Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นนวัตกรรม

ความรู้เบื้องต้นนวัตกรรม

Published by Chanuntida Thongon, 2021-11-06 07:56:04

Description: ความรู้เบื้องต้นนวัตกรรม

Search

Read the Text Version

นวัตกรรม Innovation

จัดทำโดย นางสาววาลิกา มหาวงศนันท์ นางสาวรัตนากร สุขเกษม นางสาวชนัญธิดา ทองอ่อน รหัสนักศึกษา 63031030137 รหัสนักศึกษา รหัสนักศึกษา 63031030146 63031030143 นางสาวสัณหณัฐ ขัติยะ นายวิชัย ทรัพย์ขุมเงิน รหัสนักศึกษา 63031030149 รหัสนักศึกษา 63031030157

นวัตกรรม (innovation) ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรมหมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็ นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยให้ ประหยัดเวลาและแรงงานอีกด้วย

•นวัตกรรม (innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovate ในภาษาลาติน แปลว่า ทำสิ่งใหม่ขึ้นมานวัตกรรม ยังคงเป็ นคำใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำนี้ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มา จากคำกริยาว่า innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิม ใช้คำว่า “นวกรรม” ต่อมามีการคลาดเคลื่อนของความหมายจึงเปลี่ยนมาใช้ คำว่า “นวัตกรรม” ซึ่งหมายถึง การนำสิ่งใหม่ๆเข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น

ดังนั้น ไม่ว่า วงการหรือกิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมี การนำเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้า มาใช้เพื่อ ปรับปรุงงานให้ดีขึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้ว่า เป็ นนวัตกรรม Innovation ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษา นำเอามาใช้ ก็ เรียกว่า“นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สำหรับผู้ที่กระทำ หรือนำความ เปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็ น “นวัตกร” (Innovator)

•ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) - ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็ นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ ผ่านการทดลองแล้ว

•มอร์ตัน (Morton,J.A.) - ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็ นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกคร้ัง (Renewal) ซึ่งหมาย ถึงการปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือ องค์กา รนั้นๆ

คำว่า “นวัตกรรม” เป็ นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจาการได้ผ่าน การทดลองหรือได้ รับการพัฒนามาแล้วโดย แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ - ระยะที่1มีการประดิษฐ์ คิดค้น (Innovation)หรือเป็ นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะ สม กับกาลสมัย - ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ใน ลักษณะของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน(Pilot Project) - ระยะที่ 3การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไปซึ่งจัดว่า เป็ นนวัตกรรมขั้น สมบูรณ์

“ความใหม่”(new ness) อาจขึ้นอยู่กับ ระยะเวลาด้วย สิ่งใหม่ๆ ตามความหมายของ นวัตกรรมไม่จำเป็ นจะต้องใหม่จริงๆ แต่อาจจะหมายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เป็ นความคิดหรือการ ปฏิบัติที่เคยทำกันมาแล้ว แต่ได้หยุดกันไประยะเวลาหนึ่งต่อมาได้มีการรื้อฟื้ นทำใหม่ ดังนั้น ความใหม่ของนวัตกรรมอาจ หมายถึง สิ่งใหม่ๆ ใน 3 ลักษณะดัง ต่อไปนี้ 1. สิ่งใหม่ที่ยัง ไม่เคยมีผู้ใดเคยทำมาก่อนเลย 2. สิ่งใหม่ท่ีในอดีตเคยทำมาแล้ว ล้มเลิกไป แต่ได้มีการรื้อฟื้ นข้ึนมาใหม่เพราะเหมาะสม 3. สิ่งใหม่ท่ีมีการพัฒนามาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม

•กระบวนการตัดสินใจนวัตกรรม Rogers และ Shoemaker จึงไดเ้สนอโครงสร้างใหม่ เรียกว่า กระบวนการตัดสินใจ นวัตกรรม (Innovation decision process) ซึ่งประกอบไปด้วย4 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นความรู้ (knowledge) เป็ นขั้นตอนที่รับทราบว่ามีนวัตกรรมเกิดข้ึนและหาข่าวสาร จน เข้าใจในนวัตกรรมนั้นๆ 2. ขั้น ชักชวน (persuasion) เป็ นขั้นตอนที่ผู้รับนวัตกรรมมีทัศนคติต่อสิ่งใหม่ ๆ ในทางที่เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ต่อ \"นวัตกรรม “นั้นๆ



•ความสำคัญของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ท้ังนี้เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) มีการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าว หน้าท้ังด้าน เทคโนโลยีและสารสนเทศการศึกษาจึงจำเป็ นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจาก ระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพี่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมท่ี เปลี่ยนแปลงไป

•ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา 1.นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร 2.นวัตกรรมการเรียนการสอน 3.นวัตกรรมสื่อการสอน 4.นวัตกรรมการประเมินผล 5.นวัตกรรมการบริหารจัดการ

นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการเเละวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดเเละวิธีการใหม่ๆที่เป็ น นวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็ นไปในทิศทางที่ต้องการนวัตกรรมทางด้าน หลักสูตรในประเทศไทย ได้เเก่การพัฒนาหลักสูตรดังต่อไปนี้ 1.หลักสูตรบูรณาการ : เป็ นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการ ในสาขาต่างๆ 2.หลักสูตรรายบุคคล : เป็ นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ 3.หลักสูตรกิจกรรรมเเละประสบการณ์ : เป็ นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นกระบวนการในการจัด กิจกรรม และ ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนนำไปสู่ความสำเร็จ 4. หลักสูตรท้องถิ่น : เป็ นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น

นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็ นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงเเละคิดค้นพัฒนาวิธีการสอนแบบใหม่ๆที่สามารถตอบ สนองการเรียนการสอนบุคคล การสอนเเบบผู้เรียนเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมการ เรียนรู้ แบบแก้ปัญหา

นวัตกรรมการสื่อสาร เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและ เทคโนโลยีทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโลโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการ เรียนการสอนแบบใหม่ได้เเก่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) - มัลติมีเดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชุดการสอน (Instructional Module) -วีดิทัศน์แบบมีปฎิสัมพันธ์(InteractiveVideo)

นวัตกรรมด้านการประเมินผล เป็ นนวัตกรรมที่ใช้เป็ นเครื่องมือเพื่อการวัดผลเเละประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพเเละ ทำงานได้อย่างรวดเร็วรวมไปถึงการจัดวิจัยทางการศึกษาการวิจัยสถาบันด้วย การประยุกต์ใช้โปรเเก รมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการวัดผล ได้เเก่ -การพัฒนาคลังข้อสอบ -การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์เเละอินเทอร์เน็ต -การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา -การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด -อื่นๆ

นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ เป็ นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการตัด สินใจ ของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัด การฐานข้อมูลใน หน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์เเละบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชีพัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่าน้ีต้องการออกระบบที่ สมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง

•สาเหตุของการเกิดนวัตกรรม บริบทต่างๆในวงการศึกษาไดเ้ปลี่ยนแปลงไป ที่สำคัญและเกี่ยวข้องมีดังนี้ 1. การเพิ่มปริมาณของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เป็ นไปอย่างรวดเร็ว 2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็ นไปอย่างรวดเร็ว 3. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้ม ในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากข้ึน ตามแนวปรัชญาสมัย ใหม่ที่ยึดผูเ้รียนเป็ นศูนย์กลาง 4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคมมีส่วนผลักดันให้มี การใช้นวัตกรรมศึกษาเพิ่มมมากข้ึน

•ชูทซ์ (Sehutz; 1982) - ได้ให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ โดยให้แง่คิดเกี่ยวกับขั้นตอนของการเกิดนวัตกรรม ดังนี้ นวัตกรรม ( Media) มีสื่อเป็ นช่องทาง สมาชิกในสังคม ช่วงระยะเวลา ( Time Frame) •แผนภูมิหลักการแพร่กระจายนวัตกรรม•

1.มีการเรียกหานวัตกรรมอยู่เสมอ 2.หลังจากเรียกหาได้ไม่นานนักปั ญหาเพียงเล็กน้อยก็ถูกนามากล่าวถึงและในช่วงน้ีก็มีใคร สักคนหน่ึงเสนอนวัตกรรมเทคโนโลยีเข้า มาสู่การศึกษา และให้ความมั่นใจแก่เราว่าความ สำเร็จในการแก้ัหาด้วยการใช้นวัต กรรมเทคโนโลยีนั้นอยู่เเค่เอื้อม 3. เมื่อเกิดความบกพร่องผิดพลาดปรากฏออกมาอย่างชัดเจน 4. วงจรของปัญหาทานองน้ีมักจะเกิดข้ึนอีกพร้อมกันน้ันก็มีการเสนอ นวัตกรรมทาง เทคโนโลยีเเบบแปลกใหม่ต่อไป

ปั จจัยที่มีอิทธิพล 1.ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษา ของไทยได้ให้ความสำคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนให้มุ่ง จัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจและความสามารถของแต่ละคนเป็ นเกณฑ์ นวัตกรรมที่เกิดข้ึน เพื่อสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ เช่น -การเรียนแบบไม่แบ่งช้นั (Non-GradedSchool) - แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) - เครื่องสอน (Teaching Machine) - การสอนเป็ นคณะ (TeamTeaching) -การจดัโรงเรียนใน โรงเรียน(SchoolwithinSchool) - เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)

ปั จจัยที่มีอิทธิพล 2.ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ดีก็ต้องมี ความพร้อมซึ่งเป็ นพัฒนาการตามธรรมชาติแต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ชี้ ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียนเป็ นสิ่งที่สร้างข้ึนได้ นวัตกรรมที่ตอบสนอง แนวความคิดพื้นฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การเรียน การจัดโรงเรียนใน โรงเรียนนวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานดังนี้ เช่น -ศูนย์การเรียน(LearningCenter) -การจัดโรงเรียนในโรงเรียน(School with in School) -การปรับปรุงการสอนสามชั้น(Instructional Development in 3 Phases)

ปั จจัยที่มีอิทธิพล 3.การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัด โดยอาศัย ความสะดวกเป็ นเกณฑ์ในปัจจุบัน ได้มีความคิดในการจัด เป็ นหน่วยเวลาสอนให้ สัมพันธ์กับลักษณะของแต่ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆแต่สอ นบ่อยคร้ังการเรียนก็ไม่จำกัดอยู่เฉพาะในโรงเรียนเท่านั้น นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้น ฐานด้านนี้เช่น - การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling) - มหาวทิยาลัยเปิด(OpenUniversity) - แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book) - การเรียนทางไปรษณีย์

ปั จจัยที่มีอิทธิพล 4. ประสิทธิภาพในการเรียนการขยายตัวทางวิชาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมทำให้ มีสิ่งต่างๆที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มข้ึนมาก เเต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มี ประสิทธิภาพจำเป็ นต้องเเสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นทั้งในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้ เรียนนวัตกรรมในด้านนี้ที่เกิดขึ้น เช่น - มหาวิทยาลัยเปิด - การเรียนทางวิทยุการเรียนทางโทรทัศน์ - การเรียนทางไปษณีย์แบบเรียนสำเร็จรูป - ชุดการเรียนการใช้

Thank you!


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook