Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้เรื่อง วัสดุในชีวิตประจำวัน

ใบความรู้เรื่อง วัสดุในชีวิตประจำวัน

Published by rnb175298, 2019-07-11 22:47:37

Description: ใบความรู้เรื่อง วัสดุในชีวิตประจำวัน

Search

Read the Text Version

Page |1 ใบความรูเร่อื ง วสั ดุในชวี ิตประจาํ วนั การใชว ัสดใุ นชีวติ ประจําวนั วัสดุ คือ สิง่ ทีน่ าํ มาใชท าํ สิ่งของเครื่องใชต างๆ วัสดุมีหลายชนิด วสั ดุแตละชนิดมสี มบตั บิ าง ประการเหมอื นกัน และอาจมีสมบตั บิ างประการแตกตางกัน สิ่งของเครอ่ื งใชต า งๆ ทีเ่ ราใชอ ยใู นชวี ติ ประจาํ วนั เชน กระเปา เสือ้ ผา โตะ เกาอ้ี กระทะ หมอ หงุ ขา ว เปน ตน ส่ิงของตา งๆ เหลา นที้ ํามาจากวสั ดหุ ลายชนิด บางอยา งทาํ จากวสั ดุชนดิ เดยี ว เชน ยางลบทํามาจากยาง บางอยา งทาํ มาจากวัสดหุ ลายชนดิ เชน กระทะ ทํามาจากวสั ดุ ๒ ชนิด คือ โลหะกบั พลาสติก เปน ตน ตวั อยา งเคร่อื งใชใ นชวี ติ ประจําวัน

Page |2 กจิ กรรมท่ี ๑ สํารวจสิ่งของในบา นของตนเองวามสี ่ิงใดทท่ี ําจากวัสดุทกี่ ําหนดบาง แลว บนั ทึกผลการ สาํ รวจลงในตาราง ชนดิ ของวสั ดุ ส่ิงของที่สํารวจพบ พลาสตกิ ......................................................................................................................... แกว ...................................................................................................................... ไม ......................................................................................................................... ...................................................................................................................... เซรามกิ (ดินเผา กระเบื้อง) ......................................................................................................................... ...................................................................................................................... โลหะ ......................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................... ...................................................................................................................... วสั ดุทีน่ ํามาใชประโยชนน ้ัน มีทง้ั ท่ีทาํ จากธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห วสั ดธุ รรมชาติ ไดจากส่ิงท่อี ยใู นธรรมชาติทง้ั จากสง่ิ มชี ีวิต และสิ่งไมม ีชวี ิต เชน ไม ยาง ดนิ เหนียว ขนสตั ว หนงั สัตว หิน กรวด ทราย เปนตน วัสดุสงั เคราะห เกิดจากกระบวนการทางเคมี เชน พลาสติก โฟม ยางสงั เคราะห เสนใย สังเคราะห กระเบื้องยาง เปนตน สมบตั ิของวสั ดุ การนาํ ความรอ น ความยืดหยนุ การนําไฟฟา ความแข็ง ความหนาแนน ความเหนยี ว

Page |3 การนาํ ความรอน หมายถึง การถายโอนความรอนผา นตวั กลางทเ่ี ปน ของแข็งจากตาํ แหนง ทม่ี อี ุณหภูมสิ งู ไปสูตาํ แหนง ท่ีมอี ุณหภูมิตาํ่ กวา โดยวัสดตุ ัวกลางไมไดเคลื่อนที่ สมบตั กิ ารนาํ ความรอนของวสั ดุ นําความรอน ไมนาํ ความรอน วัสดุท่ีความรอนผานไดดี วสั ดุทีค่ วามรอนผา นได ไม ดี เรียกวา ตัวนําความรอน หรือผา นไมไ ด เรียกวา ฉนวน ความรอน ตัวอยางวสั ดุ ตัวอยา งวสั ดุ เงิน เหลก็ ผา ไม ทองแดง อะลมู ิเนียม ยาง กระเบอื้ ง ทองเหลือง พลาสติก ประโยชน ประโยชน ใชเ ปนสวนประกอบของ ภาชนะหุงตม ในสวนท่ไี ม ใชท ําภาชนะหุงตม ในสว นท่ี ตอ งการใหม ีความรอ น ตอ งการใหร อนเร็ว

Page |4 ความยืดหยนุ หมายถึง ลักษณะที่วัสดุน้ันเมือ่ ไดรับแรงกระทํา รปู รางหรอื ขนาดของวสั ดุ จะเปลยี่ นไป และเม่อื หยุดออกแรงกระทํา วสั ดนุ ้ันสามารถคืนสูร ปู รางและขนาดเดิมได กิจกรรมที่ ๒ เรมิ่ ตน ความยาว (ซม.) หลงั จากปลอ ย ขณะดึง ชนิดของวัสดุ ลกู โปง .................................. .................................. .................................. พลาสติก .................................. .................................. .................................. ยางยืด .................................. .................................. .................................. การนาํ ไฟฟา หมายถงึ สมบัติท่ยี อมใหก ระแสไฟฟาสามารถถายโอนผา นวัสดุชนิดนั้นได วัสดุตา งชนิดกนั มสี มบัติการนาํ ไฟฟาแตกตา งกัน วัสดทุ ีย่ อมใหกระแสไฟฟา ไหลผานไดด ี เรยี กวา ตัวนําไฟฟา และวัสดุทีย่ อมใหกระแสไฟฟา ไหลผา นไดไมด ีหรอื ไมย อมใหกระแสไฟฟา ผานได เรยี กวา ฉนวนไฟฟา - ตัวนาํ ไฟฟา ไดแก วสั ดทุ เ่ี ปน โลหะตา งๆ เชน เงนิ ทองแดง อะลมู ิเนยี ม จึงนาํ วัสดุ เหลา นม้ี าทาํ อปุ กรณเ ครอื่ งใชไฟฟา เชน นาํ ทองแดงมาทําสายไฟฟา เปน ตน - ฉนวนไฟฟา ไดแ ก วัสดุท่ไี มใชโ ลหะ เชน ไม พลาสตกิ ยาง แกว จึงนําวสั ดเุ หลา นมี้ าทํา อุปกรณปอ งกนั ไฟฟาดูด เชน นําพลาสตกิ มาทาํ ทห่ี ุม ปลกั๊ ไฟฟา เปต น กิจกรรมท่ี ๓ วัสดทุ ีใ่ ชท าํ วตั ถุ นําไฟฟา ไมน าํ ไฟฟา วตั ถุ .................................... ....................................................................... ....................................................................... ลกู กญุ แจ .................................... ....................................................................... ....................................................................... ยางลบ ....................................................................... ....................................................................... ชอนโลหะ .................................... ....................................................................... ....................................................................... ดินสอ .................................... ....................................................................... ....................................................................... คลปิ หนีบกระดาษ .................................... ....................................................................... ....................................................................... เงินเหรยี ญ ....................................................................... ....................................................................... ปลอกปากกา ....................................................................... .......................................................................

Page |5 ความแขง็ ของวัสดุ หมายถึง ความทนทานตอ การตดั และขูดขีด วสั ดทุ มี่ ีความแข็งมาก จะสามารถทนทานตอ การขดี ขวนไดม าก และเมื่อถกู ขดี ขวนจะไมเ กดิ รอยบนวัสดุ กิจกรรมท่ี ๔ การทดลอง ผลการสังเกต ๑. ใชก อ นยางลบถูบนไมบ รรทดั ๒. ใชก อ นยางลบถบู นฝาจีบ ..................................... .................................................... ๓. ใชขอบไมบ รรทัดขดู กอนยางลบ ..................................... .................................................... ๔. ใชข อบไมบ รรทดั ขูดบนฝาจบี ..................................... .................................................... ๕. ใชฝ าจบี ขูดบนไมบรรทัด ..................................... .................................................... ๖. ใชฝาจีบขดู บนกอนยางลบ ..................................... .................................................... ..................................... .................................................... ความหนาแนน หมายถึง ปรมิ าณของมวลสารทมี่ อี ยใู น ๑ หนว ยปรมิ าตร มหี นวยเปน กรมั /ลูกบาศกเซนตเิ มตร หรือ กิโลกรมั /ลูกบาศกเ มตร ความหนาแนน เปน สมบัตปิ ระการหน่ึงของวัตถุ ซงึ่ ทาํ ใหวตั ถแุ ตละชนิดทมี่ ขี นาดเทา กันมี มวลตางกนั เพราะเน้อื ของสารมีความหนาแนนไมเ ทากนั ตัวอยา ง ** ฟองนํา้ และดินน้าํ มนั มีขนาดเทากัน แตฟ องน้ํามคี วามหนาแนนนอ ยกวา เพราะเน้ือมีรพู รนุ สวนดนิ น้าํ มนั มีความหนาแนน มากกวา เพราะเนือ้ มีความแนน **

Page |6 การหาคา ความหนาแนน ของวสั ดุ = มวล มวล มหี นวย เชน กรมั ความหนาแนน ปรมิ าตร ปรมิ าตร มหี นว ย เชน ลกู บาศกเซนติเมตร การหาคา มวลและปรมิ าตรของวตั ถุ การหาคามวลของวัตถุ - ทําไดโดยนําวตั ถุไปช่ังเพื่อหาคา มวล คา ของมวลมหี นวยเปน กรัม/กิโลกรัม การหาปรมิ าตรของของแขง็ - การหาปรมิ าตรของของแขง็ ทาํ ไดโดยใชวิธีแทนทน่ี าํ้ - ถา ของแขง็ มีรูปทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก หาปริมาตรไดโดยใชส ูตร ดังนี้ กวา ง x ยาว x สูง = ปริมาตรของวตั ถุ กิจกรรมท่ี ๕ ๑. ๒. กอนอฐิ มีมวล ๕๐ กรัม แผนไมม มี วล ๒๔ กรัม มีปริมาตร...............................ลบ.ซม. มีปรมิ าตร...............................ลบ.ซม. ความหนาแนนของกอ นอิฐมีคา ความหนาแนน ของแผน ไมม คี า เทา กบั เทา กับ................................................ ................................................ กรมั /ลูกบาศกเซนติเมตร กรัม/ลกู บาศกเซนตเิ มตร

Page |7 ความเหนียว หมายถงึ ความสามารถในการรับนาํ้ หนกั ของวสั ดุ พิจารณาจากการดึงยดื ใหเ ปน เสน หือ การตแี ผใหเ ปนแผน บางได กจิ กรรมท่ี ๖ เสน เอ็น การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ เชือกฝาง เสนดา ย จาํ นวนถงุ ทราย ................................... ................................... ................................... ๑ ๒ ................................... ................................... ................................... ๓ ................................... ................................... ................................... กจิ กรรมที่ ๗ ชนดิ ของวัสดุ ส่ิงของ ไม โลหะ แกว ผา พลาสติก ยาง อน่ื ๆ ๑. ลกู กุญแจ ๒. เส้อื กันฝน ๓. ยางลบ ๔. เงนิ เหรียญ ๕. หมอ ๖. ลูกบอล ๗. หนงั สือ ๘. ตูเส้ือผา ๙. ลกู โปง ๑๐. แกว นาํ้

Page |8 การเลือกใชว สั ดุ เราทราบมาแลว วา วัสดุแตละชนิดอาจมีสมบัตบิ างประการเหมอื นกัน และมีสมบตั เิ ฉพาะ แตกตา งกัน การนาํ วัสดมุ าใชผ ลิตเปนสิ่งของตา งๆ จงึ ตอ งรจู กั เลอื กใชว ัสดุทมี่ สี มบตั ิตามทผี่ ูผ ลติ สง่ิ ของตอ งการ เพ่อื ใหไดสงิ่ ของเคร่อื งใชที่มคี ณุ ภาพ วสั ดตุ า งๆ ทค่ี นนาํ มาใชประโยชนนั้น มที ้ังวสั ดทุ ่ที าํ จากธรรมชาติ และวสั ดสุ งั เคราะหซ ึ่ง อาจนํามาใชป ระโยชนโ ดยตรงหรือนาํ มาแปรรปู เพอื่ ใหเ หมาะสมกับการใชงาน ตวั อยาง การนําวัสดุตางๆ มาใชง าน ชนิดของวสั ดุ สมบตั ิของวสั ดุ การใชประโยชน - นํามาทําของเลน เด็ก ยางรัดของ ยาง ยาง มคี วามยืดหยุนสงู รถยนต - ใชท าํ วัสดกุ อสราง อปุ กรณแ ละ โลหะ เชน เหล็ก มีความแข็ง ทนทาน รีดเปน เสน เครอื่ งมือชา ง - ใชท ํามีด เสน ลวด มุง ลวด เหล็กกลา ตีเปนแผนได - ใชป น ภาชนะตา งๆ เชน โอง กระถาง ถว ยชาม ดนิ เหนยี ว มีความเหนียว - ใชท าํ ภาชนะหุงตม เชน กระทะ หมอ โลหะ เชน นาํ ความรอนไดดี - ใชทําอุปกรณไฟฟา เชน สายไฟ อะลมู เิ นียม นําไฟฟา ไดด ี - ใชท าํ หูหมอ หกู ระทะ ดา มทัพพี โลหะ เชน - ใชท าํ สวนประกอบของเครอ่ื งใชไฟฟา ทองแดง ไมนาํ ความรอน ปอ งกนั ไฟฟาดูด เชน ใชห ุมสายไฟ สวิตช ไมน าํ ไฟฟา ไฟ พลาสตกิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook