Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัยในชั้นเรียน การอ่านสะกดคำ ชั้น ป.2-2 2564.docx

งานวิจัยในชั้นเรียน การอ่านสะกดคำ ชั้น ป.2-2 2564.docx

Published by กณิการ์ ปรือปรัง, 2022-03-16 09:31:32

Description: งานวิจัยในชั้นเรียน การอ่านสะกดคำ ชั้น ป.2-2 2564.docx

Search

Read the Text Version

1

2 บนั ทึกข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนบา้ นท่าอาจ อำเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก ท่ี /2564 วนั ท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ. 2564 เรื่อง รายงานการจดั สง่ วจิ ัยในชนั้ เรยี น ประจำภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นท่าอาจ ข้าพเจ้า นางสาวกณิการ์ ปรือปรัง ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนบ้าน ท่าอาจ ได้จัดทำวจิ ัยในชน้ั เรยี น เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำทม่ี ีตัวการันต์ เป็นพยัญชนะ ๑ ตวั โดยใช้ส่อื การเรียนรู้ออนไลน์ แบบแจกลกู สะกดคำ สำหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภายใต้ สถานการณ์ COVID- 19 ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 12101 ชั้นประถมศึกษาปีที 2 ภาคเรยี นที 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ได้รับมอบหมายใหท้ ำการเรียนการ สอนในรายวิชาภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบและพจิ ารณา ลงชื่อ ....................................................... ( นางสาวสาวกณกิ าร์ ปรือปรัง) ผจู้ ดั ทำวจิ ัย ๑.ความคดิ เห็นของหวั หน้างานวิจัยในชัน้ เรียน ๓. คำสง่ั ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น  ทราบ................................................................... ................................................................................................................................  อนมุ ัติ.................................................................... ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ลงชอ่ื ........................................................ ลงชอื่ ................................................ (นางสาวกณิการ์ ปรอื ปรัง) (นายกชิ สณพนธ์ เฉลมิ วิสตุ ม์กุล) หัวหน้างานวจิ ัยในชัน้ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านท่าอาจ ๒.ความคดิ เหน็ รองผู้อำนวยการ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ลงชื่อ........................................................ (นางสาววรากร ทองทวี) รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นท่าอาจ

ก1 คำนำ การจัดทำรายงานการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์ เป็นพยัญชนะ 1 ตัว โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ฉบับน้ี จัดทำขึ้นเพื่อเพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย เพอื่ พฒั นาทกั ษะการอา่ นสะกดคำ คำท่มี ตี วั การันต์ เปน็ พยญั ชนะ 1 ตัว ซง่ึ ผูร้ ายงานได้ ศึกษาค้นคว้าเอกสารงานวิจัยต่างๆ เพื่อนำความรู้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง และพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน โดยพัฒนาสื่อนวตั กรรมมาใช้ให้เหมาะสมโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคญั ซ่งึ ไดด้ ำเนนิ การพัฒนาในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้ความรู้ คำปรึกษาคำแนะนำในกระบวนการ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จนงานสำเร็จลุล่วงด้วยดี ขอบพระคุณคณะครู นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที 2 ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาครั้งน้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ ต่อผู้ทเ่ี กย่ี วข้องกับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนภาษาไทยไดอ้ กี ทางหน่ึง นางสาวกณกิ าร์ ปรอื ปรงั

2ข สารบัญ หนา้ คำนำ........................................................................................................................... ก สารบญั ........................................................................................................................ ข บทท่ี 1 บทนำ............................................................................................................................ 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา......................................................... 1 วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ................................................................................. 1 สมติฐานของการวิจัย....................................................................................... 1 ขอบเขตของการวจิ ัย........................................................................................ 1 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ............................................................................................ 3 ประโยชน์ของการวจิ ยั .................................................................................... 3 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง................................................................................... 5 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551…………….……. 6 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย......... 7 ส่ือการเรยี นออนไลน.์ .................................................................................... 8 การอา่ นแบบแจกลกู สะกดคำ........................................................................ 9 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง........................................................................................ 10

3 สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า 3 วิธีการดำเนนิ การวจิ ยั ................................................................................................ 11 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง…………………………………………………………….….. 12 วธิ ดี ำเนินการ.............................................................................................. 13 เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ............................................................................. 14 วิธีการรวบรวมขอ้ มลู ..................................................................................... 15 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ........................................................................................ 16 สถิติทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ..................................................................... 17 4 ผลการวิจัย.................................................................................................................. 18 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ.................................................................... 20 บรรณานุกรม........................................................................................................................... 25 ภาคผนวก............................................................................................................................... 26

1 บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ได้ส่งผลกระทบ ต่อประชากรโลกในวงกว้างทำใหพ้ ฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมการบริโภค และการบรกิ าร เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่สำคัญในหลายๆ ด้าน ส่งผลให้หลายภาคส่วนเกิดผลกระทบ เช่น เศรษฐกิจ สังคม การท่องเที่ยว เทคโนโลยี และการศึกษาส่งผลให้สถานศึกษาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ตามปกติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำคัญในการดแู ลนักเรยี น ผู้ปกครอง ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา จงึ ไดจ้ ัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสังกัดสำนกั งานคณะ กรรการการศึกษาขนั้ พื้นฐานในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ปีการศกึ ษา 2563 เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัดอย่างมี ประสิทธิภาพ (ศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนกั งานคณะกรรการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน, 2563: 2) สถานศึกษาจึงจำเป็นตอ้ งปรับเปล่ียนวิธีการ จัดการเรียนรู้อย่างเร่งด่วน ในการพัฒนาการเรียนการสอนของครู มาเป็นแบบออนไลน์ เพื่อลด การเผชิญหน้ากัน งดการรวมกลุ่ม งดกิจกรรมหลายๆ กิจกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียนมาเป็นแบบ ออนไลน์เตม็ รปู แบบ การศึกษาออนไลน์ (Online Education) หรือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning and Teaching) เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในยุคใหม่ ซึ่งมีกรอบแนวคิดของการใช้ ที่สำคัญ เรียกว่า “สังคมแห่งการแสวงหาความรู้หรือสังคมแห่งปัญญา” (Community of Inquiry) โรงเรียนบ้านท่าอาจจึง ให้ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามตารางเรียน โดยประยุกต์ไปตาม ความถนัดและความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียน เช่น ใช้การจัดการ เรียนรู้ออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ เช่น Line, Facebook, Zoom, Google Classroom, Microsoft team, Youtube หรือช่องทางใดช่องทางหนง่ึ ใหก้ ารเรียนการสอนดำเนินต่อไปได้ จากการที่ผวู้ จิ ัยไดจ้ ัดการเรียนการสอนกลมุ่ สาระภาษาไทยในชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 พบวา่ นกั เรยี น ส่วนใหญย่ งั ประสบปัญหาในเรอื่ งการขาดทกั ษะการอา่ น ซึง่ เปน็ ทกั ษะทีม่ ีความสำคัญ เหตุ อาจเนอ่ื งมาจาก ไมไ่ ดร้ บั การส่งเสรมิ อย่างต่อเน่อื งทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถอ่านคำไดถ้ กู ตอ้ งและ แม่นยำสาเหตดุ งั กลา่ วจงึ ทำให้ผู้วิจยั เกดิ ความสนใจทจ่ี ะทางการศกึ ษาผลของการสอนโดยใช้สื่อการ เรยี นรู้ออนไลน์ แบบแจกลกู สะกดคำ สำหรบั นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ท่ีมตี อ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าภาษาไทยของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เพือ่ ทจี่ ะ นำไปพฒั นาทกั ษะการอา่ น ภาษาไทยของนกั เรยี นใหด้ ยี ิง่ ข้ึน

2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั เพอ่ื พฒั นาและเพม่ิ ทกั ษะการอา่ นสะกดคำ คำทม่ี ตี ัวการันตเ์ ปน็ พยัญขนะ 1 ตัว ของ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 โดยใช้ส่อื การเรียนรู้ออนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ สมมตฐิ านของการวิจยั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนบา้ นทา่ อาจ ท่ีไดร้ ับการฝึก การอา่ นสะกดคำ คำท่ีมี ตวั การนั ต์เป็นพยญั ชนะ 1 ตวั โดยใชส้ อื่ การเรยี นรู้ออนไลนแ์ บบแจกลกู สะกดคำ ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 มที กั ษะการอา่ นภาษาไทยคำทมี่ ตี วั การันต์เปน็ พยญั ชนะ 1 ตัว ดขี ้ึน ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยครง้ั น้ี นักเรียนระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นบ้านท่าอาจ ตำบลท่าสายลวด จงั หวดั ตาก ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนนักเรียน 32 คน ซ่ึงเป็น นกั เรียนท่ผี ู้วิจยั รบั ผดิ ชอบสอน 2. กล่มุ ตวั อยา่ งในการวจิ ัยครั้งนี้ เปน็ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นบา้ นท่าอาจ ตำบลทา่ สายลวด จังหวดั ตาก ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 8 คน ซึ่งเปน็ นกั เรยี นท่ี ยังขาดทกั ษะทกั ษะการอา่ นสะกดคำ คำท่มี ีตวั การนั ต์เปน็ พยญั ชนะ 1 และสมัครใจเขา้ ร่วมการ วิจยั คร้งั นี้ 3. ตวั แปรที่ใชใ้ นการวิจยั ประกอบดว้ ย 3.1 ตวั แปรต้น คือ สื่อการเรยี นรู้ออนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ สำหรับนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 3.2 ตวั แปรตาม คอื ผลสัมฤทธข์ิ องการพฒั นาทักษะการอา่ นสะกดคำ คำท่ีมตี ัว การนั ตเ์ ปน็ พยัญชนะ 1 ตวั ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง สิ่งที่สะท้อนถึงความสามารถในการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ที่เกิดจากการเรียนรู้โดย สื่อการเรียนรู้ออนไลน์แบบแจกลูกสะกดคำ ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ทส่ี ามารถวัดไดจ้ ากแบบประเมนิ การอา่ น ทีผ่ ูว้ ิจัยได้จดั สร้างขึ้น

3 2. การอ่านสะกดคำ หมายถึง การอ่านโดยนำพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกตแ์ ละตัวสะกด มา ประสมเป็น คำอ่าน ซึ่งวัดผลได้จากการให้นักเรียนอ่านสะกดคำ คำมีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตวั จากหนงั สอื เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี 2 3. สื่อการสอนออนไลน์ หมายถึง สื่อการสอนเรื่องการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์ เป็น พยัญชนะ 1 ตัว ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นดว้ ยโปรแกรมสำเร็จรูป Powerpointและะนำเสนอผ่านเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ ในระบบ Microsoft team ประกอบด้วย คำและการอ่านแบบแจกลูกสะกดคำ 4. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 8 คน ประโยชน์ของการวจิ ัย 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 2 มีทักษะการอ่านสะกดคำ คำมีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตวั ดีข้ึน 2. เป็นการสร้างเจคติที่ดตี ่อการเรยี นในรายวชิ าภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

4 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มี ตัวการนั ต์ เปน็ พยญั ชนะ 1 ตัว โดยใชส้ ือ่ การเรียนรอู้ อนไลน์ แบบแจกลกู สะกดคำ สำหรบั นกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2 ภายใตส้ ถานการณ์ COVID- 19 มรี ายละเอียดดงั นี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3. สือ่ การเรียนออนไลน์ 4. การอา่ นแบบแจกลกู สะกดคำ 5. งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ให้ เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเป้าหมายและ กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีระดับโลก พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มี ความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศกึ ษา ไดม้ ีบทบาทและมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลักสตู ร เพื่อใหส้ อดคล้องกบั สภาพ และ ความต้องการของ ท้องถ่นิ จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจาย อำนาจทางการศึกษาทำให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญในการพัฒนา หลักสูตรให้สอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่น และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการ พัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึง ประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนหลกั สูตร สู่การปฏบิ ตั ิ และผลผลิตทเ่ี กิดจากการใช้หลักสตู ร ได้แก่ ปัญหาความสับสน ของผปู้ ฏบิ ตั ใิ นระดับสถานศกึ ษาในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กำหนดสาระ และผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังไว้มาก ทำให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่

5 สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการ เรียน รวมทั้งปัญหาคุณภาพ ของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึง ประสงคอ์ ันยงั ไม่เปน็ ท่นี ่าพอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554) ได้ ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการปรับเปล่ียนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคน ดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการดำรงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน ซึ่ง แนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาว ชนของชาติเข้าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อ่นื ในสังคมโลกได้อย่างสันติ จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2554 ที่ผ่านมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการใน การ พัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2554 เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความ เหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนำ หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ี ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทำหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้ กำหนดโครงสรา้ งเวลาเรียนข้ันตำ่ ของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ในแตล่ ะช้ันปีไว้ในหลักสตู รแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับ กระบวนการวดั และประเมินผลผู้เรยี น เกณฑ์การจบการศกึ ษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลกั ฐาน ทางการศกึ ษาใหม้ ีความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนตอ่ การนำไปปฏบิ ัติ เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ จัดทำขึ้นสำหรับ ทอ้ งถน่ิ และสถานศกึ ษาได้นำไปใชเ้ ป็นกรอบและทศิ ทางในการจดั ทำหลักสตู รสถานศกึ ษา และจัดการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ มีคุณภาพด้าน ความรู้ และทกั ษะทจ่ี ำเปน็ สำหรับการดำรงชวี ติ ในสงั คมทมี่ ีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อ พฒั นาตนเองอย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวติ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัดที่กำหนดไว้ในเอกสารน้ี ชว่ ยทำให้หน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง ใน ทุกระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะ สามารถช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่าง มั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสตู รในระดับสถานศึกษามีคณุ ภาพและมคี วามเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยงั ช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอน

6 ระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึง สถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และ ครอบคลุมผูเ้ รียนทกุ กล่มุ เป้าหมายในระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุก ฝ่าย ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงาน อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน ปรับปรงุ แกไ้ ข เพ่อื พฒั นาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ่ีกำหนดไว้ วสิ ยั ทัศน์ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุง่ พฒั นาผู้เรยี นทกุ คน ซึง่ เปน็ กำลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี ความรแู้ ละทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ทจี่ ำเปน็ ต่อการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษา ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ หลักการ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มหี ลักการทสี่ ำคัญ ดงั น้ี 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ เรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคกู่ ับความเปน็ สากล 2. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ ภาค และมคี ณุ ภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษา ใหส้ อดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถน่ิ 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ เรยี นรู้ 5. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทีเ่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อธั ยาศัย ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ ผู้เรียน เมอ่ื จบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ดงั นี้

7 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี ทกั ษะชีวติ 3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ขุ นสิ ัย และรักการออกกำลงั กาย 4. มีความรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสขุ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ ีการส่ือสาร ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง และสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพอื่ การตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ ท่ี เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ี เกิดขึน้ ต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรูจ้ กั หลกี เลยี่ งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่

8 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้าน ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือ่ ใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซือ่ สัตยส์ ุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม บรบิ ทและจดุ เนน้ ของตนเอง มาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน จงึ กำหนดให้ผูเ้ รยี นเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดงั น้ี 1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศกึ ษา 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาตา่ งประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพงึ รู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และ ค่านิยม ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไก สำคัญ ในการขับเคลอื่ นพัฒนาการศกึ ษาทงั้ ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรจู้ ะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการ ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือ ประกันคณุ ภาพดังกล่าวเป็นส่ิงสำคัญทชี่ ่วยสะทอ้ นภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนร้กู ำหนดเพยี งใด

9 ตวั ชว้ี ดั ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ ระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็น รูปธรรม นำไปใช้ ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็น เกณฑส์ ำคญั สำหรบั การวัดประเมินผลเพือ่ ตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรียน 1. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาค บงั คบั (ประถมศึกษาปที ี่ 1 – มธั ยมศึกษาปที ี่ 3) 2. ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มธั ยมศึกษาปที ี่ 4- 6) หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ทำไมต้องเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบคุ ลิกภาพของคนในชาตใิ ห้มคี วามเป็นไทย เป็นเคร่ืองมอื ในการตดิ ตอ่ ส่อื สารเพ่ือสร้าง ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวติ ร่วมกนั ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ งๆ เพอ่ื พัฒนาความรู้ พฒั นากระบวนการคดิ วเิ คราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพ บุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และ สบื สานใหค้ งอยูค่ ู่ชาติไทยตลอดไป เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การ เรียนรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเพอื่ นำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ • การอ่าน การอา่ นออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทรอ้ ยแกว้ คำประพนั ธ์ชนดิ ต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนำไป ปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ และเขยี นเชงิ สร้างสรรค์

10 • การฟัง การดู และการพูด การฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรู้สึก พูดลำดับเรื่องราวต่างๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็นทางการ และไม่เปน็ ทางการ และการพูดเพอ่ื โนม้ นา้ วใจ • หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธป์ ระเภทต่างๆ และอทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คณุ ค่าของงานประพนั ธ์ และความเพลิดเพลนิ การเรยี นรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บท ร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิด ความซาบซงึ้ และภมู ใิ จ ในบรรพบุรษุ ทไ่ี ดส้ ัง่ สมสืบทอดมาจนถึงปจั จบุ นั สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาในการดำเนนิ ชวี ิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา ค้นคว้าอยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท3 .1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551 หนา้ 1-16)

11 จากหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและแนวทางการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ได้ให้ความสำคัญกับกลุ่มสาะการเรียนรู้ภาษาไทยว่าเป็นการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานที่มุ่งพัฒนาให้คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งสติ ปัญญา ความรู้ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและคุณธรรม จรยิ ธรรม ในการดำรงชวี ติ มีคา่ นิยมท่ีดงี ามสามารถอย่รู ว่ มกันกับผอู้ ่ืนได้อย่าง มีความสุขและเน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่นำไปสู่การพัฒนาคนและดำรงชวี ิตในสังคม มีความ ภูมิใจในความเป็นไทยและส่งเสริมภูมิปัญญาไทย รวมทั้งเป็นแนวทางให้ผู้ศึกษาได้นำความรู้มา จัดการเรียนการสอนทีม่ ุ่งเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญควบคูก่ ับความร้หู รือธรรมชาตขิ องผเู้ รียน ส่ือการเรยี นออนไลน์ สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ถือว่ามีความสำคัญอย่างยิง่ ต่อการจัดการศึกษา สื่อการสอนท่ี ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจในเนื้อหาขณะที่เรียนได้ สื่อที่ใช้ในการสอนควรมีความ แปลกใหม่ ดงึ ดดู ความสนใจของผูเ้ รียนและกระตนุ้ การเรียนรู้ เชน่ วดี โี อ ภาพนง่ิ ภาพเคลอ่ื นไหว สถานการณ์จำลอง บทความทางวิชาการ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผู้สอนควรเลือกส่ือให้เหมาะสม เช่น ขนาดตัวหนังสือ สี ความคมชัดของรูปภาพ ความถูกต้องของข้อมูล รวมทั้งสื่อที่นำมาใช้ ควรมีความสอดคล้องกับเนื้อหาของรายวิชาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น นอกจากน้ี แหล่งเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ หนงั สือ ตำรา E-book E-journal หอ้ งสมดุ เปน็ ทางเลือกให้ผูเ้ รียนสามาถ เข้าถึงสื่อการเรียนรู้ ด้วยการสืบคน้ ข้อมลู เพิม่ เติมเพื่อนำมาประกอบการเรียน ซึ่งแหล่งเรียนรู้ควรมี ความหลากหลายให้ผู้เรียนสื่บค้นได้อย่างเพียงพอ ทำให้ผู้สอนไม่จำเป็นต้องใส่เนื้อหาในบทเรียน ทงั้ หมด การอา่ นแจกลูกสะกดคำ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2549 : 97-99) ได้อธิบายความหมายของการแจกลูก มีความหมาย 2 นัย คือ นัยแรก หมายถึง การแจกลูกในมาตราตัวสะกดแม่ ก กา กง กน กม เกย เกอว กก กด และ กบ การแจกลูกจะเริ่มต้นการสอนให้จำ และออกเสียงพยัญชนะและสระให้ได้ก่อน จากนั้นจะ เร่ิม แจกลูกในมาตราแม่ ก กา จะใช้การสะกดคำไปทีละคำไล่ไปตามลำดับของสระ แล้วจึงอ่านโดยไม่ สะกดคำ จึงเรียกวา่ แจกลกู สะกดคำ แล้วอา่ นคำในมาตราตัวสะกดทุกมาตราจนคลอ่ ง จากน้ันจะอ่าน เป็นเร่ืองเพื่อประยุกตห์ ลกั การอา่ นนำไปสู่การอ่านคำที่เปน็ เรื่องอยา่ งหลากหลาย นยั สอง หมายถึง การเทยี บเสยี ง เปน็ การแจกลกู วิธีหนงึ่ เม่อื นักเรียนอา่ นคำไดแ้ ลว้ ให้ นำรูป คำมาแจกลูกโดยการเปลี่ยนพยัญชนะต้นหรือพยัญชนะท้าย เช่น บ้าน สูตรของคำ คือ ให้เปลี่ยน

12 พยัญชนะต้น เช่น ก้าน ป้าน ร้าน ล้าน ค้าน เป็นต้น หลักการเทียบเสียง มีดังน้ี 1. อ่านสระเสียงยาว ก่อนสระเสียงสั้น 2. นำคำที่มีความหมายมาสอนก่อน 3. เปลี่ยนพยัญชนะที่เป็นพยัญชนะต้นและ พยญั ชนะเสียงทา้ ย 4. นำคำทอ่ี ่านมาจัดทำแผนภูมิการอา่ น เช่น กา มา พา ลา ยา คา้ ม้า ช้า ล้า น้า บ้าน ก้าน ป้าน ร้าน ค้าน วิธีอ่านจะไม่สะกดคำให้อ่านเป็นคำตามสูตรของคำ เช่น อ่าน กา สูตรของ คำ คือ -า นำพยัญชนะมาเติมและอ่านเป็นคำ เช่น ยา ทา หา นา ตา อา การสอนแบบการแจกลูก สำหรบั นกั เรยี นแรกอา่ น (ชัน้ ป.1 และ ป. 2) มหี ลักการสอนดังนี้ 1. เรมิ่ จากสระทงี่ า่ ยที่สุดคอื สระ -า 2. ใช้แผนผังความคดิ แจกลกู โดยเลอื กคำทม่ี ีความหมายกอ่ น 3. ผเู้ รยี นอา่ นออกเสยี งคำและทำความเข้าใจความหมาย 4. นำคำจากแผนผงั ความคดิ มาแตง่ ประโยค 5. อา่ นประโยคทีแ่ ต่ง 6. เขยี นประโยคท่แี ต่ง สรปุ การแจกลกู ในรปู แบบเชน่ น้ี สามารถทจี่ ะแจกต่อไปไดอ้ กี เช่น แจกสระ เ- แ- โ- ไ- ใ- เ- า ฯลฯ และนำมาแต่งประโยคโดยการบูรณาการกับคำที่ประสมกับสระอื่น ซึ่งจะ ช่วยให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้ และสามารถนำไปแตง่ ประโยคทยี่ ากและซับซอ้ นขน้ึ ได้ เพราะเปน็ การ เรยี นจากเรื่องทง่ี า่ ย ไปสู่เรื่องที่ยากและยังได้ให้ความหมายของการสะกดคำ ดังนี้ การสะกดคำ หมายถึง การอ่านโดยนำ เสียงพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสมเป็นคำอ่าน การอ่าน สะกดมาประสมเป็น คำอ่าน การอ่านสะกดคำจะต้องให้นักเรียนสังเกตรูปคำพร้อมกับการอ่าน การสอน 17 อ่านสะกดคำ พรอ้ มกบั การเขียน ครตู ้องใหอ้ า่ นสะกดคำแล้วเขียนคำไปพรอ้ มกัน การสอนสะกดคำโดย การนำคำท่ี มีความหมายมาสอนก่อน เมื่อสะกดคำจนจำได้แล้วจึงแจกคำ เพราะการสะกดคำจะเป็น เครื่องมือ การอ่านคำใหม่โดยเริ่มจากคำง่ายๆ แล้วบอกทิศทางการออกเสียงแล้วแจกคำโดยเปลี่ยน พยัญชนะ ตน้ เรวดี อาษานาม (2537 : 83 - 84 ) ได้อธิบายถึงการอ่านสำหรับเด็กที่ยังไม่เรียน หนังสือ ให้ สามารถอ่านและถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดหรือคำพูดออกมาเป็นตัวหนังสือ นับตั้งแต่เริ่มมี การสอน หนังสือไทยจนถึงปัจจุบัน ได้กล่าวถึง การอ่านแบบแจกลูกสะกดคำ ดังนี้ คือการสอนที่ถือว่าคำ ประกอบด้วยรูปและเสียงของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด ฯลฯ เวลาสอนอ่านแทนที่จะอ่าน เป็น คำๆ มีความหมายเลยที่เดียว ก็ต้องไล่พยัญชนะสระ ฯลฯ ให้ออกเสียงได้ถูกต้องเป็นคำ ๆ อีกที หน่ึง เป็นการชว่ ยให้อา่ นคำได้ เพราะผ้อู า่ นร้จู กั พยัญชนะ สระ ตัวสะกด แลว้ ช่วยพาไป เชน่ จาน นกั เรยี นสะกดคำว่า จอ -า - จา - จา - นอ - จาน

13 หรอื จ -า - น - จาน บ้าน นกั เรียนสะกดคำวา่ บ -า - บา บา - น - บาน หรือ บาน - ้ - บา้ น วิธีนี้ช่วยให้เด็กรู้จักหลักเกณฑ์ของการเรียงลำดับตัวอักษรภายในคำหนึ่งๆ เพื่อจะได้ออก เสียงไดช้ ัดเจน และเขียนคำนน้ั ได้ถูกต้อง กรมวิชาการ (2546 : 133 - 134) ได้อธิบายการอ่านแจกลูกและการสะกดคำเป็น กระบวนการขน้ั พ้นื ฐานของการนำเสียงพยญั ชนะตน้ สระ วรรณยกุ ตแ์ ละตัวสะกด มาประสมเสียงกัน ทำให้ออกเสยี งคำตา่ งๆ ที่มีความหมายในภาษาไทย การแจกลูกและสะกดคำบางครั้งรวมเรียกวา่ การ แจกลูกสะกดคำจะดำเนินไปด้วยกันอย่างประสมกลมกลืน เพื่อให้นักเรียนได้หลักเกณฑ์ทางภาษาท้ัง การ อ่านและการเขยี นไปพร้อมกนั และยงั ได้กลา่ วถึงความสำคัญของการแจกลกู สะกดคำ เป็นเรื่องที่ จำเป็น มากสำหรับผูเ้ ริม่ เรียน หากครูไม่ได้สอนการแจกลูกสะกดคำแก่นักเรียนในระยะ เริ่มเรียนการ อ่าน นักเรียนจะขาดหลักเกณฑ์การประสมคำ ทำให้เมื่ออ่านหนังสือมากขึ้นจะสับสน อ่านหนังสือไม่ ออก เขียนหนังสือผิดซึ่งเป็นปัญหามากของเด็กนักเรียนไทยในปัจจุบัน ผลจากการอ่านไม่ออกเขียน ไมไ่ ด้ ย่อม ส่งผลกระทบต่อการเรียนวิชาอ่นื ๆ ดว้ ย การอ่านเป็นสิง่ ท่มี คี วามสำคัญตอ่ ทกุ คนทีจ่ ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ทีต่ ้องนำไปใช้ชีวิตประจำวนั สมควร น้อยเสนา (2549 : 21 - 22) ได้สรปุ ความสำคญั ของการอา่ น ดังนี้ ความสำคัญของการอ่านจะ เปน็ สิ่ง ท่ชี ่วยมนุษย์ดำรงชีวติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขนัน้ มี 4 ประการ คือ 1. ชว่ ยในการเรียนรู้ 2. เสริมสร้างประสบการณใ์ หมๆ่ 3. ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลนิ 4. องค์ประกอบพื้นฐาน ผู้อ่านจะประสบความสำเร็จทางการอ่านมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้ วุฒิภาวะ อายุ เพศ ประสบการณ์ สมรรถวิสัย ความบกพร่องทางร่างกาย และการจูงใจ งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง มะลิ อาจวิชัย (2540 : บทคัดย่อ) ได้ทำการพัฒนาแบบฝึกภาษาไทย เรื่อง การเขียน สะกด คำไม่ตรงมาตราตัวสะกด แม่กน แม่กด แม่กบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการทดลองพบว่า แบบฝึก ทักษะภาษาไทยมีประสิทธิภาพ 84.02/80.26 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยหลังเรียนสูง กว่า ก่อนเรยี น อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .01

14 พนมวัน วรดลย์ (2542 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการสร้างแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 87.74/82.11 และมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขนึ้ อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01 บรรจง จันทร์พันธ์ (2548 : 94-100) ได้พัฒนาแผนการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะ ภาษาไทย เรื่องการสะกดคำไม่ตรงตามมาตราตัวสะกดสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการศึกษาค้นคว้า คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านโพธิ์งาม สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 จำนวน 26 คน 30 ผลการศึกษาค้นคว้า พบว่า แผนการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะภาษาไทย เรื่องการสะกดคำไม่ตรงตาม มาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.98/82.75 ซึ่งเป็นไปตาม เกณฑ์ที่ตั้งไว้และมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.692 ซึ่งหมายความว่านักเรียนมีความรู้ เพิ่มขึ้นร้อย ละ 60.92 และนักเรียนมีความพอใจต่อแผนการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะภาษาไทย เรื่อง การสะกด คำไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด โดยรวมอย่ใู นระดบั ปานกลาง วิเศษ แปวไธสง (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และ แบบฝึก ทกั ษะประกอบการเรียน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณท์ างภาษา เร่ือง ลูกอ๊อด หาแม่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสามัคคีคุรุราษฎร์บำรุง สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า แผนการเรียนรู้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80.85/85.05 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ที่ต้ังไว้ แบบฝึกทักษะมีคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด มีคะแนน เฉลี่ยหลังเรียนสงู กว่า ก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิระดับ .05 ประวีณา เอ็นดู (2547 : บทคัดย่อ) ไดศ้ กึ ษาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เรอ่ื ง การอ่านและการเขยี นสะกดคำ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นบา้ นนอ้ ย จงั หวัด นครราชสีมา ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่าน และการเขียนสะกดคำ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ มปี ระสิทธภิ าพ 86.11/83.33 วงศเ์ ดือน มที รพั ย์ (2547 : บทคัดย่อ) ไดศ้ ึกษาการพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรู้และ แบบฝึก ทักษะ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เรอื่ ง คร้ังหนง่ึ ยังจำได้ เคร่อื งมือที่ ใช้ใน การศึกษาค้นคว้าได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบ แบบสอบถามความพึง พอใจ ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ 87.09/85.29 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ ที่ตั้งไว้ แบบฝึกทักษะมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.74 และมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรยี นอยา่ ง มีนยั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05

15 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวิจยั ในกาวิจัยครงั้ นี้ ผู้วิจยั ดำเนินการวิจยั ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 2. วธิ ดี ำเนนิ การ 3. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั 4. วธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูล 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 6. สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นบา้ นท่าอาจ อำเภอแมส่ อด จังหวัดตาก ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนนักเรียน 32 คน ซ่งึ เป็นนักเรียนท่ผี วู้ ิจยั รบั ผดิ ชอบสอน กลุม่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ อำเภอแม่สอด จงั หวัดตาก ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 8 คน ซง่ึ เปน็ นักเรียนทีย่ งั ขาดทักษะทักษะการอา่ นสะกดคำ คำทม่ี ีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว วิธีดำเนนิ การ 1. ให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัวในเวลาเรียนแล้ว ทดสอบการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว นำผลทดสอบการอ่านมาคัดเลือก นักเรยี นท่มี ปี ัญหาการอ่านสะกดคำในภาษาไทย จากนน้ั สอนซ่อมเสริม

16 2. วางแผนการจัดทำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์แบบแจกลูกสะกดคำ เพื่อแก้ปัญหาการอ่าน สะกดคำ คำท่ีมีตัวการันตเ์ ปน็ พยัญชนะ 1 ตัว และระยะเวลาในการปฏบิ ัติการแกป้ ัญหา เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษาครั้งน้ปี ระกอบดว้ ย 1. สอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ 2. หนังสอื เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 สถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ ( พว.) 3. แบบบันทึกคะแนนการอ่านสะกดคำ วิธีรวบรวมขอ้ มูล ผวู้ จิ ยั ไดด้ ำเนินการรวบรวมข้อมูลดังน้ี 1.ผู้วิจัยได้ดำเนินการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว ให้กบั ประชากรกลุม่ ตัวอย่าง เปน็ เวลา 6 วนั ดังน้ี 1.1 วนั จันทร์ ท่ี 22 พฤศจิกายน 2564 ทดสอบการอ่านกับนักเรียนกลุ่มตวั อยา่ ง สอน ซ่อมเสริมโดยใช้สือ่ การเรียนรอู้ อนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ 1.2 วันพฤหัสบดี ที่ 25 พฤศจิกายน 2564 สอนซ่อมเสริมนักเรียนกลุม่ ตัวอย่าง โดยใช้ สื่อการเรยี นรู้ออนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ 1.3 วันศุกร์ ที่ 26 พฤศจิกายน 2564 ทดสอบการอ่านนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้คำ จากหนงั สือพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ ( พว) 1.4 จันทร์ ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2564 สอนซอ่ มเสรมิ นักเรยี นกลุม่ ตัวอย่าง โดยใช้สื่อการ เรยี นรูอ้ อนไลน์ แบบแจกลกู สะกดคำ 1.5 วันพฤหัสบดี ที่ 2 ธันวาคม 2564 สอนซ่อมเสริมนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ส่ือ การเรยี นรู้ออนไลน์ แบบแจกลูกสะกดคำ 1.3 วันศุกร์ ที่ 3 ธันวาคม 2564 ทดสอบการอ่านนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้คำ จาก หนงั สือพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ ( พว)

17 2. ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้แบบประเมินการอ่านสะกดคำ คำทีมีตัวการันต์เป็น พยญั ชนะ 1 ตัว เปน็ รายบคุ คล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์คะแนนจากการอ่านสะกดคำ คำทีมีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว ที่ นกั เรยี นไดท้ ำการทดสอบการอา่ นในแตล่ ะคร้ังน้นั กระทำวิเคราะห์โดยหาคา่ เฉลยี่ ร้อยละ สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู หาคา่ รอ้ ยละโดยใชส้ ตู ร ค่าร้อยละ = X̅ x 100 N โดยท่ี x̅ แทน คะแนนท่ไี ด้ N แทน จำนวนกลุม่ ตวั อย่าง ค่าเฉล่ียโดยใช้สูตร x̅ = ∑ x N โดยที่ x̅ แทน คา่ เฉลย่ี ∑ x แทน ผลรวมคะแนนผูเ้ รยี นกลมุ่ ตวั อยา่ ง N แทน จำนวนผูเ้ รียนกล่มุ ตัวอย่าง

18 บทที่ 4 ผลการวิจัย สถิตทิ ี่ใช้ในการวจิ ัย 1. การหาคา่ เฉล่ยี 2. การหาคา่ ร้อยละ การวิเคราะหข์ อ้ มลู จากการวิจัยในชั้นเรียนได้ศึกษาประชากรกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 2 จำนวน 8 คน ภาคเรียนที 2 ปีการศกึ ษา 2564 ผู้วจิ ยั ได้ทำการพัฒนาทกั ษะการอ่านสะกดคำ คำ ที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์แบบแจกลูกสะกดคำ ทำการ ประเมนิ การอ่าน ดังน้ี ท่ี ช่ือ-สกลุ ผลประเมินการอา่ นสะกดคำ คำท่ีมีตวั การนั ต์เป็น พยัญชนะ 1 ตัว 1 เดก็ ชายสอง 2 เดก็ ชายเตง็ ต้นั ทวย คะแนนกอ่ น ประเมนิ การ ประเมนิ การอา่ น 3 เดก็ ชายกองคา่ ป่าย ฝึก อา่ นคร้ังที่ 1 ครงั้ ที่ 2 4 เด็กหญงิ ศุภัชญา 2 8 5 เดก็ หญิงหน่ายเจส่ินอู้ 2 4 8 6 เดก็ หญิงหน่ามกิ ี 4 4 10 7 เด็กหญิงเหมจ่ จู ูออ่ ง 4 8 10 8 เดก็ หญงิ ซันเม๊ียะโม 2 8 8 รวม 4 4 10 ค่าเฉลย่ี 2 8 8 ร้อยละ 2 4 8 22 4 62 2.75 42 7.75 27.5 5.25 77.5 52.5

19 เกณฑ์การให้คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดมี าก 7-8 คะแนน ระดบั ดี 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ 0-4 คะแนน ระดับ ปรับปรุง

20 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวจิ ยั จากผลการสรุปวจิ ัยได้ดังน้ี นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2 มีการพัฒนาทักษะในการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็น พยัญชนะ 1 ตัว ดีขึ้น สังเกตจากการผลวิเคราะห์ในตาราง ก่อนการสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ใช้มี การพัฒนาข้ึน ร้อยละ 50 อภปิ รายผลการวิจยั ผลจากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการนั ต์เปน็ พยัญชนะ 1 ตวั ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 สามารถอภปิ รายผลได้ดงั นี้ ผลการเปรียบเทียบพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว ของจากกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า นักเรียนมีการพัฒนาทักษะการอ่าน สะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัวท่ี ดีขึ้น จากคะแนนก่อนการใช้สื่อการเรียนออนไลน์ คำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว แบบแจกลูกสะกดคำค่าเฉลี่ยเป็น 2.4 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ ๔๘ และคะแนนหลังใช้แบบฝึกทักษะมีค่าเฉลี่ยเป็น ๔.๒ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๘๔ ซึ่งเป็น ตามผลท่คี าดหวงั ไว้ จากการสังเกตพบว่า นักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัว การันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว นักเรียนมีทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัว ได้ดีขึ้น นักเรียนสามารถนำพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำที่ดีขึ้นน้ี ไปใช้กับการอ่านเพื่อศึกษาใน วิชาอนื่ ๆ ได้ ดังนั้น การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำ คำที่มีตัวการันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตัวเป็นวิธีท่ี ช่วยในนักเรียนอ่าน ออกเสียงได้ดีขึ้น และมีผลการพัฒนาการเรียนในรายวิชาภาษาไทยดีขึ้น รวมท้ัง ยงั สามารถนำไป บรู ณาการในรายวิชาอ่นื ๆ ได้

21 ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป ครูผู้สอนควรพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ ที่มีตัวการันต์เป็น พยญั ชนะ 1 ตัว ใหม้ ีคำศพั ท์ยากและ มเี นอ้ื ท่ยี าวกว่าเดมิ เพ่อื ที่จะไดใ้ ห้นกั เรียนพัฒนาทักษะและ มกี ารฝกึ ฝนเพมิ่ มากขน้ึ 2. ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครัง้ ต่อไป 2.1 ควรพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ให้มีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ 2.2 ใช้สื่อการเรียนรูอ้ อนไลน์ทักษะการอ่านสะกดคำ คำทีม่ ีตวั การันต์เป็นพยัญชนะ 1 ตวั ในภาษาไทย กับห้องอื่น ๆ และในระดับชั้น อื่น ๆ ที่เรียนวิชาภาษาไทย เพื่อพัฒนาทักษะการ่าน สะกดคำ คำทีม่ ตี ัวการันตเ์ ปน็ พยญั ชนะ 1 ตัว ในภาษาไทยใหด้ ยี ่งิ ขึ้น 2.3 ควรใช้ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการฝึกทักษะ เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลและประสิทธภิ าพท่ดี ี

22 บรรณานุกรม กรมวชิ าการ, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๔๖). การจดั สาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร, โรงพิมพ์ ชุมชนสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.ชนาธิป พลพวก. (๒๕๖๑). บุญชม ศรีสะอาด. (๒๕๕๖). การวจิ ัยเบือ้ งตน้ . พมิ พค์ ร้งั ที่ ๙. กรุงเทพฯ; สุวรี ยิ าสาสน์ . พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (๒๕๖๐). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑. กรุงเทพฯ; เฮ้าส์ ออฟ เคอรม์ ีสท.์ ศกั ดิ์สิทธิ์ วชั รารัตน์. (๒๕๖๔). ชดุ โปรแกรมชว่ ยวิเคราะหข์ ้อมลู สถติ ิวิจัยด้วยเอก็ ซเ์ ซล- วิทยาลัยสารพัดช่างพิษณุโลก . (ออนไลน์). แหล่งที่มา :http://202.29.243.161/ t.project/web_saksit/. (๒๘ พฤศจกิ ายน๒๕๖๔). ศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานคณะ กรรการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน. (๒๕๖๓). แนวทางการจดั การเรียนการสอนของ โรงเรียนสังกัดอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ปีการศึกษา ๒๕๖๓. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.obec.go.th/archives/246004 (๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). สุวัฒน์ บรรลือ. (๒๕๖๐). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสม สำหรับ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยร้อยเอ็ด ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธนั วาคม ๒๕๖๐, ๒๕๐ - ๒๖๐ มนธิชา ทองหตั ถา. (๒๕๖๔). สภาพการจัดการเรยี นรู้แบบออนไลนใ์ นสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา: file:///C:/Users/HP/Downloads/250028-Article%20Text-901975-1-10-20210629.pdf . ( ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔) ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร. บรษิ ัทอกั ษรเจรญิ ทศั น.์

23 ภาคผนวก

24

25

26

27