Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Knowledge Management Unit 4 Slides

Knowledge Management Unit 4 Slides

Published by Nawa Tua Ae, 2021-01-13 08:01:58

Description: Knowledge Management Unit 4 Slides

Search

Read the Text Version

การจัดการความรู Knowledge Management สปั ดาหท ่ี 4 อ.นวพร สายสงิ ห

เนอ้ื หาการสอน หนวยเรยี นท่ี 4 การจัดการความรู 4.1 ความหมายของการจดั การความรู 4.2 ความสาํ คญั ของการจดั การความรู 4.3 ความเปน มาของการจดั การความรู 4.4 องคประกอบของการจดั การความรู

วัตถุประสงคการเรียนรู สามารถอธิบายความหมาย ความสําคญั ท่มี า และองคป ระกอบของการจดั การความรู

4.1 ความหมายของการจดั การความรู การจัดการความรู (Knownledge Mangement: KM) หมายถงึ การนาํ ความรูท ฝ่ี ง อยูท่วั ไปในตัวบคุ คลและองคกร มารวบรวม และจดั หมวดหมู เพ่ือความสะดวกในการ คนหาและนําไปใช เพ่อื ใหบ รรลเุ ปา หมายในการทาํ งาน ท้ังน้เี พ่ือพฒั นาสกู ารเปน องคกรแหงการเรยี นรูตอ ไป สําหรับความรทู ี่อยใู นตวั บุคคล สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1.ความรชู ดั แจง (Explicit knowledge) หมายถึง ความรทู ่ีเปนรปู ธรรม เกดิ จาก การศกึ ษา เลาเรยี น คนควา วจิ ัย สามารถบอกเลา อธบิ ายบรรยาย ถา ยทอดออกมาใน รูปของทฤษฎี เอกสาร หรือสื่อประเภทตา ง ๆ 2. ความรฝู งลึก (Tacit knowledge) หมายถึง ความรทู ่ีมองไมเ ห็น แตจะมีอยูใ นตวั บคุ คล อาจเปน ภมู ิปญ ญา พรสวรรค ความสามารถเฉพาะบุคคล หรือประสบการณ เฉพาะ ทเี่ กดิ จากการปฏิบัติ





4.2 ความสาํ คญั ของการจดั การความรู - เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพในการทํางาน

4.2 ความสาํ คญั ของการจดั การความรู - เพื่อพฒั นาผปู ฏบิ ตั ิงาน

4.2 ความสาํ คญั ของการจดั การความรู - เพ่อื เพิ่มพนู ความรูอันเปน ทุนทางปญ ญาของ สังคม ทีจ่ ะชวยใหชมุ ชนสามารถพฒั นาตนเอง และเผชญิ กับความเปลีย่ นแปลง ปญหาและ อปุ สรรคตา งๆ ได

4.2 ความสาํ คญั ของการจดั การความรู - เพื่อปอ งกนั ความรสู ูญหาย

ปจ จยั ความสาํ เรจ็ ของการจดั การความรู - การทําหนา ทข่ี องแตละคนใหด ที ่ีสดุ - การทาํ งานรวมกันและพรอ มที่จะแบง ปน - การแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันทง้ั กอน ระหวางและหลงั การทํางาน - การทํางานท่ดี แี ละเหมาะสม

4.3 ความเปนมาของการจดั การความรู - ในชว งป ค.ศ. 1995-1996 Kujiro Nonaka และ Hirotaka Takeuchi ตีพิมพห นงั สือเรอื่ ง The Knowledge Creating Company ซงึ่ ไดเ สนอ แนวคิดทีเ่ นนเร่ืองการสรางและกระจาย ความรูใ นองคก ร ระหวา งความรูท่ีมอี ยูในตัวคนกบั ความรทู อี่ ยู ในรปู แบบสื่อหรอื เอกสาร โดยใชโ มเดล SECI-Knowledge Conversion ในการอธบิ าย - หนงั สือดังกลาวไดมอี ิทธพิ ลอยางสูงตอ วงการธุรกิจตั้งแต ป 1997 - มแี นวคิดวา กระบวนการจดั การความรมู ี 3 ขัน้ ตอนหลกั ไดแก การสรา งความรู การจัดเก็บความรู และการถา ยโอนความรู นาํ ความแตกตางระหวา งความรูฝงลึกกับความรูช ัดแจง มาเปน ฐาน ในการสรางรูปแบบการจัดการความรู และนาํ เสนอในรูปแบบ ของ SECI Model



4.4 องคป ระกอบของการ จัดการความรู

3. กระบวนการความรู 1. คน เปน องคประกอบท่ี เปน การบริหารจดั การ สําคญั ท่สี ุดเพราะเปน แหลง เพ่ือนาํ ความรูจ ากแหลง ความรู และเปนผูนาํ ความรู ความรไู ปใหผูใ ช เพื่อ ไปใชใหเ กดิ ประโยชน ทาํ ใหเ กดิ การปรับปรุง และนวตั กรรม 2. เทคโนโลยี เปน เครอื่ งมอื เพื่อใหค น สามารถคน หา จดั เกบ็ แลกเปล่ียน รวมทง้ั นํา ความรไู ปใชอยางงา ย และรวดเร็วขนึ้

กระบวนการจดั การความรู 123456 การกําหนดช้ี การเสาะ การจัดหมวด การประยกุ ต การ การปรับปรุงเปน หมุความรใู ห ใชความรู แลกเปล่ยี น ชดุ ความรูท ่ี ความรหู ลกั ที่ หาความรูท ่ี เปนระบบ เรียนรู และ ครบถว น ลุมลกึ เขาถงึ ได สกดั ความรู และเชอ่ื มโยงให จําเปน ตองการ สะดวก ออกมาจัด เหมาะกับการใช เก็บ งานมากขนึ้



Thank you!

แบบทดสอบหลงั เรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook