้ลูกลำบากอีกต่อไป ซ่ึงเป็นความคิด และความเขา้ ใจที่ผิด เพราะความลำบากจะทำให้ลูกมภี ูมติ ้านทานชีวิตท่ดี ี 5. ลูกไม่เคยแก้ปัญหาพ่อแม่จัดการแก้ปัญหาให้ลูกหมด เพราะคิดว่าลูกยังเด็ก ลูกคงแก้ปัญหาเอง ไม่ได้หรอก ท้ังที่บางเรื่องเป็นเรื่องเล็กๆ และเป็นเร่ืองของเด็ก แต่พ่อแม่ก็ไม่ปล่อยวางให้ลูกได้ฝึกเจอ สถานการณ์ด้วยตัวเอง แต่พ่อแม่เข้าไปแก้ปัญหาและจัดการให้หมด กลายเป็นจุ้นจ้านต่อชีวิตของลูกไปซะอีก เวลาลูกเจอปัญหาอะไรต้องให้เขาฝึกเผชิญด้วยตัวเอง ไม่อย่างน้ันแล้ว เขาก็จะมองเห็นแต่ตัวเอง เม่ือเกิดอะไร ขึ้นมา เขาจะมองไมเ่ หน็ ปัญหาของคนอนื่ หรอื โทษว่าเพราะคนอื่นทำให้ฉันเกดิ ปัญหา 6. ลูกได้รับคำช่ืนชมและชมเชยแบบพร่ำเพร่ือการช่ืนชมหรือชมเชยหรือให้กำลังใจลูกเป็นเร่ืองจำเป็น แต่ต้องมีความพอดีและเหมาะสม เพราะถ้าช่ืนชมมากเกินไป พร่ำเพร่ือเกินไปก็กลายเป็นสร้างปัญหาด้วยซ้ำ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการช่ืนชมเพียงแค่เปลือก ชมที่ภายนอก เช่น ชมว่าลูกแต่งตัวสวย หล่อ หรือหน้าตาดี แต่ ไมไ่ ด้ชมทพ่ี ฤตกิ รรมของการทำดี ก็จะทำใหล้ ูกหลงและถือดีวา่ ตัวเองหนา้ ตาดี และนำไปสู่อาการหลงตวั เองได้ มีการวิจัยพบว่า การชมลูกตลอดเวลาเพ่ือให้ลูกคิดบวกหรือมั่นใจในตัวเองนั้น อาจไม่ได้นำมาซ่ึง ความสำเร็จในชีวิตจริง แต่การให้เด็กได้เผชิญกับอุปสรรคเพ่ือให้ได้พัฒนาตัวเองจนประสบความสำเร็จต่าง หากท่ีนำมาซึ่งความภาคภมู ใิ จในตัวเองในภายหลงั หากเด็กเหล่านี้กลายมาเป็นลูกศิษย์ในชั้นเรียนของพวกเรา ควรดูแลรักษาอย่างเข้าใจ ผู้เรียนของเรา อาจมีเสพติดการเช่ือมต่อ จดจ่ออยู่กับตนเอง มีการอัพเดทข้อมูลในโลกไซเบอร์ตลอดเวลาแม้ในขณะที่กำลัง น่ังเรียนอยู่กับเรา การสอนผู้เรียนกลุ่มนี้ ควรให้โจทย์การเรียนท่ีท้าทาย มีภารกิจใหม่ ๆ เปิดโอกาสให้มีการ แสดงความคิดเห็น และรู้จักการยอมรับฟังความคิดเห็นของเขาด้วย นอกจากนี้จึงควรตามเทคโนโลยีให้ทัน เพราะเทา่ กับว่า เราเปน็ พวกเดียวกบั เขาแลว้ น่นั เอง การยอมรับก็จะตามมาอกี ท้งั การต้องมกี ารปลูกฝงั ทกั ษะ ชวี ิตทีเ่ หมาะสมกบั วยั เพราะทักษะชวี ิตท่ปี ลูกฝังมาดี จะทำหน้าที่ป้องกนั ตัวเองไดเ้ ป็นอยา่ งดี ท่ีมา : นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์. (2556). Gen Me. ค้นเม่ือ 3 กรกฎาคม 2557. จาก http://www.bangkokbiznews.com, http://www.braintoyshop.com/8 ครสุ ารธนบรุ ี
ส า ข า วิ ช า สั ง ค ม ศึ ก ษ า การเตรียมพรอ้ มกับการเผชิญความตายตามทศั นะทางพระพุทธศาสนา โดย...อาจารย.์ ดร.ประพันธ์ สหพฒั นา ความตายเป็นความกังวลท่ีเกิดขึ้นกับมนุษย์ทุกคน ไม่มี นามธาตุดับไปก็ยังเป็นปัจจัยให้จิตดวงใหม่เกิดขึ้น ด้วยอำนาจแห่งมนุษย์คนไ หนหนีความตายได้ แต่ความตายกลับเป็นสิ่งท่ีมนุษย์ อนันตรปัจจัยเช่นกัน ดังนั้นเม่ือจิตที่เกิดใหม่ก็เกิดเร่ือยไป แม้กระทั่งทกุ คนตา่ งก็กังวล ไมเ่ พียงแตม่ นษุ ยเ์ ท่าน้ันสัตวก์ ก็ ลวั ตายเชน่ เดยี วกัน คนตายคือจิตดวงสุดท้ายในชาติน้ีเกิดขึ้น และดับลงไปจิตดวงใหม่ก็หากสามารถมองว่าความตายก็เป็นสิ่งธรรมดาของโลกเท่าน้ัน เกดิ ข้นึ ตอ่ เนอื่ งภพชาติใหม่กเ็ กดิ ขน้ึ ตราบจนเปน็ พระอรหันตค์ อื เป็นยอมรับกับความตายได้ ชีวิตก็มีความสุขไร้ความทุกข์กังวล แต่ จิตท่ีบริสุทธิ์หมดสิ้นจากกิเลสอันเป็นเช้ือให้ กุศลและอกุศลเกิด เม่ือความเปน็ จริงก็คอื มนษุ ยป์ ถุ ุชนทุกคนไมส่ ามารถทำไดเ้ ลยสกั คน ไม่มี นั้นจุติจิตของพระอรหันต์เกิดเม่ือใด จุติจิตของพระอรหันต์ซ่ึงหมดใครไม่กลัวความตายเลย พระพุทธศาสนามีการกล่าวถึงการตายไว้ สิ้นแล้วซ่ึงกิเลสจึงไม่เป็นปัจจัยให้จิตดวงใหม่เกิดขึ้นอีก เม่ือนั้นเองหลายนัยยะ ให้เหตุและผลเก่ียวกับความตายไว้อย่างน่าสนใจหลาย ภพชาตกิ ส็ ้ิน สามารถหลีกหนี หลกี พ้นความตายไปได้โดยส้นิ เชิงตอน ดังน้ันหากผู้อ่านได้มีโอกาสอ่านบทความน้ีจนจบแล้ว มี คำสอนในพระพทุ ธศาสนาจึงมงุ่ หวงั สงู สดุ ที่พระนพิ พานอันความเข้าใจเกี่ยวกับความตายตามทัศนะของพระพุทธศาสนาดีข้ึน เป็นความสงบจากกิเลส เคร่ืองเศร้าหมองทั้งปวง พระนิพพานเป็นแล้ว ผู้เขียนมั่นใจว่าท่านจะสามารถลดความกังวลเกี่ยวกับความตาย สภาวธรรมที่ไม่มีการเกดิ ดังนน้ั จึงไมม่ กี ารดับ เมือ่ เข้าถึงพระนพิ พานข้อข้องใจเก่ียวกับความตายได้ดีข้ึนอย่างแน่นอนไม่มากก็น้อย และ ไดแ้ ล้วจงึ ไม่ตอ้ งมกี ารเกดิ อกี เม่ือไมม่ กี ารเกิดอกี ก็ไมต่ อ้ งพบกับความบรรลุตามเปา้ หมายของการเขียนบทความครั้งน้ีของผูแ้ ตง่ ด้วย ตายอีกต่อไป ดังเช่นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงเสด็จเข้าสู่ มนุษย์มีอัตภาพท่ีประกอบด้วยรูปธรรมและนามธรรม พระมหาปรินิพพาน และบรรดาพระอรหันตสาวกในคร้ังพุทธกาลสงเคราะห์เป็นธาตุ คือรูปธาตุและนามธาตุ สงเคราะห์เป็นขันธ์ คือ เป็นอาทิรูปขันธ์ ๑ และนามขันธ์ ๔ ตราบใดท่ียังมีกิเลสแล้ว จิตซึ่งเป็น ครุสารธนบรุ ี 9
ส า ข า วิ ช า สั ง ค ม ศึ ก ษ า เม่ือทราบแล้วว่าการตายและการเกิดนั้นเกิดขึ้นติดต่อกัน เมื่อมีกรรมนิมิตอารมณ์เป็นกุศลก็นำไปสู่สุคติ แต่ถ้าหากว่าอย่างรวดเร็วดังท่ีได้อธิบายไว้ ดังน้ันเราจึงไม่รู้เลยว่าชาติหน้าของเรา มกี รรมนมิ ติ อารมณ์เป็นอกุศลแล้ว ย่อมนำไปสู่ทุคติ จะมาถึงเมื่อใด อาจมาถึงก่อนพรุ่งน้ี มื้ออาหารหน้าท่ีจะถึงก็ได้ คตินิมิตตารมณ์ เป็นการเห็นนิมิตเครื่องหมายท่ีตัวอย่างที่เห็นก็มีท่ัวไปสำหรับผู้ที่ประสพอุบัติเหตุเสียชีวิต ท่าน จะนำไปสู่สุคติ หรือทุคติ ถ้าจะไปสู่สุคติ ก็จะปรากฏเป็นผู้อ่านคงพอทราบได้ว่า ผู้ท่ีเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุหรือตายอย่าง วิมาน เป็นปราสาททิพย์สมบัติ เป็นนางเทพอัปสร เป็นร้ัววังกะทันหันน้ัน ชาติหน้า ภพหน้าของท่านเหล่านั้น มาอย่างรวดเร็ว เปน็ ครรภ์มารดา ล้วนแต่เปน็ สิ่งทีด่ ี คตนิ ิมติ อารมณ์ทีจ่ ะนำไปเรว็ กวา่ ท่ีใครจะคาดคดิ ได้ ความตายจึงไมม่ ีนมิ ิต เครอื่ งหมายบอกให้ สทู่ คุ ติ ก็จะปรากฏเป็นเปลวไฟเปน็ เหว ถ้ำอันมดื มัว หรือเปน็รู้ลว่ งหนา้ เลย นายนิรยบาล สนุ ัขแร้งกา เปน็ ต้น จะมาเบยี ดเบยี นทำร้ายตน อย่างไรก็ตามในพระอภิธรรมได้อธิบายไว้ถึงนิมิต ที่ผู้ใกล้ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เลวร้าย ท้ังน้ีปรากฏทางมโนทวารแต่ทางเสียชีวิตสามารถเห็นได้โดยท่ีผู้อื่นไม่สามารถเห็นได้เลย ซ่ึงมีชื่อว่า เดียว คือ เห็นทางใจและจัดเป็นปัจจุบัน อารมณ์เพราะกำลังกรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ ซึ่งเป็นนิมิตบอก นกึ เหน็ นิมิตน้นั ๆ อยู่ภพภูมิท่ีไปของผู้ใกล้เสียชีวิตด้วย (พระพรหมโมลี(วิลาส ญาณวโร),๒๕๔๑ :๑๒๙-๑๓๒) กล่าวคอื กรรมอารมณ์ คือ การระลึกถึงกรรมใดกรรมหน่ึง มนุษย์หรือสัตว์ที่มีกิเลสอยู่ต่างกลัวความตายทั้งส้ิน ด้วยเช่นกรรมอารมณ์ท่ีเป็นฝ่ายกุศล คือ ตนได้ให้ทาน รักษาศีล เหตุจากการยึดม่ันในตัวตน ว่าเป็นของตนของตนนั้นเอง หากลองฟังธรรม หรือเจริญ ภาวนามานั้น เคยทำอย่างไร ก็นึกก็คิด ทดสอบเร่ืองน้ีดูว่าจริงหรือไม่ ได้จากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน เมื่อญาติอยา่ งทท่ี ำอยอู่ ยา่ งนั้น มรณาสนั นชวนจติ ซงึ่ เปน็ วิถจี ติ สดุ ทา้ ย พ่นี ้อง คนสนิทมิตรสหายต้องตาย หรือพลัดพรากไป เรามีความเศร้าก่อนจุติคือตาย ก็ถือเอากรรมนั้นเป็นอารมณ์ เป็นต้น ส่วนที่ เสียใจ คร่ำครวญ ร่ำไห้ แต่เม่ือมีคนทั่วไปตามท้องถนนท่ีเราไม่รู้จักเป็นฝ่ายอกุศล เช่น ตนเคยฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ อย่างไร ก็นึก ตายหรือพลัดพรากไป ท้ังๆที่เขาก็เป็นคนเหมือนกันแต่เรากลับไม่ก็คิดอย่างที่ได้ทำอยู่อย่างน้ันมรณาสันนชวนจิตก็น้อมเอามา เศร้าใจเสียใจเหมือนเปน็ ญาติเรา คำตอบกค็ ือ เรามีความยดึ ว่าคนคนเป็นอารมณ์ กรรมอารมณ์นี้ปรากฏทางมโนทวารทางเดียว น้ันเป็นญาติของเรา เป็นเพ่ือนสนิทเรา น่ันเอง และลองคิดดูว่าหากไม่ปรากฏทางทวารทงั้ ๕ คือ ปัญจทวาร ทางตา หู จมูก ลน้ิ เป็นเราท่ีต้องตายแล้วเราจะย่ิงไม่เสียใจหรือ มนุษย์มีความรักตัวเองกาย เพราะกรรมอารมณ์น้ี นึกถึงคิดถึงการกระทำในอดีต เป็นท่ีสุด ดังนั้นการท่ีเรายึดว่าเป็นตัวเรา เป็นของเรา มันจึงเป็นเป็นอดีตอารมณ์ปรากฏทางใจเท่าน้ัน เม่ือมีกรรมอารมณ์ ความทุกข์ใจอย่างยิ่งเม่ือต้องเผชิญกับความพลัดพราก แต่หากมีเป็นกุศลก็นำไปสู่สุคติ ถ้าหากว่ามีกรรมอารมณ์เป็นอกุศล ปัญญาเป็นตามที่พระพุทธองค์ทรงส่ังสอนไว้ว่า มนุษย์เป็นเพียงธาตุกจ็ ะตอ้ งไปสทู่ ุคติ เพียงขันธ์ นามธรรมรูปธรรมท่ี มีการเกิดข้ึน ตั้งอยู่และก็ต้องดับไป กรรมนิมิตตารมณ์ หมายถึง เครื่องมือเคร่อื งใช้ ที่ตน เป็นธรรมดาเท่านั้น ความทุกข์ใจแม้จะยังมีอยู่แต่มันย่อมน้อยลงได้ใช้ในการกระทำกรรมนั้น ๆ ที่เป็นฝ่ายกุศลก็เห็นเครื่องมือ หรอื ลดลงกว่าการที่ไมร่ ู้ ไม่เห็น ตามที่ที่ตนได้ทำกุศลเป็นต้นว่า เห็นเคร่ืองสักการะที่ตนใช้บูชา เห็น พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้เลย นอกจากการมีอุปทานใน ผ้าผอ่ นทีต่ นใหท้ าน เห็นโบสถ์ เหน็ พระพทุ ธรูปที่ตนสร้าง เหน็ ตัวเรา ของเรา ในธาตุ ในขันธ์ท่ีกล่าว ข้างต้นแล้ว เราต่างกลัวการพระสงฆ์ที่ตนอุปการะบวชให้ มรณาสันนชวนจิตก็หน่วงเอา พลัดพราก จากสิ่งท่ีเรารัก ทุกคนจะกลัว กลัวว่าจะต้องจาก ต้องเป็นอารมณ์ เป็นต้น ส่วนท่ีเป็นฝ่ายอกุศล เช่น เห็นแห อวน พรากจากคนท่ีรัก สัตว์ท่ีรัก สิ่งของที่รัก ทรัพย์สมบัติท่ีหวงแหนหอก ดาบ มีด ไม้ ปืน เคร่ืองเบียดเบียน สัตว์ ที่ตนเคยใช้ ตัวอย่างที่เห็นชัดๆ และสามารถทดสอบว่าที่ผู้เขียนกล่าวไว้จริงในการทำบาปเหล่าน้ี มรณาสันนชวนจิตก็น้อมมาเป็นอารมณ์ หรือไม่นั่นก็คือ ท่านผู้อ่านเคยของหายหรือไม่ หากท่านเคยของหายท้ังนี้ถ้าเป็นแต่เพียงนึก เพียงคิดถึงวัตถุเคร่ืองมือเครื่องใช้ ลองทบทวนดูว่า เมื่อของท่ีมีค่าน้อย หรือรักน้อยหายท่านรู้สึกเช่นไรนั้น ๆ ก็ปรากฏทางมโนทวารเป็นอดีตอารมณ์ แต่ถ้าได้เห็น เศร้ามากนอ้ ยเพยี งใด แตถ่ า้ ของน้ันมีความสำคญั มาก รกั มากทา่ นจะด้วยตาจริง ๆ ด้วย ได้ยินทางหูจริง ๆ ด้วย ได้กล่ินทางจมูก เศร้า เสียใจเพียงใด นี่คือตัวอย่างการพลัดพรากเท่านั้น แต่การตายจริง ๆ ดว้ ยกเ็ ปน็ ทางปัญจทวาร คือ ตา หู จมกู ลิ้น และกาย คือการพลัดพรากทุกสิ่ง และทุกอย่างท่ีมีอยู่ในชีวิต ท้ังรักมาก หวงเป็นปัจจุบันอารมณ์ ดังน้ันคตินิมิตอารมณ์น้ี สามารถเห็นได้ มาก รักน้อย หวงน้อย ทุกสิ่งทุกอย่างท่ีมีอยู่ ครอบครองอยู่ ดังน้ันด้วยประสาทรบั รู้ท้ัง ๖ ทางคอื ตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ คนเราจึงกลัวการพลัดพรากคร้ังยิ่งใหญ่ท่ีจะต้องพลัดพรากจากของ ทกุ สงิ่ ทุกอยา่ งท่ตี นมีอยนู่ นั่ เอง10 ครสุ ารธนบุรี
ส า ข า วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ลำดับฟิโบนกั ชี : สวยงาม น่าท่งึ เปน็ ธรรมชาติ โดย...อาจารย์เกษมสันต์ รทุ ธ์ิอมร ฟิโบนักชี (Fibonacci, A.D.1) นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี เขาเกิดในยุคกลางของยุโรปท่ีศาสนาคริสต์เป็นแกนความคิดหลักของชาวยุโรป ฟิโบนักชีเรียนคณิตศาสตร์กับชาวอาหรับทำให้ฟิโบนักชีรู้จักระบบเลขฮินดู-อารบิก และนำกลับมาเผยแพร่ในยุโรป ทำให้ยุโรปเปลี่ยนจากระบบเลขโรมันมาใช้เลขฮินดู-อารบิกแทน ผลงานท่ีมีชื่อเสียงของฟิโบนักชีคือ ลำดับฟิโบนักชี ซึ่งเป็นคณติ ศาสตร์ท่พี บไดท้ วั่ ไปในธรรมชาติอย่างงดงามและนา่ ทง่ึ ฟโิ บนกั ชีไดแ้ นวคดิ ลำดับฟโิ บนกั ชมี าจากการศึกษาเรอ่ื ง การขยายพันธข์ องกระตา่ ย ดังนี้ วันท่ี 1 เดือน 1 มีลูกกระต่าย 1 คู่ เป็นตัวผู้ 1 ตัว ตัวเมีย 1 ตัว กระต่ายคู่นี้ใช้เวลา 1 เดือนในการเจริญเติบโตเป็นกระต่ายโตเต็มวยั จากนัน้ กระตา่ ยตวั เมียจะใช้เวลาตั้งท้อง 1 เดอื น แลว้ คลอดลกู ออกมา 1 คู่ เป็นกระตา่ ยตัวผู้ 1 ตัว ตวั เมีย 1 ตัวหลงั จากนน้ั กระต่ายตัวเมยี จะออกลกู 1 คู่ เปน็ ตวั ผู้ 1 ตวั และตวั เมยี 1 ตัว ทุกๆ เดือน โดยกระตา่ ยทุกคู่จะใช้เวลา 1 เดอื นในการเจริญเตบิ โตเป็นโตเต็มวยั และใช้เวลา 1 เดอื นในการต้งั ท้องแลว้ ออกลกู เปน็ เช่นนไ้ี ปเร่อื ยๆ อยากร้วู ่าวันที่ 1 เดอื น 1 ในปีต่อไปจะมกี ระต่ายทงั้ หมดกีค่ ู่ เม่ือสำรวจจำนวนคู่กระต่ายในแต่ละเดอื น จะได้ขอ้ มลู ดังน้ีเดือน 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 ... 1 1 2 3 5 8 ... จะไดล้ ำดบั ตวั เลขคอื 1, 1, 2, 3, 5, 8,... ซ่ึงมชี ื่อเรียกวา่ ลำดบั ฟิโบนักช ี ถา้ นำมาเขียนข้อมูลอยา่ งละเอยี ดในรูปของตารางจะไดด้ ังน้ีเดอื นที ่ จำนวนค่ ู จำนวนคู่ รวมจำนวนคู่ กระต่ายเก่า กระตา่ ยใหม ่ กระตา่ ยทงั้ หมด 1 2 0 1 1 3 1 0 1 4 1 1 2 5 2 1 3 6 3 2 5 7 5 3 8 8 8 5 13 ... 13 8 21 ... ... ... ทำเชน่ นี้เรอื่ ยไปจนถงึ เดอื นท่ี 1 ของปถี ัดไปจะได้ว่า มีจำนวนคู่กระต่ายทัง้ หมด 233 คู่ ครสุ ารธนบรุ ี 11
ส า ข า วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ลำดับฟิโบนักชีสามารถพบได้ในธรรมชาติเช่น การแตกของก่ิงไม้ และการแตกกิ่งของดอกไม้ ก็เป็นไปตามลำดับฟิโบนกั ชี จำนวนกลีบของดอกไมห้ น่งึ ดอกกม็ ีจำนวนเป็นลำดบั 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, 144,... ท่ัวๆ ไป สำหรับดอกไม้ที่มีจำนวนกลีบดอกไม่อยู่ในลำดับฟิโบนักชีจะมีจำนวนน้อย แต่ก็ยังมีลักษณะการสมมาตรของกลีบดอกเป็นจำนวนฟิโบนักชี เช่น ดอกไม้ที่มีจำนวนกลีบดอกเป็น 4 หรอื 6 จะมคี ู่สมมาตรกันเปน็ 2 คู่ และ 3 คู่ ตามลำดบั ซง่ึ เปน็ จำนวนฟโิ บนักชี จากลำดบั ฟิโบนกั ชี เม่อื นำพจน์ขา้ งหน้า (ตัวเลขทางซา้ ย) หารดว้ ยพจน์หลัง (ตวั เลขทางขวาทีอ่ ยตู่ ิดกัน) มาหา อตั ราสว่ น จะพบวา่ อตั ราสว่ นท่ีได้มีคา่ เขา้ ใกล ้ ดังนี้ อตั ราสว่ นท่ไี ดเ้ ปน็ ตัวเลขท่งี ดงามมากจนนักคณิตศาสตรเ์ รียกว่า อตั ราส่วนทองคำ อัตราส่วนทองคำแทนด้วยสัญลักษณ ์ ø ( พาย, Phi) ซ่ึงมีค่าประมาณ 1.618 เป็นจำนวนที่พบใน ธรรมชาติเช่นเดียวกับจำนวนฟิโบนักชี เช่น เมื่อนำระยะจากศีรษะถึงปลายเท้ามาหารด้วยระยะจากสะดือถึง ปลายเท้าจะได้ค่า 1.618 และถ้านำระยะจากไหล่ถึงปลายน้ิวมือมาหารด้วยระยะจากข้อศอกถึงปลายน้ิวมือก็จะ ได้ 1.618 เช่นกัน หรือแม้แต่ระยะจากสะโพกถึงปลายเท้าหารด้วยระยะจากเข่าถึงปลายเท้าก็ได้ 1.618 เช่นกัน นบั ว่าเป็นจำนวนทนี่ า่ ทึง่ และงดงามมาก12 ครสุ ารธนบรุ ี
ส า ข า วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ศึ ก ษ า ครกู บั เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรียนการสอน โดย...อาจารย์ ดร.นภิ าภรณ์ คำเจรญิ 5. การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Data Interchange) หรือ EDI เป็นการส่งข้อมูลหรือข่าวสารจากระบบ คอมพวิ เตอร์หน่งึ ไปสู่ระบบคอมพิวเตอรอ์ ืน่ โดยผ่านทางระบบส่ือสารข้อมลู 6. เส้นใยแก้วนำแสง (Fiber Optics) เป็นตัวกลางที่สามารถ ส่งข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็วโดยอาศัยการส่งสัญญาณแสงผ่านเส้นใยแก้ว นำแสงท่มี ัดรวมกนั 7. อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ท่ีเช่ือมโยงไปท่ัวโลก มีผู้ใช้งานหลายล้านคน และกำลังได้รับความนิยม เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เน่ือง 8. ระบบเครือข่าย (Networking System) เป็นระบบเครือข่าย การส่ือสารที่ใช้ในระยะทางที่กำหนด ส่วนใหญ่จะใช้ภายในอาคารหรือใน ในปัจจุบันน้ีเทคโนโลยีต่างๆ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่าง หนว่ ยงาน เพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพในการทำงานของคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คลใหส้ งู ขน้ึรวดเร็ว ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นการศกึ ษา เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ 9. การประชุมทางไกล (Teleconference) เป็นการนำเทคโนโลยีในเรื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นได้มีการพัฒนาก้าวหน้าอย่างล้ำสมัย ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายโทรทัศน์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมสง่ ผลใหเ้ กิดความสะดวกต่อการใชง้ านท้ังในปัจจบุ นั และในอนาคต ตลอดจน ผสมผสาน เพ่ือสนับสนุนในการประชุมให้มีประสิทธิภาพ โดยผู้เข้าร่วมเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันได้มีการบูรณาการกับระบบธุรกิจ ดังนั้น ประชุมไม่จำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งอยใู่ นหอ้ งประชุมและพ้ืนท่ีเดียวกนั องค์กรใดก็ตามจะอยู่รอดในสังคมได้ต้องสามารถปรับตัวและจัดการกับ 10. โทรทัศน์ตามสายและผ่านดาวเทียม (Cable and Satelliteเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม สำหรับในด้านการเรียนการสอนนั้นครูอาจารย์ TV) การส่งสัญญาณโทรทัศน์ผ่านสื่อต่างๆ ไปยังผู้ชม จะมีผลทำให้ข้อมูลก็ต้องพัฒนาตนเองโดยการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการ ขา่ วสารสามารถแพรไ่ ปได้อย่างรวดเรว็ และครอบคลมุ พ้นื ทีก่ ว้างขึน้ จัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ทันสมัยและเป็นสิ่งที่จะช่วยดึงดูดให้นักเรียน 11. เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) เป็นการนำนักศึกษาหันมาสนใจในเน้ือหาวิชาอีกทางหนึ่ง นอกจากน้ันผู้บริหารต้องให้ เอาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มาจัดเก็บข้อมูลหรือความสำคัญกับเทคโนโลยีด้วย ต้องกล้าท่ีจะลงทุนทางด้านเทคโนโลยี ข่าวสารในลักษณะท่ีแตกต่างกนั ท้งั รูปภาพ ขอ้ ความ เสียง โดยสามารถเรยี กสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านอุปกรณ์ หรือโปรแกรมต่างๆ เพ่ือช่วยให้ กลบั มาใช้เป็นภาพเคลอื่ นไหวได้ และยงั สามารถโตต้ อบกับผู้ใชไ้ ด้ดว้ ยการจัดการเรียนการสอนได้คุณภาพ แต่เนื่องจากการเปล่ียนแปลงอย่าง 12. การใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการฝกึ อบรม (Computer Base Training)รวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศอาจทำให้เทคโนโลยีที่กล่าวถึงในที่น้ีล้าสมัย เป็นการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึกอบรมในด้านต่างๆได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว ดังน้ันจึงมีความจำเป็นท่ีผู้บริหารควรให้ความ หรือการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในด้านการเรียนการสอนที่เรียกว่าสนใจและต้องติดตามความเคล่ือนไหวตลอดจนการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอด คอมพวิ เตอรช์ ่วยการสอน (Computer Assisted Instruction) หรอื CAI เวลา โดยเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีความสำคัญในปัจจุบันตลอดไปจนถึง 13. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (Computer Aidedอนาคตมดี ังนี้ Design) หรือ CAD เป็นการนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูล 1. คอมพิวเตอร์ (Computer) ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไป เข้ามาช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งรูปแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์จากยุคแรกที่เคร่ืองมีขนาดใหญ่ทำงานได้ช้า ความสามารถต่ำ และใช้ หรือการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยทางด้านการออกแบบวิศวกรรมและพลังงานสงู เป็นการใชเ้ ทคโนโลยที ่มี ปี ระสิทธิภาพสงู ข้ึน แต่มีราคาถกู ลง สถาปัตยกรรมใหม้ คี วามเหมาะสม 2. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ AI เป็นการ ดังน้ัน จะเห็นว่าปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศจะเข้ามามีบทบาทพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถที่จะคิดแก้ปัญหาและให้เหตุผล และอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์เพิ่มข้ึน เราต้องพยายามติดตาม ศึกษา และได้เหมือนอย่างการใชภ้ ูมปิ ญั ญาของมนุษยจ์ ริง ทำความเข้าใจแนวทางและพัฒนาการที่เกิดขึ้น เพื่อท่ีจะนำเทคโนโลยีสาร 3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information สนเทศไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสมทั้งในSystem) หรือ EIS เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีสนับสนุนผู้บริหารใน ปจั จุบันและในอนาคต งานวางแผนนโยบายและกลยุทธ์ขององค์การ 4. การจดจำเสียง (Voice Recognition) เป็นความพยายามท่ีจะ ทำให้คอมพิวเตอร์จดจำเสียงของผู้ใช้ โดยท่ีผู้ใช้จะสามารถออกคำส่ังและ ตอบโตก้ บั คอมพวิ เตอรแ์ ทนการกดแปน้ พิมพ์ ทีม่ า : http://www.vcharkarn.com ครสุ ารธนบรุ ี 13
ส า ข า วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ท่ั ว ไ ป โครงการสมั มนาพเิ ศษเพ่ือส่งเสรมิ ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ โดย...อาจารย์.ดร.อาทติ ยา สามณฑา สาขาวิชาวิทยาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยอาจารย์ ดร.อาทิตยา สามณฑา, อาจารย์ปุณฑริกา คงเรือง และอาจารย์อริสรา จุลกิจวัฒน์ ได้จัดโครงการสัมมนาพิเศษเพ่ือส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีข้ึน ในวันพุธ และศุกร์ท่ี 20, 25 และ 27 มิถุนายน และ 2 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุม อาคาร 1 ชั้น 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา ได้รับความรู้ความเข้าใจ มีทักษะทางวิทยาศาสตร์มากข้ึน จากคณะวิทยากร ซ่ึงประกอบด้วยอาจารย์และบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญตามหลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป จากการท่ีนักศึกษาได้เข้าร่วมโครงการสัมมนาพิเศษเพ่ือส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ ดังกล่าว พบว่า นักศึกษา สาขาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะครุศาสตร์ จำนวน 92 คน ได้รับความรู้เพ่ิมเติมที่มีส่วนช่วยส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ ตามเปา้ หมายของโครงการท่ตี ง้ั ไว้โดยหัวข้อและเนอื้ หาทน่ี ่าสนใจท่ีไดร้ ับจากโครงการน้ี อาทิเชน่ 1. Flies, Dead and Answer คำถามซงึ่ ไร้ “คน” ตอบ โดยนางสาวมทั นวีร์ สขุ จติ แมลงวนั สามารถบอกวันเวลาตายของศพได้ ทำใหส้ ามาถชว่ ยหาคำตอบทางนติ ิวทิ ยาศาสตร์ โดยแบง่ ช่วงเวลาได้ ทัง้ หมด 5 ระยะ คอื ระยะแรกแมลงวนั เริ่มตอมศพ ระยะทส่ี อง ศพท้องจะอืดใหญ่ข้นึ ระยะท่ีสาม ท้องของศพจะ แตกและไส้ทะลกั เกิดกลน่ิ เหมน็ มาก ระยะทสี่ ี่ และระยะท่หี า้ ศพเกิดการเนา่ และสลาย 2. Sexual dimorphism of Jagor’s water snake, Enhydris jagorii (Perters, 1863) at Bung Ka Lo wetland, Uttaradit Province, Thailand โดย นายฉตั รพรรษ พงษเ์ จริญ ความแตกต่างระหว่างงูเพศผู้ และเพศเมีย ได้แก่ งูเพศเมียจะมีขนาดใหญ่ และบริโภคมากเม่ือเทียบกับงูเพศผู้ นอกจากนั้นจากการวจิ ยั พบว่างทู ี่มพี ิษจะเลีอ้ ยช้า งูที่ไม่มพี ษิ จะเล้ือยเรว็ โดยตาของงมู องไมเ่ หน็ งไู ม่มีหู ดังนน้ั งู จึงเคล่ือนท่ีได้จากการรับแรงส่ันสะเทือนแทน ปัจจุบันงูมีจำนวนน้อยลงเพราะพ้ืนที่อาศัยของงูถูกทำลาย เนอ่ื งจากมนุษย์เข้ายดึ ครอง14 ครสุ ารธนบุรี
ส า ข า วิ ช า ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วั ย การพฒั นาสมองของเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยดนตรี โดย...อาจารย์ดวงใจ รงุ่ เรือง ช่วงระยะเวลาท่ีสำคัญท่ีสุดสำหรับการเรียนรู้ของมนุษย์ คือ สมองจะเห็นได้ว่าศักยภาพของสมองมนุษย์มีอยู่มากมายมหาศาลช่วงแรกเกดิ ถึง 7 ปี เพราะการพฒั นาสมองของมนษุ ย์ในชว่ งวัยนจี้ ะ และพลังของสมองนั้นไม่มีขอบเขตจำกัดหรือไม่มีท่ีส้ินสุด ดังน้ันพัฒนาไปถึง 80 %ของผู้ใหญ ่ สมองของเด็กเรียนรู้มากกว่าสมอง การนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของสมองมาใช้ในการของผู้ใหญ่เป็นพันเท่า เด็กเรียนรู้ทุกอย่างที่เข้ามาในช่วงชีวิต ซึ่งส่ิงท่ี จัดการเรียนรู้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและเป็นการเสริมสร้างเข้ามาล้วนเป็นประสบการณ์ เป็นข้อมูลในการเรียนรู้เข้าไปกระตุ้น ศักยภาพของผู้เรียน รวมถึงเป็นการพัฒนาการจัดการศึกษาให้ดีข้ึนสมองเด็กทำใหเ้ ซลล์ตา่ งๆ เชื่อมโยงกนั เป็นเครือขา่ ยเสน้ ใยสมองและ ดว้ ยจุดเช่ือมต่อกันอยา่ งมากมาย ซึง่ จะทำใหเ้ ดก็ เข้าใจและเรยี นรสู้ ่งิ ท่เี กิดข้นึ สมองจะทำหน้าท่นี ีไ้ ปจนถึงอายุ 10 ปี จากนนั้ สมองจะเร่มิ ขจดั เด็กถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าย่ิง เป็นความหวังของครอบครัวข้อมูลที่ไม่ได้ใช้ในชีวิตประจำวันท้ิงไปเพื่อให้ส่วนที่เหลือทำงานได้ เป็นผู้สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมและความเป็นมนุษยชาติ เป็นพลังอยา่ งมีประสิทธภิ าพมากที่สดุ สำคัญในการพัฒนาประเทศ อนาคตของประเทศชาติจึงข้ึนอยู่กับ คณุ ภาพของเดก็ เด็กทมี่ คี วามสมบรู ณท์ ง้ั ทางด้านร่างกาย จติ ใจ มี กระแสความตื่นตัวเร่ืองการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ พัฒนาการในทุกๆ ด้านที่เหมาะสมกับจะเป็นผู้ที่สามารถดำรงชีวิตสมองเป็นฐาน (Brain-based learning) ในศตวรรษท่ี 21 เริ่มเด่น อยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อสังคมและชัดและมีความสำคัญเป็นอย่างมาก Brain Based Learning คำนี้ ประเทศชาติเริ่มเป็นท่ีรู้จักในวงการการศึกษาไทย รวมไปถึงพ่อแม่ ผู้ปกครอง ที่สรรหาความแปลกใหม่ทางการศึกษา สำหรับลูก แม้แต่กระทรวง เด็กในวัยเริ่มแรกของชีวิตหรือที่เรียกว่า “เด็กปฐมวัย” คือ ศึกษาธิการเองก็มีนโยบายให้มีการจัดการศึกษาในแนวทางนี้เป็น วัยต้ังแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีจัดได้ว่าเป็นระยะสำคัญท่ีสุดของชีวิต แนวทางหลักที่ใช้ในโรงเรียน ความฉลาดของบุคคลน้ันข้ึนอยู่กับ ทั้งนี้เพราะพัฒนาการทุกๆ ด้านของมนุษย ์ ท้ังด้านร่างกาย ด้านปัจจัยหลายอย่าง แต่ปัจจัยที่สำคัญท่ีสุดยังคงเป็น “สมอง” เพราะ อารมณแ์ ละจติ ใจ ดา้ นสังคมและบคุ ลิกภาพ โดยเฉพาะทางดา้ นสติสมองเป็นอวัยวะที่ทำหน้าท่ีในการรับรู้และส่ังการ ทำให้เกิดการ ปัญญาจะเจริญมากท่ีสุดในช่วงน้ี และพัฒนาการใดๆ ในวัยนี้จะเป็นกระทำและพฤติกรรมในเหตุการณ์ต่างๆ การที่จะเลี้ยงลูกให้ฉลาด พื้นฐานที่มีความสำคัญต่อพัฒนาการในช่วงอื่นๆ ของชีวิตเป็นอย่างนั้นจึงจำเป็นจะต้องพัฒนาสมองของลูกไปให้ถูกทาง รับประทาน มาก ดังนั้น การเล้ียงดูและการจัดการศึกษาสำหรับเด็กในช่วงอาหารท่ีเหมาะสม มีการพักผ่อนที่เพียงพอ และสร้างเสริมความรู้ ปฐมวัย ต้องส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่เป็นการเตรียมความประสบการณ์ให้เหมาะสมกับวัยเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ พร้อมทางด้านทักษะชีวิต ในการเคล่ือนไหวร่างกายเพ่ือการดำเนิน ชีวิตประจำวันด้วยตนเอง การรู้จักอารมณ์ของตนเองและรู้จัก ครุสารธนบรุ ี 15
ส า ข า วิ ช า ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วั ย อารมณ์ของผู้อื่น สามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ในเพลงด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน เพลงจึงถือเป็นสื่อชนิดหนึ่ง ตามช่วงวัย และการพัฒนาความสามารถทางสติปัญญาในการคิด ทีส่ ำคญั ในการพัฒนาเด็กปฐมวยั อย่างมีเหตุผลที่ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมตอบโต้ในสถานการณ์ ตา่ งๆ การเรียนรู้เร่ิมเกิดขึ้นเม่ือมีสิ่งเร้ามากระตุ้น ระบบประสาท เกิดการต่ืนตัวและรับสัมผัส ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 จากน้ันจะส่ง ก ร ะ แ ส ป ร ะ ส า ท ไ ป ยั ง ส ม อ ง เ พ่ื อ แ ป ล ค ว า ม ห ม า ย โ ด ย อ า ศั ย ประสบการณ์เดิมเป็นการรับรู้ประสบการณ์ใหม่ ซึ่งอาจสอดคล้อง หรือแตกต่างไปจากประสบการณ์เดิม แล้วสรุปผลของการรับรู้นั้น เป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Concept) และมีปฏิกิริยา ตอบสนอง (Response) อย่างใดอย่างหนึ่งต่อส่ิงเร้าตามที่รับรู้ซึ่ง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงว่าเกิดการเรียนรู้แล้ว สำหรับเด็กปฐมวัยข้อมูลของประสบการณ์เดิมนั้นมีอยู่ในปริมาณ น้อย หรอื อาจพดู ไดว้ ่าการเรียนรขู้ องเด็กปฐมวยั น้นั ถือเปน็ การสร้าง ประสบการณ์ใหม่ให้กับเด็ก เพ่ือนำไปใช้ในการแปลความหมายและ แสดงปฏกิ ิรยิ าตอบสนองต่อไปเมอื่ มีอายเุ พ่ิมมากข้นึ การสอนดนตรหี รอื การใชเ้ พลงในการพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั มี องค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่ การเคล่ือนไหวรา่ งกาย การฟัง และ การร้อง ดนตรีเป็นศาสตร์หรือวิชาท่ีทำให้เด็กปฐมวัยได้รับการ พัฒนาทกุ ๆ ด้าน การเลน่ เคร่อื งดนตรหี รือการรอ้ งเพลงของเด็ก ส่วน มากจะไม่เป็นเพียงแต่การนั่งทำกิจกรรมเท่าน้ัน เพราะเด็กทุกคน ชอบและพอใจท่ีจะเคล่ือนไหวและทำท่าทางประกอบไปด้วย เน่ืองจากเด็กปฐมวัยชอบเปลี่ยนอิริยาบถ ชอบการเคลื่อนไหว กระโดดโลดเตน้ ไปตามจังหวะท่วงทำนองของเพลง ดงั น้นั เพลงและ ดนตรีจึงสามารถใช้เป็นสิ่งเร้าเพ่ือพัฒนาการเคล่ือน ไหว ทั้งการ เคล่ือนไหวแบบอยู่กับท่ี การเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนที่ รวมทั้งพัฒนา กล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก ขน ขา ลำตัว น้ิวมือ และส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะ ดนตรี จะเป็นการช่วยพัฒนาให้เด็กมี ร่างกายแข็งแรงและพลานามัยที่สมบูรณ์ อันจะเป็นผลเก่ียวโยงไปสู่ จุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีมุ่งให้เด็กพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และทักษะด้านอื่น ๆ ซึ่งจะ การจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยควรจัดให้ ช่วย ให้เด็กปฐมวัยปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และส่ิงแวดล้อมใน เหมาะสมกับวัยของเด็ก ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นการเคล่ือนไหว ปัจจบุ นั ไดอ้ ย่างมีความสุข สว่ นต่างๆ ของร่างกายอย่างมคี วามสุข ในสภาพแวดลอ้ มท่ปี ลอดภัย ดนตรีเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีบทบาทสำคัญและเป็นประโยชน์ และเหมาะสม ผ่านสื่อที่กระตุ้นการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย ซึ่ง สำหรับการพัฒนาทางสติปัญญาของเด็กปฐมวัย เพราะดนตรีเป็นสิ่ง ดนตรีหรือเพลงถือเป็นสื่ออย่างหน่ึงท่ีเด็กในวัยนี้ช่ืนชอบและสนใจ เร่งทจ่ี ะช่วยจงู ใจให้เด็กเกดิ ความสบายใจ และมีความรสู้ ึกในทางบวก เป็นอยา่ งมาก โดยส่วนมากดนตรหี รือเพลงสำหรับเดก็ จะประกอบไป ซ่ึงถือเป็นการช่วยสร้างส่ิงแวดล้อมให้มีความน่าสนใจ ทำให้เด็กเกิด ด้วยเนื้อเพลงที่มีสัมผัส มีทำนองที่สนุกสนาน มีจังหวะเร็ว-ช้า บาง ความต่ืนตัวในการเรียนรู้ อันส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาทางสติ เพลงเปน็ เรื่องราวสนั้ ๆ ใชภ้ าษางา่ ยๆ อาจแทรกสิง่ ทเ่ี ปน็ ความรู้ เชน่ ปัญญาในการสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจความคิดรวบยอดกับเด็ก สาระที่เด็กควรรู้ คุณธรรม จริยธรรม และด้วยลักษณะดังกล่าวท่ี ในเรื่องต่าง ๆ เช่น ธรรมชาติศึกษา คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา สุข เพลงเด็กไม่มีเน้ือหาซับซ้อน จึงทำให้เด็กเรียนรู้เน้ือหาสาระต่างๆ ศึกษา เด็กสามารถเข้าใจและจดจำได้ด้วยตนเองผ่านบทเพลงหรือ16 ครสุ ารธนบรุ ี
ส า ข า วิ ช า ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วั ยจังหวะในดนตรี เช่น บทเพลงที่เกีย่ วกับลม ฝน แมลง นก ขณะทีเ่ ดก็ สามารถสรา้ งระเบียบและทำใหเ้ ดก็ รู้จักควบคุมตนเองให้เหมาะสมไม่ร้องเพลงและทำท่าเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางของสัตว์ ท่าทางของ เกิดความเครียด นอกจากนี้เสียงดนตรีหรือเพลงมีผลต่อการเสริมคน ท่าทางของธรรมชาติ ท่าทางของเคร่ืองยนต์กลไกและเคร่ืองเล่น สร้างความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการของเด็กในขณะทำกิจกรรมหรืออาจจะเลียนแบบปรากฏการณ์ทางธรรมชาติตามจินตนาการ ที่ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ซึ่งสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ เลศิ อานนั ทนะ ( 2518 :ทำให้เด็กเกิดความเข้าใจของส่ิงเหล่าน้ีเพิ่มขึ้น หรือในขณะท่ีเด็กฟัง 219) พบว่า เสียงดนตรีสามารถเสริมสร้างความคิดจินตนาการ ช่วยและร้องเพลงนับกระต่าย นับลูกแมว นับนิ้ว เด็กก็จะได้รับความคิด กระตุ้นให้มีการแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้มีความในเร่ืองการเพิ่ม - ลดของจำนวน การเรียงลำดับ ซ่ึงถือเป็นการส่ง สัมพันธร์ ะหวา่ งประสาทหู กลา้ มเนือ้ มือ ให้สอดคล้องกับการใชค้ วามเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กปฐมวัยให้เจริญงอกงามโดย คดิ อาศัยกิจกรรมทางดนตรีและเพลง ฉะนั้น ดนตรีจึงเป็นสื่อกลางของเด็กปฐมวัยในการพัฒนา ประการสำคัญ ดนตรีหรือเพลงจัดเป็นองค์ประกอบหน่ึงที่ ศักยภาพ คุณค่าทางสมองและสติปัญญา เพราะดนตรีเป็นเรื่องของขาดเสียมิได้ต่อการพัฒนาทางสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมาธิ โสตศิลป์ท่ีจะพาเด็กไปสู่การรับรู้และเรียนรู้เรื่องของศาสตร์วิทยาการเน่ืองจากดนตรีหรือเพลงช่วยทำให้เด็กเกิดสมาธิในการทำกิจกรรม ต่างๆ ตลอดจนความงามอย่างมีสุนทรียะ ในที่สุดเด็กก็มีการและสามารถทำงานได้นานข้ึน ทั้งนี้เพราะเสียงดนตรีถือเป็นส่ืออย่าง พฒั นาการทางสติปัญญาสูงข้นึ มคี ุณภาพและประสิทธภิ าพนั่นเอง หนึ่งที่ช่วยปรับสภาพอารมณ์และกระตุ้นให้เด็กเกิดสมาธิ รวมท้ัง ส า ข า วิ ช า ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ News from English Program August 16-17, 2014, English Program prepares English Teacher Students to AEC. We had a seminar under topic “English Conversation and Classroom Languages”By Ms. Suzan Brewster And Ms. Tazila Mahmood. ครสุ ารธนบรุ ี 17
คนดคี นเกง่ ครศุ าสตร์คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี ขอแสดงความยนิ ดเี น่ืองในโอกาสท่ีผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สนุ ันทา แกว้ สขุ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วิสตู ร จำเนียร นกั วจิ ัยดเี ด่น ประจำปี 2557 บุคลากรสายสอนดเี ด่น ประจำปี 2557ผศ.ดร.วาสนา เพมิ่ พนู ผศ.ดร.นงเยาว์ อทุ มุ พร ดร.สมจนิ ตนา จริ ายุกลุ ดร.นธิ ิภทั ร บาลศริ ิ นกั วจิ ยั ทีไ่ ดร้ บั การยอมรับจากหนว่ ยงานภายนอก ประจำปี 2557 นางสาวละมยั พนั ธรุ ะ นางสาวขวญั หทยั นุพรม นายทัศนา หนทู วี บุคลากรสายสนบั สนนุ ดีเดน่ บณั ฑติ คณะครศุ าสตร์ เกียรติบัตรชมเชย จากสำนกั งาน เกยี รตนิ ิยมอนั ดบั หน่ึง (เหรียญทอง) คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา ประจำปี 2557 ประจำปี 2557 ประจำปี 255718 ครสุ ารธนบรุ ี
ครสุ ารธนบรุ ี 19
20 ครุสารธนบุรี
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: