ผลการปฏบิ ตั ิงานท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอ่ื เพ่มิ จำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 1
คำนำ การเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอน การพบกลุ่ม การรว่ มกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนของนกั ศกึ ษา รวมไปถึงจำนวนนักศึกษาที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) และ จำนวนนักศกึ ษาที่เข้าสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียน ของนกั ศกึ ษาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึก ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นส่ิงที่บ่งชี้ถึงคุณภาพในการจัดการศึกษาของครู กศน.ตำบลและสถานศึกษา ว่ามีความใส่ใจต่อผู้เรียนมากน้อยเพียงใด ระบบการติดตามและประสานนักศึกษา จึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็น อย่างยิ่งในการติดต่อและประสานกันนักศึกษา เพ่ือให้เข้าร่วมในกิจกรรมท่ี กศน.ได้ดำเนินการจัดขึ้น ซ่ึงการ ดำเนินการระบบติดตามนักศึกษานั้น ได้ดำเนนิ การโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นกรอบแนวทางการดำเนินงาน เพื่อใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ ขอขอบคุณ ผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษาผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สำหรับความร่วมมือในการจัดทำระบบ การติดตามและประสานผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ให้สำเร็จลลุ ่วงตามวัตถุประสงค์ ซึ่งจะนำไปเป็นแนวทางใน การตดิ ตามและประสานนกั ศึกษาตอ่ ไป นางสาวพิมลทยา พลศักด์ิ ครู กศน.ตำบล ผลการปฏิบตั ิงานท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รยี นเพอ่ื เพม่ิ จำนวนผเู้ ขา้ รับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 2
คำรบั รองวา่ รายงานการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practices) คำรับรองว่า รายงานการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) เร่ือง กระบวนการติดตามผู้เรียน เพ่ือเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ประจำ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓ เพื่อเป็นการติดตามและเพิ่มจำนวนนักศึกษา กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ ในการเข้ารับการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) เพ่ือใช้เป็นทางทางในการปฏบิ ตั ิงาน ในหน้าที่ ครู กศน.ตำบล และมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ผา่ นช่องทางส่ือออนไลน์ของ กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อำเภอยางชมุ น้อย (นางสาวพิมลทยา พลศักด์ิ) ครู กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ (นางรำไพ ผ่อนจตุรัส) ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอยางชุมน้อย ผลการปฏบิ ตั ิงานที่เปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รียนเพื่อเพ่ิมจำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 3
สารบญั หนา้ เรอ่ื ง 1 คำนำ ผลการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 2 ระบบติดตามและประสานผ้เู รยี นการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2 3 1. ความเปน็ มาและความสำคัญ 3 2. วตั ถปุ ระสงค์ 6 3. เป้าหมาย 7 4. หลกั การและแนวคิด 8 5. กระบวนการผลติ งานหรือขัน้ ตอนการดำเนินงาน (วิธปี ฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ ) 8 6. ผลการดำเนนิ งาน 9 7. ปัจจยั ความสำเร็จ 8. บทเรียนทไ่ี ด้รับ 10 9. การไดร้ บั การยอมรบั /รางวลั ทีไ่ ดร้ ับ/การเผยแพร่ 12 ภาคผนวก 15 เอกสารท่ีใชใ้ นการติดตามและชอ่ งทางในการติดตามนักศึกษา 16 ภาพกิจกรรม รางวัลทไ่ี ด้รบั ซง่ึ เป็นผลทีเ่ กดิ จากระบบการติดตามและประสานงานนักศึกษา เอกสารที่เกยี่ วข้อง ผลการปฏบิ ตั งิ านท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รียนเพือ่ เพม่ิ จำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 4
ผลการปฏิบตั ิงานที่เป็นเลศิ (Best Practice) ………………………………………………………………………………………………………………… ช่ือผลงาน : กระบวนการติดตามผู้เรยี นเพื่อเพ่ิมจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ช่ือผู้นำเสนอผลงาน : นางสาวพิมลทยา พลศักด์ิ ตำแหน่ง : ครู กศน.ตำบล หนว่ ยงาน : กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอยางชุมน้อย โทรศพั ท์มอื ถือ : 0๙๘-๕๘๖๔๖๙๒ E-Mail : [email protected] ผู้บริหาร : นางรำไพ ผ่อนจตรุ สั ผลการปฏบิ ตั ิงานทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รยี นเพอื่ เพม่ิ จำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 5
1. ความเป็นมา/ความสำคัญของผลงาน การจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” และยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนแต่ละคนมีธรรมชาติที่แตกต่างกัน ท้ังด้านวัย วุฒิภาวะ ความถนัด ความสนใจ วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนมี การดำเนนิ ชีวิตและสิง่ แวดล้อมท่ีแตกตา่ งกัน ซึ่งส่งผลต่อการเรยี นร้ขู องผู้เรยี น ดงั นั้นการจัดการเรยี นรู้จึงตอ้ งยึด ผู้เรียนเป็นสำคญั เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนได้พัฒนาความสามารถของตนเอง ตามธรรมชาติ เต็มตามศกั ยภาพทมี่ อี ยู่ และเรยี นรู้อยา่ งมีความสุข ตามท่ีหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดให้ สถานศึกษาดำเนินการจัดการศึกษาท้ัง 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลาย ซ่ึงนักศึกษาทุกคนที่จะจบหลักสูตรได้น้ัน ต้องผ่านเกณฑ์การจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตามเกณฑด์ ังน้ี 1. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินการเรยี นร้รู ายวิชาในแตล่ ะระดับการศึกษา ตามโครงสร้างหลักสูตร - ระดบั ประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกติ - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ไม่นอ้ ยกวา่ 56 หนว่ ยกติ - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกติ 2. ผา่ นการประเมินกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (กพช.) ไมน่ ้อยกว่า 200 ชั่วโมง 3. ผ่านการประเมินคณุ ธรรม ในระดับพอใช้ข้นึ ไป 4. เข้ารับการประเมินคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ และด้วยสำนักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ มีนโยบายต้องการที่จะยกระดับจำนวนนักศึกษาผู้เข้าสอบ ปลายภาค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และจำนวนนักศึกษาผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนนักศึกษาท้ังหมดที่มีใน กศน.ตำบล แต่ด้วยสภาพปัญหาในปัจจุบันนักศึกษา มีนักศึกษาบางส่วนไม่ใส่ใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน และไม่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งผลให้จำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ลดลง และมีผลต่อการจบการศึกษาตาม โครงสรา้ งหลักสตู รของตัวนักศึกษาเอง ซึง่ ปญั หาดังกล่าวได้ถกู นำมาพิจารณา และดำเนินการเพื่อออกแบบระบบติดตามและประสานนักศกึ ษา เพอื่ ใช้เป็นเครื่องมือในการตดิ ตามและประสานนกั ศกึ ษา ในการเข้าร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ตามที่ กศน.ตำบลยางชุม ใหญ่และ กศน.อำเภอยางชุมน้อย จัดขึ้น และเพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และสอดคล้องกับนโยบายยกระดับจำนวนนักศึกษาผู้เข้า รับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ของ สำนักงาน กศน.จงั หวัด ศรีสะเกษ กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ จึงได้ออกแบบและจัดทำระบบการตดิ ตามและประสานนักศึกษา น้ขี ึ้น 2. จดุ ประสงค์และเปา้ หมาย ของการดำเนนิ งาน 2.1 จดุ ประสงค์ ๑) เพือ่ ตดิ ตามให้นกั ศึกษา กศน.ตำบลยางชุมใหญเ่ ข้ารับทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ น ผลการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการตดิ ตามผเู้ รยี นเพือ่ เพิ่มจำนวนผเู้ ขา้ รับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 6
การศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ได้ 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ - นักศกึ ษา กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ ทีม่ ีสทิ ธ์สอบ N-Net มี ๒ ระดับ จำนวนทงั้ หมด ๗ คน ดังน้ี - ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 1 คน - ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน ๖ คน เชงิ คุณภาพ -นักศึกษา กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ ท่ีมีสิทธิ์สอบ N-Net มี ๒ ระดับ จำนวนทั้งหมด ๗ คน เข้าสอบ จำนวน ๗ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ที่ ระดบั ผู้มสี ทิ ธ์ เข้าสอบ คดิ เป็นร้อยละ ๑ ประถมศกึ ษา - - - ๒ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๓ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑ ๑ ๑๐๐ ๖ ๖ ๑๐๐ รวม ๗ ๗ ๑๐๐ ๔. หลักการและแนวคิดกระบวนการผลิตงานหรือขัน้ ตอนการดำเนินงาน (วธิ ีปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ ) ครู กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ ได้ดำเนินการตดิ ตามนกั ศกึ ษาผู้คาดว่าจะจบการศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๒/ ๒๕๖๓ อย่างตอ่ เนื่อง ตดิ ตามนกั ศกึ ษาถึงบ้านและเครอ่ื งมือสื่อสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยได้รับความรว่ มมือกบั ผปู้ กครอง เครอื ข่ายและผ้นู ำชุมชน เพ่ือที่จะสามารถนำมาเปน็ แนวทางในการปรับปรงุ และแกป้ ญั หาได้ ตาม วิธีการ ดังนี้ ๔.๑ การวางแผนงานและเตรียมการ (Plan) ครูทำความเข้าใจและแจง้ นักศึกษาใหท้ ราบ ดังนี้ ๑. ครูลงทะเบียนนักศึกษาใหมแ่ ละเกา่ ครูวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น และสำรวจความต้องการของนกั ศึกษา เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั เพื่อจดั ทำแผนการเรียนร้รู ายบุคคลให้กับนักศึกษา ใหส้ อดคล้องกับความถนดั ความสนใจ และความต้องการของผู้เรยี นและแจ้งใหน้ ักศึกษาทราบ ๒.การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ผลการปฏบิ ตั ิงานทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอื่ เพมิ่ จำนวนผเู้ ขา้ รับการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 7
- แจ้งนักศกึ ษาทีจ่ ะลงทะเบยี นในภาคเรียนที่ 2/๒๕๖๓ ทง้ั นักเรยี นเกา่ และนักเรียนใหม่ให้ทราบและ เขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษา - จัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม นักศึกษา กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ ระดับประถมศึกษาทุกวัน วนั อังคาร เวลา 09.00-๑๖.๐๐ น. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ทุกวันพุธ 09.00-๑๖.๐๐ และระดับมธั ยมศึกษา ตอนปลายทกุ วันพฤหสั บดี เวลา 09.00-๑๖.๐๐ น. -แจ้งนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกิจกรรมที่ กศน.อำเอยางชุมน้อย ได้จัดให้กับ นักศึกษา 3. ด้านการวัดผลประเมนิ ผล -การวัดผลประเมินรายวิชาระหว่างภาคเรียน ๖๐ คะแนน และปลายภาคเรยี น ๔๐ คะแนนผู้เรียนต้อง เข้าสอบปลายภาคเรียน และมีคะนนสอบปลายภาคเรียนรวมกับคะแนนระหว่างภาคเรียนจึงจะผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ การทำแบบฝึกหัด ไดแ้ ก่ -แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนในสอ่ื การเรียนรู้รายวิชาต่างๆ หรือเป็นแบบฝึกหดั ที่ช่วยเสริมให้เกิดทกั ษะการ เรียนรู้ และเข้าใจในบทเรียนตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ในแต่ละบทเรยี น -การประเมินคุณธรรม กพช.ผู้เรียนตอ้ งปฏิบัติกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิตไม่น้อยกวา่ 2๐๐ ช่ัวโมง โดย มีขอบข่ายเนื้อหาทงั้ ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ -นักศึกษาที่คาดว่าจะจบในภาคเรียนนี้ทุกคนต้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) ในแต่ละระดับช้ันให้เป็นไปตามที่สถาบันทดสอบการทางการศึกษา แห่งชาติ (องค์กรมหาชน)ได้กำหนดไว้ ในภาคเรียนสุดท้ายของการจบหลักสูตร และดำเนินการก่อนสอบปลาย ภาคของภาคเรียนนัน้ ๆ โดยไมม่ ผี ลตอ่ การสอนได้ หรอื สอบตกของผู้เรยี น -การเข้าสอบปลายภาคเรียนผู้เรียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรียน และมีคะแนนสอบปลายภาคเรียนรวม กบั คะแนนระหวา่ งภาคเรยี นถงึ จะผา่ นเกณฑข์ ้ันต่ำ ๔.๒ วิธกี ารจัดการเรียนรู้ (Do) -ประชาสัมพันธ์แจ้งนักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓ ทั้งนักศึกษาเก่าและนักศึกษาใหม่ ให้นักศึกษาทราบและเข้าร่วมกิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา มีคู่มือนักศึกษาให้ทราบโครงสร้างหลักสูตร การเรียนแบบ กศน.ครูแจ้ง วัน เวลาและสถานที่พบกลุ่มของนักศึกษา และรับใบงานของนักศึกษาที่ลงทะเบียน ตามรายวิชาของแต่ละคน แนะนำการเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน การเข้าสอบเรียนในแต่ละ ระดบั -เม่ือปฐมนิเทศนักศึกษาเรียนร้อยแลว้ ครูจะทำการประเมินรู้ระดับการรู้หนังสือ สำหรับนักศึกษาใหม่ท่ี ลงทะเบียนในภาคเรียน ๒/๒๕๖๓ และตรวจสุขภาพของนักศึกษาทุกคน เพ่ือทราบถึงปัญหาสุขภาพ ร่างการ จติ ใจ ของนักศกึ ษา ตลอดจนการจัดกิจกรรมให้นักศึกษามีความเหมาะสม - จัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม นักศึกษา กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ ระดับประถมศึกษาทุกวัน วันองั คาร เวลา 09.00-๑๖.๐๐ น. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ทกุ วนั พุธ 09.00-๑๖.๐๐ และระดบั มธั ยมศึกษา ตอนปลายทุกวันพฤหัสบดี เวลา 09.00-๑๖.๐๐ น. แม้นักศึกษาจะมากหรือน้อย แต่ครูก็ต้องจัดกระบวนการ ผลการปฏิบตั งิ านที่เปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพื่อเพมิ่ จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 8
เรียนการเรียนรู้แบบพบกลุ่มอย่างต่อเน่ือง ทำสม่ำเสมอ เพื่อให้เป็นมาตรฐานของครู และเพื่อให้นักศึกษามี ความตระหนักในหนา้ ทีข่ องตนเอง -การประเมินระดับการรหู้ นังสอื ของนกั ศกึ ษาใหม่ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓ โดยครูนัดหมายนักศกึ ษาเขา้ รับ การประเมินสัปดาห์แรกของภาคเรียนเพื่อประเมินทักษะการอ่านออกและเขียนได้ของนักศึกษา เป็นไปตาม เกณฑ์ที่สำนักงาน กศน.กำหนด -กรณีท่ี กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูจะแจ้งนักศึกษาทราบ ทางโทรศัพท์ ทางกลุ่ม Line /Chat Messenger หัวใจสำคัญ คือ Fanpage Facebook กศน.ตำบลยางชุม ใหญ่ ช่วยให้นักศึกษาทราบข่าวล่วงหน้าทันท่วงที มีเวลาเตรียมตัว ในกรณีที่ออกไปทำงานต่างถิ่น และแจ้ง ผปู้ กครองให้ทราบเพื่อชว่ ยเตือนให้นกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมกิจกรรม ที่คณะครูไดจ้ ัดให้กบั นกั นกั ศกึ ษาแตล่ ะภาคเรยี น -รายงานกิจกรรมการพบกลุ่ม การร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รายช่ือนักศึกษาท่ีมีสิทธ์ิสอบ N-Net และรายชื่อนักศึกษาสอบปลายภาค ผ่านทาง Line ส่วนตัวของนักศึกษาเอง และผ่าน Fanpage Facebook กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ และ Facebook กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ Messenger กลุ่ม กศน.ตำบล ยางชมุ ใหญ่ เป็นการประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ ข่าวสารการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ตอ่ เนอ่ื งอย่างสม่ำเสมอช่วย ให้นกั ศกึ ษาทไ่ี มไ่ ด้เข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรทู้ ราบข่าว และติดตอ่ ปรกึ ษาเพ่ือนๆ ที่มาร่วมกจิ กรรมสม่ำเสมอ -หลังจากที่สถาบันการทดสอบระดับชาติ (สทศ.) แจ้งวันเวลาสอบแล้วและทางฝ่ายทะเบียน กศน . อำเภอยางชมุ ใหญ่ ไดแ้ จ้งสถานทีส่ อบ ครปู ระสานนักศึกษาใหม้ าสอบตามตารางสอบ แจง้ ผ่านทาง Line Chat Messenger , Fanpage Facebook กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ และ Facebook กศน.ตำบลยางชุม ใหญ่ Messenger และแจ้งผู้ปกครองให้ทราบเพ่ือช่วยครูติดตามนักศึกษามาสอบอีกช่องทางหนึง่ ส่วนนักศึกษา ทต่ี ดิ ตดิ ไมไ่ ด้ ครูลงพนื้ ทเี่ ย่ยี มบ้าน เพอ่ื นตดิ ตามนักศึกษาเขา้ สอบ N-Net ครบทกุ คน - หลังจากที่สำนกั งาน กศน.แจ้งตารางการสอบปลายภาค ครูจะแจง้ กำหนดการสอบ วัน เวลา สถานที่ ทดสอบ ให้นักศึกษาได้ทราบล่างหน้าอย่างน้อย 2 เดือน เพ่ือให้นักศึกษาเตรียมลางานมาสอบ กรณีนักศึกษาที่ คาดว่าจะจบในภาคเรียนนี้ ทต่ี ้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ (N-Net) ครตู ้องแจ้งให้ นักเรียนทราบล่วงหน้าตัง้ แต่ลงทะเบยี นเรยี น เพือ่ ใหน้ ักศึกษาเตรยี มตวั ในการเข้าสอบ และทำกิจกรรม กพช.ให้ ครบ 200 ชว่ั โมง ในภาคเรยี นท่นี ักศกึ ษาจะจบ - กิจกรรมการตวิ เขม้ เติมความรู้ก่อนสอบปลายภาค โดยนำนักศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรมทุกระดับ เพอ่ื เพิ่ม ความรู้ และนำความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นมีการนำแผนการดำเนินงานไปสู่การ ปฏบิ ตั ิ การดำเนนิ งานการจดั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน วิธีพบกลุ่ม ทุกระดับชนั้ ตามวัน เวลาสม่ำเสมอ อย่างต่อเนื่อง ยึดหลักการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยคณะครู เป็นผู้ขับเคลื่อน เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยนำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านต่างๆ ที่ กศน.อำเภอยางชุมน้อยได้จัดขึ้น เพ่ือสร้างแรงจูงใจ ให้กบั นกั ศึกษาใหม้ คี วามใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น ตระหนักในหน้าที่ของตน และเตรียมพรอ้ มท่ีจะเขา้ สอบปลายภาคเรยี น ๔.๓ วิธีตดิ ตามนกั ศึกษาโดย การเย่ียมบา้ น “(Check) ผลการปฏบิ ตั งิ านท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพ่อื เพ่มิ จำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 9
- การติดตามเยี่ยมบ้านเพ่ือเป็นการสร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการพบกลุ่มของ นักศึกษามีความรู้มากน้อยเพียงใด จากการเรียนรู้ละมีปัญหาด้านใดบ้าง ซ่ึงผู้ปกครองคือครูที่ปรึกษาของท้ังครู และผ้เู รยี น เพอ่ื ชว่ ยสรา้ งขวญั และกำลังใจใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ความตระหนัก มีความกระตือรือร้นใฝ่รู้ ใฝ่เรียน - ครูพบกลุ่มย่อยที่บ้าน ท่ีทำงาน ของนักศึกษา ในช่วงเวลาที่นักศึกษาสะดวก เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้ นกั ศกึ ษา เกดิ ความตระหนกั ในหนา้ ที่ของตนเอง มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และกระตอื รือร้นที่จะตอ้ งเข้าสอบ - ครูแจง้ เช็ค หรอื สอบถามปัญหานกั ศึกษาทางกลมุ่ Line /Chat Messenger Fanpage Facebook กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ ชว่ ยให้นกั ศกึ ษาทราบข่าวล่วงหน้าทันทว่ งที มีเวลาเตรียมตัว ในกรณที ่ีออกไป ทำงานต่างถ่นิ และแจ้งผปู้ กครองให้ทราบเพ่ือชว่ ยเตือนให้นักศึกษา แจง้ นักศึกษาท่ีมสี ิทธส์ิ อบต้องเขา้ รับการ ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศึกษานอกโรงเรียน (N-Net) ทุกคน ๔.๔ การมีสว่ นรว่ มกับภาคีเครือข่าย ในการสรา้ งแรงจูงใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (Action) - กอ่ นวนั สอบครตู ้องดูแลประสานนักศึกษาพูดคยุ กับนักศึกษาตลอดเพื่อให้ทราบว่านักศึกษาอยู่ท่ีไหน ประเมินวา่ นักศึกษามคี วามพร้อมมากน้อยแค่ไหน โดยเฉพาะพาหนะในการเดินทางมาสอบ ถ้านักศึกษาไมม่ ีครู ต้องไปรับเพือ่ ใหน้ กั ศึกษาได้มาสอบ - ในวันสอบครูต้องเตรียมอุปกรณ์ในการสอบ สำรองไว้ เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาท่ีเกิดปัญหาได้ ทนั ท่วงที และเชค็ ว่าเข้าสอบทกุ คน และทุกวชิ าหรอื ไม่ SWOT Analysis (วิเคราะหข์ ้อมูลเพื่อนำไปสกู่ ารจดั ทำแผนปฏิบัติการ) SWOT Analysis เป็นการวิเคราะหส์ ภาพองค์กรหรือหน่วยงานในปัจจบุ นั เพ่ือคน้ หา จดุ แขง็ จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยหรอื สงิ่ ที่อาจเป็นปัญหาสำคญั ในการดำเนนิ งานสสู่ ภาพท่ีต้องการในอนาคต หลักการสำคญั ในการวเิ คราะห์ SWOT การวิเคราะห์จากสภาพการณ์ (Situation Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W) เพ่ือให้รู้ตนเอง รู้จักสภาพแวดล้อม ชัดเจนและวิเคราะห์โอกาส (O) อุปสรรค (T) การวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ทั้ง ภายนอกและภายในองค์กร ซ่ึงจะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายนอก องค์กร ทั้งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นแล้วและแนวโน้มการเปล่ียนแปลงในอนาคต ซ่ึงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการกำหนด วิสัยทศั น์ การกำหนดกลยทุ ธแ์ ละการดำเนนิ ตามกลยุทธข์ ององค์กรระดับองคก์ รต่อไป ผลการปฏิบตั งิ านที่เป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพื่อเพิ่มจำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 10
ปัจจยั ภายในองค์กร จดุ แข็ง (S) และจดุ อ่อน (W) วิเคราะหภ์ ายในองค์กร ด้วยเครอื่ งมือ McKinney 7’s Framework ทง้ั 7 องค์ประกอบ ปัจจยั ภายนอกองคก์ ร โอกาส (O) และอุปสรรค (T) วเิ คราะห์ปัจจัยภายนอกองคก์ ร โดยคำนงึ ถึงที่มีผลตอ่ การเปล่ียนแปลงดา้ นต่าง ๆ ตาม องค์ประกอบของ PESTEL ได้แก่ 1. การเมอื ง 2. เศรษฐกิจ 3. สังคม 4. เทคโนโลยี 5. สภาพแวดล้อม 6. กฎหมาย 5. กระบวนการผลิตงานหรือข้นั ตอนการดำเนนิ งาน (วธิ ีปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ ) จากดำเนินการจัดทำระบบการตดิ ตามและประสานนักศกึ ษา มีการวางแผนการดำเนนิ งาน และตดิ ตาม งานอยา่ งเปน็ ระบบเพื่อให้ได้ข้อมลู ถูกต้องและแม่นยำ โดยใชว้ งจรคุณภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA • การวางแผน (Plan) จากข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน จำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และจำนวนผู้เข้าสอบปลายภาคเรียน ในปีท่ีผ่านมาพบว่า จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและการเข้าสอบ และการเข้าสอบยังไม่เป็นท่ีน่าพอใจ จึงได้กำหนด แผนในการดำเนนิ งาน ระบบการติดตามและประสานนกั ศึกษาไว้ดงั น้ี ผลการปฏบิ ตั งิ านท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพือ่ เพ่มิ จำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 11
12 3 4 ชีแ้ จงแนวทางการ ออกแบบการ รวบรวมข้อมูลและ ดำเนินการตดิ ตาม ดำเนนิ งานให้กบั จัดเกบ็ ข้อมูลใน ดำเนินการจดั ทำ นักศกึ ษาโดยใช้ ผ้บู ริหารและคณะ การติดตามและ ค่มู ือติดตามและ คู่มือติดตามและ ประสานนกั ศึกษา ประสานนักศึกษา ประสานนกั ศึกษา ครูทราบ • การปฏบิ ตั ติ ามแผน (Do) ปฏบิ ัตงิ านตามแผนท่ีวางไว้ โดยดำเนนิ การตามขัน้ ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. จดั ทำแบบสำรวจข้อมูลเพื่อการติดตามและประสานนักศึกษา 2. ประชมุ ชีแ้ จงกบั นักศึกษาเพอ่ื กรอกแบบสำรวจขอ้ มลู เพ่ือการติดตามและประสาน นักศึกษา 3. บันทึกข้อมูลท่ีไดจ้ ากใบสมัครและแบบสำรวจข้อมลู เพ่ือการตดิ ตามและประสานนักศกึ ษา 4. จัดทำคูม่ ือเพอื่ การตดิ ตามและประสานนักศึกษา 5. จัดทำไฟลจ์ ดหมายเวียนที่อยู่นกั ศึกษา ในรปู แบบไฟล์ Microsoft Excel 6. ให้นกั ศึกษาเขา้ กลุ่ม Line กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ 7. เพ่ิมนกั ศึกษาเป็นเพือ่ นใน Facebook 8. เชิญนักศึกษากดถกู ใจ และติดตาม Fan page Facebook กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ กศน.อำเภอยางชมุ น้อย 9. ดำเนนิ การตดิ ต่อประสานนกั ศึกษาเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมทที่ าง กศน.จัดขึน้ ผ่านทาง โทรศัพท์ ส่งข้อความในกลมุ่ Line กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่Line ส่วนตัวของนกั ศึกษา Facebook Messenger 10. ประชาสมั พันธก์ ารจดั กิจกรรมท่ี กศน.จะดำเนนิ การผ่านทาง Facebook สว่ นตัวของครู และ Fan page Facebook กศน.ตำบลยางชุมใหญ่กศน.อำเภอยางชมุ นอ้ ย 11. ทำจดหมายเวียนสง่ เปน็ หนังสอื เชญิ นักศึกษาเข้ารว่ มกจิ กรรม โดยครูลงพ้นื ท่สี ่งหนังสือ เชญิ ดว้ ยตนเอง 12. แจ้งวันเวลาและสถานทีส่ อบ N-NET และสอบปลายภาคให้นักศึกษาทราบล่วงหน้าอย่าง น้อย 30 วัน โดยการโทรประสาน แจ้งไปใน Line กศน.ตำบลยางชุมใหญ่Line ส่วนตัว ของนักศึกษา Facebook Messenger และจดั ทำตารางสอบพรอ้ มนำสง่ ยังที่อย่ขู อง นกั ศึกษา ผลการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอื่ เพิ่มจำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 12
• การตรวจสอบ (Check) แบง่ การตรวจสอบข้อมลู ออกเป็น 3 ชว่ ง คอื - ระหว่างภาคเรียน สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพบกลุ่มของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์ โดยอ้างอิงจาก บัญชีลงเวลาการพบกลุ่มนักศึกษา สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของนักศึกษาใน แตล่ ะกิจกรรม/โครงการ โดยอา้ งองิ จากบญั ชลี งผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมเขา้ ร่วมกิจกรรม - ระหวา่ งการสอบ N-NET และการสอบปลายภาค ตรวจสอบจำนวนนกั ศึกษาทีเ่ ขา้ สอบใน แต่ละหอ้ ง โดย การเดินสงั เกต และดูจากบัญชีลงเวลาการเขา้ สอบของนักศึกษา • ภายหลงั การสอบ N-NET ตรวจสอบจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ น การศึกษานอกระบบ (N-NET) • การปรบั ปรงุ การดำเนนิ งาน (Act) จากการดำเนินการตามระบบการติดตามและประสานนักศึกษา ถือว่าระบบการติดตาม ดังกล่าวมีประสิทธิภาพอยู่พอสมควร โดยอ้างอิงจากจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีจำนวนเพ่ิมข้ึน รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) ท่ีนักศึกษา กศน. ตำบลยางชุมใหญ่เขา้ รับการทดสอบ รอ้ ยละ 100 ของจำนวนนกั ศึกษาท่ีเข้ารับการทดสอบทั้งหมด ซ่ึง เปน็ จำนวนทเี่ พ่มิ ขึน้ จากภาคเรียนที่ผ่านมา 6. ผลการดำเนินงาน ผลสัมฤทธ์แิ ละประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการจัดทำระบบการติดตามและประสานนักศึกษา สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ งานที่เกีย่ วขอ้ งทง้ั 3 ด้าน ดังน้ี 6.1 หนว่ ยงาน/สถานศึกษา กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ มจี ำนวนนักศึกษาทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมในแต่ละกิจกรรมเพ่ิมขึน้ จำนวนนักศกึ ษาที่ เข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ร้อยละ ๑๐๐ 6.2 บคุ ลากร ครู กศน.ตำบล มรี ะบบการติดตามและประสานนักศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ สะท้อนถงึ การปฏิบตั ิงานของ ครู กศน.ตำบล สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการประสานนกั ศกึ ษา ของ ครู กศน.ตำบล อื่นตอ่ ไป 6.3 ผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ นักศึกษาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ได้เข้ารว่ มกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้ ทั้งกจิ กรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน เข้าสอบ N-NET ผ่านเกณฑ์ การจบหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 7. ปัจจัยความสำเร็จ 7.1 การกำหนดกลยทุ ธ์ในการดำเนินงานโดยใช้หลกั การและแนวคิดในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ได้แก่ วงจร PDCA, SWOT Analysis 7.2 การมีสว่ นรว่ มของนกั ศึกษาทกุ คน ทำให้ได้ข้อมลู ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ชือ่ Facebook ID Line เพือ่ ใช้เป็นข้อมลู ในการติดต่อประสานงาน 7.3 เทคโนโลยใี นการตดิ ตอ่ ส่ือสารทีท่ ันสมัย Smartphone, Facebook, Line ผลการปฏบิ ตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพ่ือเพิ่มจำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 13
7.4 การกำกับ ตดิ ตามนักศึกษาโดยการลงพน้ื ทปี่ ระสานนักศกึ ษารายบคุ คล เพื่อเข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการ ท่ี กศน.จดั ข้นึ 7.5 การสร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดกี ับนกั ศึกษา สรา้ งความคุน้ เคย เป็นกนั เองไม่ถือตวั มีทัศนคติทดี่ กี ับ นักศกึ ษาทุกคน มาความหวังดกี ับนักศึกษา 8. บทเรียนท่ีได้รับ 8.1 การวเิ คราะห์ข้อมูล ต้องศึกษาหลักการ แนวคิด และวิธกี ารท่ีหลากหลาย เพื่อให้สามารถนำไป ประยุกต์ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ตามสภาพของหนว่ ยงาน 8.2 การวางแผน เป็นกระบวนการสำคัญท่จี ะช่วยให้มแี นวทางในการปฏบิ ัติงานชดั เจน ถูกต้อง 8.3 ความสำเรจ็ ของงาน เกิดจากการมีสว่ นร่วมของทุกฝา่ ยในองค์การ ดังนน้ั ควรใหโ้ อกาสในการ ปฏบิ ตั งิ าน เสนอแนะความคิดเหน็ รวมถงึ สร้างขวัญกำลงั ใจแก่บคุ ลากรอยา่ งตอ่ เน่ือง 8.4 การมชี ่องทางการติดต่อกับนักศึกษาทห่ี ลากหลาย เป็นสง่ิ ทจี่ ำเปน็ อย่างยงิ่ ในการติดตอ่ และ ประสานนกั ศึกษาในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 9. การไดร้ บั การยอมรบั /รางวลั ท่ไี ดร้ บั / การเผยแพร่ทาง FacebooK กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ อ.ยางชุมน้อย https://m.facebook.com/ กศน. ตำบลยางชมุ ใหญ่ อ.ยางชุมนอ้ ย ลงชือ่ ...........................................................ผ้จู ดั ทำ (นางสาวพมิ ลทยา พลศักด์ิ) ครู กศน.ตำบล ผลการปฏิบตั งิ านที่เปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพื่อเพิ่มจำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 14
ภาคผนวก ผลการปฏิบตั ิงานทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอ่ื เพ่มิ จำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 15
ผลการปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพื่อเพ่ิมจำนวนผเู้ ขา้ รบั กา ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET)
ารทดสอบ 16
ช่องทางในการตดิ ต่อประสานงานกบั นกั ศกึ ษาผ่านชอ่ งทาง Face Book กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ และช่องทางไลนก์ ลุ่ม กศน.ตำบลยางชมุ ใหญ่ ผลการปฏิบตั งิ านที่เป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพอ่ื เพมิ่ จำนวนผเู้ ขา้ รบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 17
การประชาสมั พนั ธ์ กิจกรรมการเรยี นการสอนและการร่วมกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ผ่านทาง Facebook กศน.ตำบลยางชุมนอ้ ยและห้อง Line กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ เพ่อื กระตนุ้ ให้นักศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรมในครัง้ ตอ่ ไป ผลการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอ่ื เพ่ิมจำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 18
การประชาสมั พนั ธ์ กิจกรรมการเรยี นการสอนและการร่วมกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ผ่านทาง Facebook กศน.ตำบลยางชุมนอ้ ยและห้อง Line กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ เพ่อื กระตนุ้ ให้นักศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรมในครัง้ ตอ่ ไป ผลการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอ่ื เพ่ิมจำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 19
การประชาสมั พนั ธ์ กิจกรรมการเรยี นการสอนและการร่วมกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ผ่านทาง Facebook กศน.ตำบลยางชุมนอ้ ยและห้อง Line กศน.ตำบลยางชุมใหญ่ เพ่อื กระตนุ้ ให้นักศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรมในครัง้ ตอ่ ไป ผลการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รียนเพอ่ื เพ่ิมจำนวนผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 20
การตดิ ตอ่ นกั ศกึ ษาผ่านทาง ไลนต์ ำบล ไลน์ส่วนตัว และ Facebook Messenger ผลการปฏิบตั งิ านท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพอ่ื เพ่มิ จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 21
การตดิ ตอ่ นกั ศกึ ษาผ่านทาง ไลนต์ ำบล ไลน์ส่วนตัว และ Facebook Messenger ผลการปฏิบตั งิ านท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพอ่ื เพ่มิ จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 22
ภาพกิจกรรมการติดตามนกั ศกึ ษา ผลการปฏิบตั งิ านทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพ่อื เพิม่ จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 23
ภาพกิจกรรมการติดตามนกั ศกึ ษา ผลการปฏิบตั งิ านทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพ่อื เพิม่ จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 24
ภาพกิจกรรมการติดตามนกั ศกึ ษา ผลการปฏิบตั งิ านทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) กระบวนการติดตามผเู้ รยี นเพ่อื เพิม่ จำนวนผเู้ ข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 25
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: