Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาตนเอง-ID-PLAN-2565

แผนพัฒนาตนเอง-ID-PLAN-2565

Published by กณิการ์ ปรือปรัง, 2022-03-16 09:35:51

Description: แผนพัฒนาตนเอง-ID-PLAN-2565

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านทา่ อาจ อำเภอแม่สอด จังหวดั ตาก ท่ี - วนั ท่ี ๒๙ เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 256๔ เรื่อง ส่งแผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล ID Plan (Individual Development Plan) เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านท่าอาจ สิ่งที่สง่ มาดว้ ย แผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล ID Plan จำนวน 1 ฉบบั ตามทีโ่ รงเรยี นบ้านทา่ อาจไดม้ อบหมายใหข้ ้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ในโรงเรียนจัดทำ แผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล ID Plan (Individual Development Plan) ประจำปีการศกึ ษา 2564 น้ัน ขา้ พเจา้ นางสาวกณกิ าร์ ปรอื ปรัง ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ ขอส่งแผนพฒั นาตนเอง รายบุคคล ID Plan (Individual Development Plan) ตามเอกสารดงั แนบ จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดพิจารณาตอ่ ไป ลงช่ือ (นางสาวกณกิ าร์ ปรอื ปรัง) ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ความเหน็ ของหัวหน้างานบคุ ลากร เสนอผ้อู ำนวยการโรงเรยี น oเพอ่ื โปรดพิจารณา o ทราบ o ............................................................................ ............................................................................ (นางสาววรากร ทองทวี) ............................................................................ (นายกชิ สณพนธ์ เฉลิมวสิ ุตมก์ ลุ ) รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นท่าอาจ ............../......................../...................... ............../......................../......................

คำนำ ตามที่ ก.ค.ศ.ไดก้ ำหนดหลกั เกณฑ์และวิธกี ารพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ครู (ว22/2560) เม่ือ วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 และมีมติในคราวประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2561 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยให้ประเมินตนเองตาม แบบ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด พร้อมทั้งจัด ทำแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี ตามแบบที่ส่วนราชการกำหนด พร้อมกับเข้ารับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดยในรอบ 1 ปี ที่ขอรับการประเมินให้ มีและเลื่อนวิทยฐานะ ต้องมีจำนวนชั่วโมงการพัฒนา 20 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดความพร้อมและเรียบร้อย ในการพฒั นาตนเอง พร้อมทั้งการประเมนิ ตนเอง นางสาวกณกิ าร์ ปรอื ปรงั ผู้จดั ทำ วนั ท่ี ๒๙ พฤศจิกายน 256๔

สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ ส่วนท่ี ๑ ข้อมลู ผจู้ ดั ทำแผนพฒั นาตนเอง 1 งานในหน้าทีท่ ีร่ บั ผิดชอบ 1 ผลงานทีเ่ กิดจากการปฏิบตั ิหน้าท่ีในตำแหน่งปัจจบุ นั 1 ผลทเ่ี กิดจากการจดั การเรยี นรู้ 3 3 ผลทเ่ี กิดจากการพฒั นาวชิ าการ 4 ผลที่เกิดกบั ผเู้ รียน 5 ผลทเี่ กดิ กับสถานศึกษา ผลทเ่ี กิดกับชุมชน 6 สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเอง 7 ตอนที่ ๑ ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ. 8 ตอนท่ี ๒ ผลการประเมินศกั ยภาพของผูเ้ รยี นในสถานศึกษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. ตอนท่ี ๓ ผลการประเมนิ ศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลกั สูตรของสถาบนั ครุ ุ 9 พัฒนา 9 สว่ นท่ี ๓ แผนการพัฒนาตนเอง 12 อันดบั ความสำคญั / สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา 12 12 วิธกี าร /รูปแบบการพฒั นา 13 ระยะเวลาในการพฒั นา 14 การขอรบั การสนบั สนุนจากหน่วยงาน ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั ประวัตกิ ารเข้ารับการพฒั นา (ในรอบ ๑ ปี ท่ีผา่ นมา) การเขา้ รบั การพฒั นาในปีการศกึ ษา 2564

ส่วนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบคุ คล ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ชอื่ นางสาวกณกิ าร์ ชอื่ -สกุล ปรอื ปรัง ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ วฒุ กิ ารศกึ ษา  ปริญญาตรี หรอื เทยี บเท่า วิชาเอก ภาษาไทย  ปริญญาโท หรอื เทียบเทา่ วชิ าเอก การบรหิ ารการศึกษา  ปรญิ ญาเอก หรือเทยี บเท่า วชิ าเอก ................-................  อน่ื ๆ (โปรดระบุ) วชิ าเอก ประกาศนียบัตร ป.วชิ าชพี ครู มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช เข้ารบั ราชการ วนั ท่ี 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ณ โรงเรียน รวมไทยพัฒนา 4 สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 อายุราชการจนถงึ ปจั จบุ ัน 14 ปี ๙ เดือน เงนิ เดอื น อนั ดับ คศ. 2 อัตราเงนิ เดือน 3๖,๐๔๐ บาท สถานทีท่ ำงาน พ.ศ. โรงเรียน สังกัด จงั หวดั ตาก 256๔ โรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2

งานในหน้าท่ที ่รี ับผิดชอบ ภาคเรยี น ช่ือวิชา ชนั้ จำนวนช่ัวโมง/ ๑ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒/๒ สปั ดาห์ ภาษาไทย ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒/๒ ๕ ๒ วิทยาศาสตร์ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒/๒ ๒ สังคมศึกษาศาสนาและ ๒ วฒั นาธรรม ประถมศึกษาปที ี่ ๒/๒ ประวตั ิศาสตร์ ประถมศึกษาปีท่ี ๒/๒ ๑ ศิลปะ ประถมศึกษาปีที่ ๒/๒ ๒ การงานอาชพี ๒ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒/๒ ๑๔ รวม ประถมศึกษาปีท่ี ๒/๒ ๕ ภาษาไทย ประถมศึกษาปที ี่ ๒/๒ ๒ ๒ วิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปที ี่ ๒/๒ สังคมศึกษาศาสนาและ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒/๒ ๒ วฒั นาธรรม ๒ ศิลปะ ๑๔ การงานอาชพี รวม งานทไี่ ด้รับมอบหมาย 1. ครูผู้สอนวชิ าภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2/2 ๒. ครูผสู้ อนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๒/๒ ๓. ครูผูส้ อนวิชาสงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒/๒ ๔. ครูผสู้ อนวชิ าศิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒/๒ ๔. ครูผสู้ อนวิชาการงานอาชีพ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒/๒ ๕. กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ลูกเสือ- เนตรนารี ยวุ กาชาด ชั้นประถมศกึ ษาชัน้ ปีท่ี 2/2 จำนวน 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ๖. กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ชุมนุม การอา่ นภาษาไทย จำนวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ งานท่ีได้รับมอบหมายเปน็ พิเศษ 1. งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ( มาตรฐานท่ี ๑.๑ ) 2. เวรยามรกั ษาความปลอดภยั ในเวลากลางวนั 3. หัวหน้างานอาหารกลางวนั

4. ครูเวรประจำวันองั คาร 5. หวั หนา้ กลุ่มสาระภาษาไทย 6. หัวหน้างานวจิ ยั ในชนั้ เรยี น 7. คณะทำงานหลกั สตู รและการสอน ๘. หวั หนา้ กจิ รรมพัฒนาการอา่ น-การเขียน ๙. หัวหน้างานการจัดการศกึ ษานักเรียนเรียนรว่ ม ๑๐. งานอื่นๆท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ผลงานท่เี กิดจากการปฏบิ ัติหนา้ ท่ใี นตำแหน่งปจั จุบัน ( ยอ้ นหลังไม่เกิน ๑ ปี ) 1. ผลทีเ่ กิดจากการจัดการเรยี นรู้ ไดด้ ำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หก้ บั นักเรียน มกี ารวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน ช้นิ งาน แบบฝึกทกั ษะ โดยการวดั ผลประเมนิ ผลดงั กล่าวครอบคลุมทกุ ๆด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นความรู้ การ ปฏิบัติ กระบวนการและคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท้งั นเ้ี พอื่ ส่งเสรมิ พัฒนาการของนักเรียนทัง้ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้าน ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา และมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ทัง้ นี้เพ่ือใหน้ ักเรยี นมี พฒั นาการท่ีดี มี คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ตลอดจนมีการบันทึกหลังการจดั กิจกรรมการสอนอย่างสม่ำเสมอ ทงั้ น้ีเพ่ือจะได้ชว่ ย แก้ไขข้อบกพรอ่ งใหก้ ับนักเรยี นท่ีมีปญั หา สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานไดด้ งั นี้ 1.1 มแี ผนการจัดการเรยี นรทู้ ม่ี ีการวเิ คราะห์หลักสูตรสถานศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ผลการเรียนรู้ ได้ อย่างถกู ตอ้ ง 1.2 มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยการปฏิบตั ิ (Active Learning) โดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ดว้ ย กิจกรรมทีห่ ลากหลายและสอดคลอ้ งกับธรรมชาตวิ ชิ าศิลปะ 1.3 มีแนวทางในการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนและจัดบรรยากาศในชั้นเรยี นทีเ่ หมาะสมและชว่ ยส่งเสรมิ การเรียนรู้ของนักเรียน 1.4 มีเครื่องมอื การวดั และประเมินผลทีม่ คี ุณภาพ ผา่ นการหาคณุ ภาพเครื่องมอื วดั ผลเบ้ืองตน้ และมี ความหลากหลายในการประเมินอยา่ งรอบดา้ น ทงั้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะและกระบวนการ และด้านคณุ ลักษณะ อัน พึงประสงค์รวมไปถงึ สมรรถนะท่สี ำคัญของผ้เู รยี น 1.5 มีการแกป้ ญั หาในชน้ั เรียนดว้ ยกระบวนการวจิ ยั ในชนั้ เรียน และการมสี ว่ นร่วมในชน้ั เรยี นของ นกั เรยี น 1.6 มีสื่อการเรียนรู้ และแหลง่ การเรียนสำหรับใช้ประกอบการจดั การเรียนรู้ 1.7 ประเมินความพงึ พอใจของนกั เรยี นทมี่ ตี ่อการจดั การเรยี นรู้ โดยให้นกั เรยี นประเมนิ ความพงึ พอใจ หลงั จากสอนโดยหาคา่ คะแนนเฉลีย่ (X) และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. ผลท่เี กดิ จากการพัฒนาวิชาการ ผลทเ่ี กดิ จากการพัฒนาทางดา้ นวชิ าการ พัฒนาผู้เรียนดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ความมวี ินัยในตนเอง ตลอดจนจดั ทำสอื่ ประชาสัมพนั ธต์ ่างๆ อกี ทงั้ ข้าพเจ้าเปน็ ผู้สนใจใฝ่รู้ โดยไดศ้ ึกษาหาความรวู้ ทิ ยาการใหม่ ๆ มา

พฒั นางานตนเองและเป็นแบบอยา่ งให้เพื่อนร่วมงาน มีวิสยั ทัศน์ กล้าพดู กล้าตดั สนิ ใจ มคี วามรับผิดชอบตอ่ งาน ในหนา้ ทไ่ี มย่ ่อทอ้ ตอ่ อปุ สรรค มีความเอาใจใสต่ ่องานในหนา้ ทแ่ี ละยังใหค้ ำแนะนำ สนบั สนนุ เพอ่ื นครูทงั้ ในและ นอกสถานศกึ ษาในดา้ นขอ้ มูล ข่าวสาร ที่เป็นประโยชนต์ อ่ ทางราชการให้การสนบั สนนุ ด้านวิชาการโดย เป็น วทิ ยากรอบรมพัฒนาสอื่ การเรยี นการสอน โดยใชส้ อ่ื มลั ติมเี ดียและเทคโนโลยีเป็นส่อื ในการพฒั นานกั เรยี น เขา้ แข่งขันงานทักษะทางวิชาการอยา่ งสมำ่ เสมอทกุ ปี ซ่งึ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ มกี ารเขา้ รบั การอบรมต่าง ๆ ทั้ง ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เพอื่ พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ สามารถสรุปผลการดำเนินงานได้ดังนี้ 2.1 มีกจิ กรรมและการแขง่ ขนั ทส่ี ่งเสริมและเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนไดใ้ ช้ความคดิ และทกั ษะที่ ได้ฝกึ ประสบการณ์ 2.2 มกี ิจกรรมชุมนมุ 2.3 ครมู คี วามเขา้ ใจในการนำกระบวนการ PLC เขา้ มาใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 2.4 การนำความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศมาพฒั นาระบบการจดั การเรียนรู้ได้ 2.5การนำวธิ ีการวจิ ยั และพฒั นามาแกป้ ัญหา พรอ้ มท้ังพัฒนางานอยา่ งครบวงจร 3. ผลทเ่ี กิดกับผู้เรยี น ได้ดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ มกี ารให้นักเรยี นได้ฝึกการปฏบิ ตั ิ จรงิ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนไดม้ ีทักษะต่างๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมท่ีดีงาม ความมวี นิ ัยในตนเอง สง่ ผล ให้ ผู้เรียนมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มวี นิ ัยในตนเอง มสี มั มาคารวะ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย มคี วามสามารถใน การใช้ ภาษาในการสื่อสาร และการมีจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ ซงึ่ เป็นส่ิงท่ีผเู้ รียนสามารถนำความรู้ ความ เข้าใจและทกั ษะไปบูรณาการ และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั เป็นการเพม่ิ พูนสมรรถนะตนเองให้มากข้นึ สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานได้ดังนี้ 3.1 นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ท่กี ำหนด 3.2 นกั เรยี นมรี ะดับทักษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี ผา่ นเกณฑ์ทค่ี รูผูส้ อนกำหนดไว้ 3.3 นกั เรยี นมีระดบั คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผา่ นที่เกณฑ์ท่คี รูผ้สู อนกำหนดไว้ 3.4 นักเรยี นมชี ้นิ งาน/ผลงาน ท่ีสะท้อนความคิดข้นั สูง เชน่ การคดิ วเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่าและความคดิ สรา้ งสรรคช์ ้ันงาน โดยใชค้ วามรแู้ ละเนอื้ หาทางศิลปะ 3.5 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ทค่ี รไู ดร้ วบรวมและแนะนำใหไ้ ด้อยา่ งถูกตอ้ ง 4. ผลท่ีเกิดกบั สถานศกึ ษา จากการทสี่ ถานศกึ ษามีแผนกลยุทธใ์ นการพัฒนา มเี ปา้ หมาย มีทิศทางในการดำเนินงานเพ่ือพัฒนา สถานศกึ ษา นกั เรียน โดยมกี ารจดั กิจกรรม โครงการต่างๆ อย่างเปน็ รูปธรรม ซง่ึ นกั เรียนและครูมสี ่วนร่วมใน การ ปฏิบัตกิ ิจกรรม ทำใหผ้ ลการดำเนนิ งานเป็นทยี่ อมรับของผู้ปกครอง ชมุ ชน ทอ้ งถิ่น ตลอดจนการจดั ทำสื่อ ประชาสมั พนั ธต์ า่ งๆ เช่น วารสารประชาสมั พันธ์โรงเรียน แผ่นพบั ประชาสมั พนั ธ์โรงเรียน และเวบ็ ไซต์ ประชาสมั พันธ์และแหลง่ ข้อมูลเพอื่ สืบค้นสำหรบั ครูและนักเรียน เพอ่ื ให้โรงเรยี นมีการเปลย่ี นแปลงไปในทางท่ี ดี ขน้ึ และใหก้ ารดแู ลนักเรยี นโดยการเยี่ยมบา้ นนักเรียนในความดแู ล และให้คำแนะนำในด้านตา่ งๆ ใหแ้ ก่ นักเรยี น และผปู้ กครอง ได้รบั การยอมรับจากผปู้ กครองและชมุ ชนในด้านการดูแลเอาใจใสข่ องครูทม่ี ตี อ่ นกั เรยี นในด้าน

การจดั การดูแลดา้ นพฤตกิ รรม คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคด์ ้านกริ ยิ า มารยาท ความมีวนิ ัยใน ตนเอง ความ รบั ผิดชอบ สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานได้ดังนี้ 4.1 มรี ะบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ในรูปแบบตา่ ง เช่น ระบบงานทะเบยี นและวัดผล ระบบ ส่งข้อมลู T-SAR รายบุคคล, ระบบจัดเกบ็ คำสัง่ ประกาศ และเอกสารต่างๆ ของทางโรงเรยี น ระบบ, และการ บันทึกและจัดเกบ็ ขอ้ มลู ในระบบสนับสนนุ การเรยี นรู้ 4.2 มีการพฒั นากจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรมลูกเสอื และชุมนุมทีจ่ ดั ให้สอดคลอ้ งกับ หลกั สูตรและ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง 4.3 มรี ะบบจดั การช้นั เรยี น 4.4 การนิเทศตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงานของครูทำให้การปฏิบตั ิงานมคี วามสมบูรณ์ และเปน็ ไปตามเวลาท่ี กำหนด 4.5 มรี ะบบการทำงานเป็นทีมมากขนึ้ 4.6 มีแนวปฏบิ ัตดิ ้านเอกสาร หลกั ฐานทางการศกึ ษาท่ถี กู ต้อง 4.7 การพฒั นางานมรี ะบบถกู ต้องและครบวงจร 5. ผลท่ีเกดิ กบั ชมุ ชน สถานศกึ ษามสี ว่ นรว่ มกบั ชุมชน ในกิจกรรมตา่ งๆ ตลอดปีการศกึ ษา โดยเฉพาะกจิ กรรมที่เกี่ยวกบั วฒั นธรรม ประเพณี และพธิ ีกรรมทางศาสนา ตลอดจนกิจกรรมท่เี ปน็ ประโยชน์ กิจกรรมวันสำคญั จนทำให้ เกดิ ความรว่ มมอื ความเขา้ ใจทด่ี ตี ่อกัน เกดิ ความรักและความภาคภูมใิ จในโรงเรียนและท้องถนิ่ นอกจากน้ี โรงเรยี นยงั ได้จดั กจิ กรรมการประชมุ ผู้ปกครอง ประชมุ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานในแต่ละภาคเรียน เพ่ือชี้แจง นโยบายของโรงเรียน และเพอ่ื หาแนวทางในการรว่ มพฒั นาโรงเรียน ทง้ั พฒั นาอาคารสถานท่ี และ พฒั นาทาง วิชาการใหเ้ ปน็ ไปในทางทิศทางเดยี วกนั สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานไดด้ งั น้ี 5.1 เกิดความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ผู้ปกครองนกั เรยี น และชุมชน มกี ารประชุมทุกภาคเรียน 5.2 มกี ิจกรรมทางสังคมในด้านตา่ งๆ รว่ มกบั ชุมชนอยา่ งสมำ่ เสมอ 5.3 เป็นแหล่งเรียนรทู้ ี่สามารถให้บุคคลภายนอกเขา้ มาศึกษาได้ 5.4 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรทู้ างเครอื ขา่ ยวชิ าการ และชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ 5.5 เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือขา่ ยแลกเปล่ียนเรียนรทู้ างวชิ าชพี ทาง Facebook และ Line@ 5.6 โรงเรียนให้บรกิ ารแหลง่ เรียนรู้แกช่ มุ ชนในดา้ นต่างๆ รวมทัง้ ส่งเสริม สนบั สนุนให้ชุมชน มคี วาม เข้มแข็ง อีกท้ังชุมชนยังให้ความรว่ มมอื และสนบั สนนุ กิจกรรมต่างๆ ของโรงเรยี น ดว้ ยดี

สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเอง ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ. ระดบั ความรู้ มีมาก ปานกลาง มีนอ้ ย ดา้ นท่ี 1 ความรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั งิ านในหนา้ ที่ ✓ ✓ รายการพจิ ารณาตนเอง ✓ 1. เนอื้ หา ในรายวชิ า/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทีส่ อน ✓ 2. วธิ ีสอน ถา่ ยทอดความร้เู ชงิ เนอื้ หา กิจกรรม บรบิ ท เปา้ หมายการเรยี นรู้ ความรูพ้ ้ืนฐาน การปรับพืน้ ฐาน และอุปสรรคการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ✓ 3. หลักการสอน และกระบวนการเรียนรู้ 4. หลักสูตร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมิน และแนวทางการ ✓ เรียนรใู้ นแต่ละเนอื้ หา 5. พื้นฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาสังคม ✓ นโยบายการศึกษา จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชาติจนถึง ✓ ระดบั หลกั สตู ร ✓ 6. การจัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองต่อความหลากหลายของ ผเู้ รยี น 7. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ และจติ วทิ ยาการเรยี นรู้ 8. การใช้เทคโนโลยี และส่อื นวตั กรรมเพื่อการเรียนรู้ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นที่ 2 ทักษะการปฏบิ ัติงาน ระดับความสามารถ ทำได้ดี พอใช้ ไม่ค่อยได้ทำ รายการพจิ ารณาตนเอง ✓ 1.การสร้างและหรอื พฒั นาหลกั สูตร ✓ 2. การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ ✓ 3. การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ ✓ 4. กลยทุ ธ์ในการจดั การเรยี นรู้ 5. การสรา้ งและการพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษาและ ✓ แหลง่ เรียนรู้ 6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ✓

ด้านที่ 3 ความเปน็ ครู รายการพิจารณาตนเอง ระดับความเปน็ ครู สูงมาก ปานกลาง ยังตอ้ งปรับปรงุ 1. ยึดม่นั ผูกพนั ศรทั ธาในวชิ าชีพ และทุ่มเทเพอ่ื การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ✓ 2. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ✓ ทั้งกาย วาจา และจิตใจ ดำรงตนให้เป็นที่เคารพ ศรัทธา และน่าเชื่อถือ ทง้ั ใน และนอกสถานศกึ ษา 3. ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู ✓ 4. มวี นิ ยั และการรักษาวนิ ยั ✓ 5. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ✓ ให้มีความรู้ความชำนาญในวชิ าชพี เพ่ิมข้ึน 6. ปฏบิ ตั ติ นโดยนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ✓ 7. มที ศั นคตทิ ด่ี ีต่อบา้ นเมือง ✓ ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ศักยภาพของผู้เรียนในสถานศกึ ษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. รายการศักยภาพผูเ้ รียนตามจดุ เนน้ ระดบั ศกั ยภาพ สูงมาก ปานกลาง ยังต้องปรับปรงุ 1. ดา้ นอา่ นออก อ่านคลอ่ ง เขยี นได้ เขียนคลอ่ ง 2. ดา้ นคดิ เลขเปน็ คิดเลขคล่อง ✓ 3. ดา้ นการคิดขนั้ พ้ืนฐาน ✓ 4. ดา้ นการคดิ ขน้ั สูง ✓ 5. ดา้ นการส่อื สารอยา่ งสร้างสรรค์ตามชว่ งวัย ✓ 6. ดา้ นการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 7. ดา้ นการใช้เทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นรู้ ✓ 8. ดา้ นการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง ✓ 9. ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ✓ 10. ดา้ นใฝด่ ี ✓ 11. ดา้ นทกั ษะชีวติ ✓ 12. ดา้ นอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มุง่ ม่นั ในการศึกษาและการทำงาน ✓ ✓ ✓

ตอนที่ 3 ผลการประเมินศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลกั สตู รของสถาบนั ครุ ุพัฒนา รายการศกั ยภาพผูเ้ รยี นตามจุดเน้น ระดบั ศักยภาพ สูงมาก ปานกลาง ยงั ตอ้ งปรับปรุง 1 การสอนในศตวรรษท่ี 21 2 การแกปญหาผูเรียน ✓ 3 จติ วิทยาการแนะแนว/จิตวทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ ✓ 4 การจดั การชั้นเรยี น ✓ 5 การวจิ ยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรูทางวชิ าชีพ ✓ 6 การพฒั นาหลกั สูตร ✓ 7 สะเตม็ ศึกษา(STEM Education) ✓ 8 การใชสอ่ื และเทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู ✓ 9 การวัดและประเมินผลการเรียนรู ✓ 10 การออกแบบการเรยี นรู ✓ ✓ สรปุ ผลการประเมินตนเอง ตอนที่ 1 ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. อยูใ่ นระดับดี มกี ารพฒั นาหลักสตู ร ออกแบบ การ จดั การเรยี นรู้ ยดึ ม่ัน ผกู พนั ศรทั ธาในวชิ าชพี และท่มุ เทเพ่อื การเรียนรู้ของผ้เู รียน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี ก่ผู้เรยี น ทง้ั กาย วาจา และจิตใจ ดำรงตนให้เป็นท่ีเคารพ ศรัทธา และ นา่ เช่ือถือท้ัง ใน และนอกสถานศกึ ษา เป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นร้ปู รับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื ง ให้มี ความรคู้ วาม ชำนาญในวชิ าชพี เพม่ิ ขนึ้ และปฏิบตั ิตนโดยนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ตอนท่ี 2 ผลการประเมินศกั ยภาพของผเู้ รียนในสถานศึกษาตามจดุ เนน้ ของ สพฐ. อยใู่ นระดบั ปาน กลาง ตอนท่ี 3 ผลการประเมินศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคดิ ของหลักสตู รของสถาบนั ครุ พุ ัฒนา อยใู่ น ระดบั ปาน กลาง จึงควรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาความร้คู วามสามารถ และนำมาปรบั ใช้ในการจดั การเรียนรู้ ให้กบั นักเรยี นตอ่ ไป

สว่ นท่ี 3 แผนการพฒั นาตนเอง 1. อนั ดับความสำคัญ / สมรรถนะทีจ่ ะพฒั นา (ใหใ้ ส่หมายเลขเรยี งตามลำดบั ความสำคญั ของสมรรถนะท่ีจะพฒั นา) ( ๑ ) การสอนในศตวรรษท่ี 21 ( ๓ ) การแกป้ ัญหาผ้เู รยี น ( ๕ ) จติ วทิ ยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจดั การเรียนรู้ ( ๖ ) การจดั การชัน้ เรยี น ( ๘ ) การวิจัยพฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแห่งการเรยี นรูทางวชิ าชพี ( ๙ ) การพฒั นาหลกั สตู ร ( ๑๐) สะเตม็ ศกึ ษา(STEM Education) ( ๔ ) การใช้ส่ือและเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นรู ( ๗ ) การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ( ๒ ) การออกแบบการเรยี นรู 2. วิธกี าร /รปู แบบการพัฒนา วิธีการ/รูปแบบการพฒั นา ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ท่ี สมรรถนะท่จี ะพฒั นา 1 การสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ -เขา้ รับการอบรม สมั มนาทห่ี น่วยงานตน้ - ตนเองเป็นผู้มีคณุ ภาพ ได้รบั 2 การออกแบบการเรยี นรู้ สงั กดั หนว่ ยงานอื่นๆจัดขน้ึ การพัฒนา ไปในทศิ ทางท่ีดี - ศกึ ษาดูงานโรงเรยี นตน้ แบบ บุคลากร ข้ึน สง่ ผลและเกิด ประโยชน์ ต้นแบบเพอ่ื นำมาพัฒนาตนเอง ตอ่ ผู้เรยี น และโรงเรยี น - แลกเปล่ยี นเรยี นรู้กบั บุคลากรใน โรงเรยี น - ศกึ ษาเอกสาร ผลงานทางวชิ าการจาก ตารางวารสาร - สืบค้นความรทู้ างอนิ เตอร์เนต็ - เข้ารบั การอบรมการออกแบบการ - ครูมคี วามรแู้ ละทกั ษะ เรียนรู้ กระบวนการใน การออกแบบ - เลอื กใช้เทคนิคกระบวนการจดั การ การเรยี นรู้ เรยี นรู้ทีเ่ หมาะสม เลอื กใชส้ อ่ื และแหล่ง - ครูเลอื กใชส้ ่ือที่เหมาะสม เรียนรูท้ ี่จะช่วยสนบั สนุนการ เรียนรู้ของ กับผู้เรียน

ท่ี สมรรถนะท่ีจะพฒั นา วธิ ีการ/รปู แบบการพฒั นา ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั ผเู้ รยี น และใชว้ ธิ กี ารวดั ผลประเมินผลที่ หลากหลาย ทั้งนโี้ ดยเนน้ ผเู้ รียนเป็น สำคัญเพอ่ื ให้ ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตาม ศักยภาพของแตล่ ะคน และสามารถ นำส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ 3 การแกป้ ญั หาผูเ้ รยี น - จดั กจิ กรรมส่งเสริม ปลกู ฝงั คุณธรรม - ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรมทดี่ ี งามใหก้ บั ผูเ้ รยี นอยูเ่ สมอ และ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ โดยการอบรมหนา้ เสาธง กจิ กรรมโฮมรมู มีทักษะชีวิต เป็นที่ยอมรับ และเยย่ี มบา้ นนกั เรยี น ของสังคม - ส่งเสริมผ้เู รียนตามความถนดั ความสามารถแตล่ ะ บคุ คล - ศึกษา ผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล 4 การใช้สอ่ื และเทคโนโลยี - เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการผลิตสื่อ - ตนเองมีความสามารถใน ในการจัดการเรียนรู้ การใช้สอ่ื ประเภท ICT การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ - สร้างสื่อและนวัตกรรมในการจัดการ โดยมคี วามรเู้ ร่ืองการ เขียน เรยี นการสอน แผนการจดั ประสบการณ์ การ วดั ผลประเมนิ ผล ตลอดจน การผลติ สือ่ การใช้สอ่ื ประเภท ICT ส่งผลตอ่ การจดั กิจกรรมใหก้ บั ผเู้ รียนอย่าง สูงสุด 5 จติ วทิ ยาการแนะแนว/ - เข้ารับการอบรมจิตวิทยาการแนะ - ครมู คี วามรูค้ วามเข้าใจการ จติ วิทยาการจดั การเรียนรู้ แนว/จติ วทิ ยาการ จดั การเรียนรู้ เรียนรู้และ พฒั นาการของ - ศกึ ษาผู้เรียนเป็นรายบคุ คล ผูเ้ รยี น - ศกึ ษาวจิ ัยเกยี่ วกบั การเรยี นรแู้ ละ - ผ้เู รียนไดร้ ับการส่งเสรมิ พฒั นาการของ ผเู้ รียน ในสภาพการ เพม่ิ ขึ้น เรยี นการสอนหรอื ในชัน้ เรียนเพ่ือ นำมา ชว่ ยแกป้ ญั หาทางการศึกษาและส่งเสริม การ เรียนการสอนให้มปี ระสทิ ธภิ าพ

ท่ี สมรรถนะท่จี ะพัฒนา วธิ กี าร/รูปแบบการพัฒนา ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั 6 การจดั การชน้ั เรยี น - จดั บรรยากาศในชน้ั เรยี นใหเ้ อื้อต่อการ - ห้องเรียนมบี รรยากาศที่เอ้ือ เรียนรู้ - จัดมุมประสบการณ์ตา่ งๆ ตอ่ การ เรยี นรู้ ผู้เรยี นมี เพ่อื ให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ - จัดป้ายนิเทศ ความสขุ ในการเรยี นรู้ ครู มี เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารสำหรบั การ ข้อมลู ตา่ งๆ เป็นปัจจบุ ัน เรยี นรู้ สามารถเป็นแบบอยา่ งได้ - จดั ท าเอกสารงานธุรการในชน้ั เรยี น ให้เปน็ ปจั จุบนั - จดั ระบบการดแู ล ช่วยเหลอื ผู้เรยี นและนำขอ้ มูลไปใช้ ใน การพัฒนาผูเ้ รียน 7 การวดั และประเมินผลการ - จดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่เี น้นผู้เรียนเป็น -ผู้เรียนใหค้ วามสนใจ ต้ังใจ มี เรยี นรู้ สำคญั ความ กระตอื รือร้นที่จะ - จดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ให้ผ้เู รยี น เรียนรู้ มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการ ไดป้ ฏบิ ัติจรงิ เรยี นท่ดี ีขนึ้ มที กั ษะในการ - จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชส้ อ่ื ปฏิบัติ กิจกรรมตามศกั ยภาพ นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรู้ ท่ี ของแต่ละบุคคล และ นา่ สนใจ สามารถหาความรูเ้ พมิ่ เตมิ ได้ - วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรอู้ ยา่ ง ตลอดเวลาทงั้ ภายในและ หลากหลาย และ นำผลไปใชใ้ นการ ภายนอกโรงเรียน พัฒนาผเู้ รียน 8 การวิจัยพฒั นาการเรยี น - เข้ารบั การอบรม การวจิ ยั พัฒนาการ - ครมู คี วามรู้ความสามารถใน การสอน/ชุมชนแหง่ การ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จดั ทำส่อื การ การเขยี น ผลงานทางวชิ าการ เรียนรูทางวชิ าชพี เรียนรู้ เพอื่ พฒั นาคุณภาพของครแู ละ และวิจยั ในชนั้ เรยี น แบบงา่ ย ผูเ้ รยี น ได้ - ศกึ ษาเอกสาร ตำราในการจดั ทำ - ผเู้ รยี นไดร้ ับการแกป้ ัญหาที่ เอกสารทางวิชาการ ถูกวธิ โี ดยครู ทำการวจิ ยั ในชนั้ - ศกึ ษาผลงานตวั อย่างในการทำผลงาน เรยี น ทางวิชาการ - ครมู กี ารทำวจิ ยั ในชัน้ เรยี น - ดำเนินการวจิ ยั ในช้นั เรยี นเพ่อื อย่างต่อเนอ่ื ง แกป้ ญั หาตลอดจน พัฒนาผู้เรียน 9 การพัฒนาหลกั สูตร - เข้ารบั การอบรม สัมมนา ศกึ ษาดงู าน - ครูมคี วามรู้ ความสามารถ ศกึ ษาเอกสาร เกยี่ วกบั หลกั สตู รการ ในการพัฒนา หลกั สตู ร ออกแบบการเรียนรู้การเขยี น แผนการ เพ่มิ ข้ึน จดั ประสบการณ์ การวดั ผลประเมนิ ผล เพอื่ พฒั นาตนเอง

ท่ี สมรรถนะท่ีจะพฒั นา วิธีการ/รูปแบบการพฒั นา ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ 10 ส ะ เ ต ็ ม ศ ึ ก ษ า ( STEM - เข้ารบั การอบรมสะเตม็ ศึกษา (STEM - ครไู ดร้ ับความรู้สะเตม็ ศกึ ษา Education) Education) - จัดกิจกรรมบรู ณาการ - ผ้เู รียนเกดิ การเรยี นรทู้ ่ี หลากหลาย 3. ระยะเวลาในการพฒั นา เร่มิ ตน้ 1 มิถุนายน 2564 สิ้นสุด 31 มนี าคม 2565 4. งบประมาณ และ การขอรับการสนับสนุนจากหนว่ ยงาน - 5. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ 5.1 ผลลพั ธท์ ่ีคาดหวงั ด้านความรู้ : เกิดการเรยี นรู้ นำผลการพัฒนาสู่การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน และนำประสบการณ์เข้า แลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ กเ่ พอ่ื นรว่ มวิชาชพี จนเกิดองคค์ วามรทู้ ไี่ ด้จากการเขา้ รว่ มชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพไปใช้ ใน การจดั การเรียนการสอน ทักษะ : มีความสามารถบรู ณาการความรู้สู่การปฏิบัติ โดยมุ่งเนน้ การพัฒนาผเู้ รยี นไดเ้ ตม็ ตาม ศกั ยภาพ สร้างนวตั กรรมจากการปฏิบัติท่ีส่งผลต่อคณุ ภาพของผเู้ รียน และสร้างนวัตกรรมท่ไี ด้จากการเขา้ รว่ ม ในชมุ ชนการ เรียนรู้ทางวชิ าชพี และพฒั นานวัตกรรมใหเ้ ปน็ ตน้ แบบการเรยี นร้แู กเ่ พอื่ นรว่ มวชิ าชพี ความเปน็ ครู : ดำรงชีวติ อยา่ งมวี ินยั มีคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการเป็นผูท้ ่ี มี วนิ ัย ตรงต่อเวลา ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บ ข้อบังคับ กตกิ าของสงั คม มคี วามประพฤตทิ ่ีเปน็ แบบอย่างที่ดีทง้ั ทาง กาย แตง่ กายเหมาะสมกบั กาลเทศะ มมี ารยาท และเป็นมติ รกับลกู ศิษย์ ตามบทบาทและสถานการณ์ ทางวาจา สุภาพ จรงิ ใจและสรา้ งสรรค์ ท่ีก่อใหเ้ กิดกำลังใจ และเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้อ่ืน และทางใจ มคี วามเมตตา กรณุ า กตัญญูกตเวที ซอื่ สัตย์สจุ รติ มคี วามเป็นกลั ยาณมิตร อดทน มีอดุ มการณเ์ พ่อื ส่วนรวม ตลอดจนดำรงชวี ติ อย่าง เหมาะสมกับฐานะ และมคี วามรกั ศรัทธา และยดึ มั่นในอุดมการณแ์ ห่งวชิ าชีพ เข้ารว่ มชุมชนการเรียนรู้ทาง วชิ าชพี สรา้ งเครอื ข่ายชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี สร้างวฒั นธรรมทางการเรียนรใู้ นสถานศึกษาและเป็นผนู้ ำการ เปลีย่ นแปลงตอ่ วงการวชิ าชพี

. ประวัติการเขา้ รบั การพัฒนา (ในรอบ ๑ ปี ที่ผา่ นมา) ลำดับที่ เร่อื ง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ ชวั่ โมง ๑ ทดสอบวัดความรเู้ ก่ยี วกบั หลกั สตู รภยั พบิ ัติ สพม.เขต 9 1 และผ่านเกณฑ์การประเมนิ การอบรม 1 ๒ ทดสอบวัดความรโู้ ครงการภาษาน่ารกู้ ับครู โรงเรยี นดอนเมอื งจาตรุ จินดา 1 1 กฤษณาและผ่านเกณฑ์การประเมินการ 1 อบรม 2 1 ๓ ทดสอบวัดความรเู้ กย่ี วกบั เช้ือโควดิ 19และ สพป.นครปฐม เขต 1 8 ผ่านเกณฑ์การประเมินการอบรมการพัฒนา 4 ทดสอบวัดความรเู้ ก่ยี วกบั การเรยี นรทู้ าง สพป.กาญจนบรุ เี ขต 1 วชิ าชพี (PLC)และผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การอบรมการพฒั นา 5 ทดสอบวดั ความรู้เกย่ี วกบั เชือ้ โควดิ 19และ สพป.ตาก เขต 2 ผ่านเกณฑ์การประเมินการอบรมการพัฒนา 6 การอบรมหลกั สตู รออนไลน์ เรอื่ ง Aksorn บริษทั อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. On-Learn เพื่อการสอนออนไลน์ 7 เปน็ ผรู้ ่วมขับเคลือ่ นพัฒนาการอา่ นไม่ออก สปพ. ตากเขต 2 เขียนไม่ได้ โครงการการแกป้ ญั หาการอา่ น ไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้ของนักเรียน 8 เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ งานวนั ครู คุรสุ ภา คุรุสภา 9 ทดสอบออนไลน์เร่อื ง มาร์ชช่ิงความดี มลู นธิ ิครขู องแผ่นดิน 1 มลู นธิ ิครูของแผน่ ดิน 1 10 ทดสอบออนไลนเ์ ร่อื ง ข้อกฎหมาย โทษ ศนู ย์ประงานเครือขา่ ยงดเหล้า 1 และพษิ ภยั ของเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ จ.พระนครศรีอยธุ ยา 1 3 11 ทดสอบออนไลนเ์ ร่ือง คำไทยท่ีมักเขียนผดิ สนง.กศน. 12 ทดสอบออนไลน์เรอ่ื ง การเขยี นแผนงาน ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษา 13 ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสถานศกึ ษา และ ประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยตน้ สงั กัด สมศ. เพอ่ื สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับ แนวทางการประเมินคณุ ภาพ ภายนอก ภายใต้สถานการณ์COVID-19

ลำดับท่ี เรอ่ื ง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ ส านักเลขาธิการสภา ช่ัวโมง 14 ประชมุ ทางวิชาการสภาการศกึ ษาเสวภา การศกึ ษา 3 คร้ังท่ี 1 เรือ่ ง ฟังเสียงครู : ปัญหาหนา้ บ้าน สมศ. หรอื บริบทการเรยี นรใู้ นยคุ ดจิ ทิ ัล สสวท ได้เข้ารว่ มรับชมการบรรยายแนวทางการ 3 ประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้ สสส. ,สพฐ.,P2H รวม สถานการณ์COVID-19 การตรวจเยี่ยม หลกั สตู รอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้ 12 วทิ ยาการคำนวณสำหรับครปู ระถมศกึ ษาปี ท่ี 4-6 หลักสูตรครกู บั การจดั การเรียนรู้เพศวถิ ี 22 “การสอนเพศวถิ ีศกึ ษา” 63 การเขา้ รบั การพฒั นาในปกี ารศึกษา 2564 ลำดับท่ี เรอื่ ง หน่วยงาน จำนวน หมายเหตุ ชว่ั โมง ๑ การอบรมการดว้ ยระบบการเรียนออนไลน์ สถาบันพัฒนาบคุ ลากรดา้ น ๐.๕ 23 เม.ย 2564 ในบทเรียน Digtal Literacy 2021 ดิจิตลั ๒ การอบรมกาดว้ ยระบบการเรยี นออนไลน์ใน สถาบันพฒั นาบุคลากรดา้ น ๓.๑๕ 23 เม.ย บทเรียนการใช้เครื่องมอื ดจิ ิตัลเพ่อื การ ดิจติ ลั 2564 ทำงานของภาครฐั ๓ การอบรมกาดว้ ยระบบการเรียนออนไลน์ใน สถาบนั พัฒนาบุคลากรดา้ นดิ ๒.๓๐ 23 เม.ย บทเรยี นความเข้าใจและการใชเ้ ทคโนโนโลยี จิตลั 2564 อย่างมีประสิทธภิ าพ 4 หลักสูตรBe Internet Awesome โดย มลู นธิ ิครดู ีของแผ่นดิน ๑ 16 Google พฤษภาคม 2564 5 การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ยกุ ปกติ สพฐ. 6 ๑๗ ใหม่ : มุมมองของผูบ้ ริหาร นักวชิ าการและ พฤษภาคม ครู : ในหัวขอ้ แนวการพฒั นาออนไลน์ และ ๒๕๖๔

ลำดับท่ี เร่อื ง หน่วยงาน จำนวน หมายเหตุ สพฐ. ชั่วโมง ทดสอบความปลอดภยั อนิ เตอรเ์ นต็ ด้วยการ สพป.พิจิตรเขต 2 6 ๑๘ เรยี นเชิงรกุ พฤษภาคม ๒๕๖๔ 6 การจดั การเรยี นการสอนออนไลนย์ ุกปกติ ใหม่ : มมุ มองของผู้บรหิ าร นักวชิ าการและ 1 19 พ.ค. ครู : ในหวั ข้อการสรา้ งหอ้ งเรยี นออนไลน์ 1 2564 และสร้างห้องเรียนออนไลนท์ ี 2ทดสอบ ความปลอดภัยอินเตอร์เนต็ ด้วยการเรียนเชงิ รกุ 7 การทดสอบการความรเู้ กี่ยวกับหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการให้ขา้ ราชการและบคุ ลากร ทางการศึกษา ตำแหน่งครู มวี ทิ ยฐานะและ เลือ่ นวิทยฐานะ(ว 21/2560) 8 การอบรมความร้รู ะเบยี บสำนกั สพป.พจิ ิตรเขต 2 1 19 พ.ค. นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 2564 9 การจดั การเรยี นการสอนออนไลนย์ ุกปกติ สพฐ. 6 ๒๑ ใหม่ : มมุ มองของผ้บู รหิ าร นักวชิ าการและ พฤษภาคม ครู : ในหวั ขอ้ การส่งเสรมิ ศักยภาพการ ๒๕๖๔ เรยี นรดู้ ้วยสอ่ื วีดโี อออนไลนแ์ ละหอ้ งเรยี น กลบั ดา้ นด้วยวดี โี อแบบมีปฏิสมั พันธ์ 10 การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เรือ่ งการสรา้ ง สพป.ตาก เขต ๒ 5 20 แบบฟอรม์ ออนไลนด์ ว้ ย Goole Forms สงิ หาคม 2564 11 นวัตกรรมการศึกษา กลา้ เปลยี่ น สำนักงานเลขาธิการสภา 14 26-27 สรา้ งสรรค์ ยกระดับคณุ ภาพศกึ ษาไทย การศกึ ษา สงิ หาคม 2564 12 Homeroom Onsite&Online เพื่อ สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา ๓ ๒๘ เสริมสรา้ งรากฐานกาย อารมณ์ สังคม สิงหาคมถึง สติปัญญา ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๔

ลำดบั ท่ี เรื่อง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ 13 ออนไลนอ์ ย่างไรใหไ้ ปถงึ สมรรถนะ สำนักงานเลขาธิการคุรสุ ภา ชั่วโมง ๓ ๒๘ สงิ หาคมถงึ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ ๑4 รูปแบบการจดั กาเรียนรู้ในอนาคต สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ๓ ๒๘ สิงหาคมถึง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ 15 เสียงท่มี คี วามหมายของเยาวชนไทย : สำนกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา ๓ ๒๘ พัฒนาไดจ้ ากความคดิ ยง่ั ยนื สงิ หาคมถึง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ 16 การอบรมหลกั สตู รที่ 1 การบรหิ ารจดั การ สพฐ./บรษิ ทั โครซอฟท์ 3 10 เรียนการสอนออนไลน์พร้อมประสบการณ์ (ประเทศไทย) กันยายน จริงจากผบู้ ริหาร 2564 สพฐ./บริษทั โครซอฟท์ 17 การอบรมหลกั สตู รท่ี 2 กลยุทธ์การจดั การ (ประเทศไทย) 3 11 เรียนการสอนและจดั ประชมุ ออนไลน์ให้มี กนั ยายน ประสทิ ธิภาพในยุค NEXT Normal กระทรวงศึกษาธกิ าร 2564 18 ววิ ฒั นาการการเมืองไทยกับการศึกษา 3 14 กนั ยายน 2564 19 คุณธรรม จริยธรรมเด็ก ทางรอดของสงั คม กระทรวงศกึ ษาธิการ 3 14 กันยายน 2564 20 โครงสรา้ งกระทรวงศกึ ษาธิการ เส้นทาง กระทรวงศกึ ษาธิการ 3 14 วชิ าชพี ครจู ะกา้ วเดินไปทิศทางใด กระทรวงศกึ ษาธิการ กนั ยายน 2564 21 แงม่ มุ ประวตั ิศาสตรส์ ่กู ารก้าวเดนิ อนาคต 3 14 กนั ยายน 2564

ลำดับท่ี เร่ือง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ 22 กระทรวงศึกษาธิการ ชว่ั โมง การออกแบบการเรยี นรู้เพือ่ สรา้ ง ประสบการณเ์ รียนรูส้ ำหรับการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ 3 14 กันยายน 2564 23 นวตั กรรมเพื่ออนาคตการศกึ ษาไทย 3 14 กันยายน 2564 24 ศกึ ษาสอ่ื สารผา่ นบทเพลง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3 14 กนั ยายน 2564 25 Active Learning กระทรวงศึกษาธกิ าร 6.30 14 กนั ยายน 2564 26 ว PA จากการเรียนรู้สปู่ ฎิบัติจริงสำหรบั สพม.กทม เขต 1 ๖ 10 ตลุ าคม สายงานสอน (ว ๙/๒๕๖๔) ๒๕๖๔ 27 จิตวิญญาณความเปน็ ครู มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กำแพง ๒ 25 ตลุ าคม- 30 ตุลาคม 28 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรอ่ื งการใชง้ าน สพป.ตาก เขต ๒ แอพพเิ คชัน Topworksheet สถาบันไอเวิลด์ 2564 29 การสร้างหน่วยการเรยี นรอู้ อนไลน์และการ สพป.ตาก เขต ๒ 5 จัดการเรยี นการสอนเน้นสมรรถนะผ้เู รยี น สพป.ตากเขต 2 ดว้ ยการใชส้ มารท์ ดจิ ทิ ัลแพลตฟอร์ม ๓ โรงเรยี นออนไลน์ครบวงจรเป็นฐาน ๑๓ 30 การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรอ่ื งการใชง้ าน พฤศจกิ ายน แอพพิเคชนั WZIER.ME ๒๕๖๔ 31 การอบรม ว PAจากการเรียนรู้สปู่ ฏบิ ัติ 5 ๑8 จริง พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ 3 19 พฤศจิกายน 2564

ลำดบั ท่ี เรอื่ ง หนว่ ยงาน จำนวน หมายเหตุ 32 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการใช้งาน สพป.ตากเขต 2 ชว่ั โมง 26 แพลตฟอร์ม Google site 6 ธนั วาคม ๒๕๖๔ 33 การอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลสำหรบั ผู้ กรมอนามยั ศนู ยอ์ นามยั ที 2 3 26 สัมผัสอาหาร พิษณโุ ลก ธนั วาคม ๒๕๖๔ 34 หลักสตู รส่งเสริมการเรียนรู้หน้าพี่ กรมสุขภาพจติ 9 พลเมืองดิจทิ ัล กระทรวงศึกษาธิการ 21 มกราคม 35 ประชมุ ชี้แจงการนำแนวทางการจดั การ สพป.ตากเขต 2 3 2565 เรียนการสอนในสถานการณ์แพรร่ ะบาด กระทรวงศึกษาธกิ าร 3 เช้ือไวรัสโครา 2019 3 กุมภาพนั ธ์ 36 Moe Safety PlaForm 2565 37 ข้าราชการไทยกบั การมคี ณุ ธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กำแพง ๒ ๑๕ จริยธรรม 3 38 การอบรมหลักสตู รสขุ าภิบาลสำหรับผู้ กรมอนามัย ศนู ยอ์ นามยั ที 2 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 สมั ผสั อาหาร พิษณโุ ลก 8 มีนาคม 39 ข้าราชการไทยกบั การมคี ุณธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกำแพง ๒ จริยธรรม 2565 รวม 146 26 ธันวาคม ๒๕๖๔ 8 มนี าคม 2565

(นางสาวกณกิ าร์ ปรือปรัง) ผจู้ ัดทำแผนพัฒนาตนเอง ความเห็นของผูบ้ ังคับบัญชา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ........................................................................ (นายกชิ สณพนธ์ เฉลมิ วิสตุ มก์ ุล) ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านท่าอาจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook