Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Social Psychology-ch 1

Social Psychology-ch 1

Published by smitt27, 2020-05-22 07:29:30

Description: Social Psychology-ch 1

Search

Read the Text Version

จติ วทิ ยาสงั คม (Social Psychology)

จติ วทิ ยาสงั คม (Social Psychology) ชชู ยั สมิทธิไกร 2563

บทท่ี 1 บทนํา หัวขอ การเรยี นรู  จิตวิทยาสงั คม : ความหมายและวตั ถุประสงคของศาสตร  ความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม  ววิ ัฒนาการของวิชาจติ วิทยาสังคม  ความสัมพนั ธร ะหวางจติ วิทยาสังคมกับศาสตรอ่ืน ๆ  สรุป วตั ถุประสงค หลงั จากอานบทนี้แลว ผอู านสามารถ :  อธิบายความหมาย วัตถปุ ระสงค และขอบเขตของจิตวิทยาสังคม  อธบิ ายความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม  อธิบายความแตกตางระหวางจิตวทิ ยาสังคมกับจิตวทิ ยาสาขาอ่นื ๆ 1

บทท่ี 1 บทนาํ จติ วิทยาสงั คม : ความหมายและวตั ถปุ ระสงคข องศาสตร จติ วทิ ยา (psychology) คือ การศึกษาอยางเปน วิทยาศาสตรเก่ียวกับพฤติกรรมและกระบวนการทาง จิตใจของมนุษย (Gerrig & Zimbardo, 2002) สวน จิตวิทยาสังคมเปนสาขาหนึ่งของจิตวทิ ยาซ่งึ มงุ ศกึ ษาเพ่ือ ทําความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติและสาเหตุของความรูสึก ความคิด และการกระทําของบุคคลใน สถานการณทางสังคม (Branscombe & Baron, 2017) โดยสนใจวาความรสู ึก ความคิด และการ กระทําเหลานั้นไดร บั อทิ ธิพลจากผูอืน่ อยางไร ไมวาผูอน่ื จะปรากฏอยู ณ ทนี่ ้นั จรงิ หรือปรากฏอยใู น จนิ ตนาการกต็ าม (Aronson, Wilson, & Sommers, 2018) จิตวิทยาสังคมเปนศาสตรท่ีเกี่ยวของกับ “สงั คม” ก็เพราะวาจิตวิทยาสังคมสนใจวาคนเรา ไดรับอทิ ธิพลจากผูอ่ืนอยางไร หรือมคี วามรูสกึ ความคดิ และการกระทําอยางไรในสถานการณทาง สังคม เมื่อกลาวถึง “ผูอ่ืน” หรือ “สถานการณทางสังคม” ในเชิงจิตวิทยาสังคม ท้ังผูอ่ืนและ สถานการณทางสังคมไมจําเปนตอ งมีอยูจริง แตอ าจเปน ผอู น่ื หรอื สถานการณที่บุคคลไดจนิ ตนาการ ในสมองของตนเองก็ได ตวั อยา งเชน หากบุคคลจนิ ตนาการวาตนเองกําลงั ยนื พูดนําเสนออยูต อหนา 2

บรรณานกุ รม กลุมคนท่ีมีทั้งอํานาจ ยศถาบรรดาศักด์ิ และช่ือเสียง ความรูสึก ความคิด และการกระทําของบุคคลน้ันยอม แตกตางจากการจินตนาการวาตนเองกําลังอยูตอหนากลุม เพื่อนสนิท ดังน้ัน หัวใจของการศึกษาดานจิตวิทยาสงั คมคือ การศึกษาวาสังคมสามารถมีอิทธิพลในการปรับเปล่ียน ความคิด ความรูสึก และพฤติกรรมของบคุ คลไดอยา งไร และ เพราะเหตุใด อาจสรุปไดวา จิตวิทยาสังคมสนใจศึกษาประเด็น สําคัญดังตอไปน้ี 1. การรับรทู างสังคม ( social perception) เปนหัวขอที่ตองการศึกษาวาปจจัยอะไรที่มี อิทธิพลตอวิธีท่ีคนเรารับรูตนเองและผูอื่น โดยครอบคลุมเร่ืองตัวตนในสังคม (social self) การ เหมารวม (stereotype) อคติ (prejudice) การระบุสาเหตุ (attribution) ความรูความเขาใจทาง สงั คม (social cognition) ฯลฯ ตัวอยา งประเดน็ ของการศกึ ษาเชน  เพราะเหตใุ ดแตล ะบคุ คลจงึ มคี วามคดิ ตอ ตนเอง และความภูมใิ จในตนแตกตางกัน  คนเรารับรูการกระทาํ ของผูอ่ืนอยา งไร และเพราะเหตุใดจงึ มีการแปลความหมายและ สาเหตุของการกระทาํ เหลาน้ันแตกตางกัน  อคติและการเหมารวมเกดิ ข้นึ ไดอ ยา งไร และเพราะเหตุใดจึงยากตอการเปลีย่ นแปลง 2. อิทธิพลของสังคม (social influence) เปนหัวขอที่ตองการศึกษาวาคนเรามีอทิ ธพิ ลตอ กนั และกันอยา งไร โดยครอบคลุมเรื่องทัศนคติ (attitude) การคลอยตามผูอ ่นื (conformity) ความ ดงึ ดูดใจ (attraction) ฯลฯ ตวั อยา งประเด็นของการศกึ ษาเชน  ทัศนคตขิ องบคุ คลที่มตี อสงิ่ ตาง ๆ เกิดขึน้ จากอะไร และจะเปล่ียนแปลงไดอยา งไร  คนเราชอบกัน รักกัน หรือมีความสัมพันธท ่ีใกลชดิ กนั เพราะอะไร  เพราะเหตใุ ดคนเราจึงมีการคลอยตาม ยอมตาม และเชอ่ื ฟงผูอ น่ื 3. ปฏิสัมพันธท างสังคม ( social interaction) เปนหัวขอท่ีตองการศึกษาวาเพราะเหตุใด คนเราจึงใหความชวยเหลือและทํารายผูอื่น การกระทําเม่ืออยูในกลุม โดยครอบคลุมเรื่อง การ ชวยเหลือผูอื่น (helping) ความกาวราว (aggression) พฤติกรรมกลุม (group behavior) ภาวะ ผนู ํา (leadership) ฯลฯตัวอยา งประเด็นของการศึกษาเชน 3

จติ วิทยาสงั คม  เมอ่ื คนเราพบเห็นผูประสบภัยอนั ตราย เราจะใหค วามชวยเหลือหรือจะเดินหนี  ความกาวราวของคนเราเกิดจากอะไร เปนสิ่งท่ีติดตัวมาแตกําเนิดหรือวาเรียนรู ภายหลงั  พฤตกิ รรมของคนเราเมื่ออยใู นกลุม แตกตางจากเมื่ออยเู พยี งลําพัง เพราะเหตใุ ด วัตถุประสงคข องจิตวทิ ยาสังคม การศึกษาคนควาดา นจิตวิทยาสังคม มีวัตถุประสงค ที่สําคัญ 4 ประการเชนเดียวกันกับจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ ดังตอ ไปนค้ี อื 1. เพื่อบรรยายพฤตกิ รรม (describe) วัตถุประสงคขอ แรกคือ การบรรยายวามี พฤติกรรมอะไรเกิดข้ึน และมี ลักษณะอยางไร หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ การตอบคําถาม วา “มพี ฤติกรรมใดเกดิ ขน้ึ และเกิดข้นึ อยางไร” ตัวอยา งเชน ผูชายกบั ผูห ญิงมีพฤติกรรมการแขงขัน และการรวมมือกับผูอ่ืนแตกตางกันอยางไร หรือคนในเมอื งกบั คนในชนบทมีทศั นคติตอนกั การเมือง แตกตา งกันหรอื ไม อยา งไร เปน ตน 2. เพื่อทําความเขา ใจพฤตกิ รรม (understand) นอกจากจะสามารถบรรยายพฤติกรรม ทเี่ กิดข้นึ ไดแ ลว นกั จิตวิทยาสังคมยังตองการทราบถงึ สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมเหลา น้ันอีกดวย ดังนั้น วัตถุประสงคขอนี้จงึ เก่ียวของกับคนหาสาเหตุตาง ๆ ท่ีมีอิทธิพลตอการแสดงพฤติกรรมของ บุคคล หรือการพยายามตอบคําถามวา “พฤติกรรมเหลานั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุใด” ตัวอยางเชน การ คนหาปจจัยที่ทําใหนักศึกษามพี ฤตกิ รรมการด่มื สุรา เปนตน 3. เพ่ือทํานายพฤติกรรม (predict) หลังจากท่ีเขาใจถึงสาเหตุและเงื่อนไขตาง ๆ ของ การเกิดพฤติกรรมแลว ทําใหนกั จิตวิทยาสังคมสามารถสรุปกฎเกณฑหรือสรางทฤษฎีที่ใชในการ อธบิ ายพฤติกรรมตาง ๆ ไดอ ยา งชดั เจน และสามารถนาํ ไปสูการทํานายพฤติกรรมในอนาคต กลา ว อีกนัยหน่ึงก็คือ การตอบคําถามวา “พฤติกรรมเหลาน้ันจะเกิดขึ้นเม่ือไร ภายใตเง่ือนไขอะไร” ตัวอยางเชน การทํานายวาผูคนจะแสดงพฤติกรรมชว ยเหลอื ผูอน่ื นอยลง หากอยใู นสถานการณทม่ี ี บุคคลอื่นนอกจากตนเองอยดู ว ย เปนตน 4

บรรณานุกรม 4. เพอ่ื ควบคุมพฤตกิ รรม (control) การควบคมุ ในทน่ี มี้ ไิ ดหมายถึง การ ครอบงําหรือบังคับการกระทําของบุคคลอื่น แตหมายถึง การสราง จัด กระทํา หรือเปลี่ยนแปลงสภาวะบางประการ โดยอาศัยความรูหรือทฤษฎี ทางจิตวิทยาที่ไดรับการยอมรับแลว เพ่ือทําใหเกิดผลลัพธที่นาพึง ปรารถนา หรือเพื่อปองกันมิใหเกิดผลลัพธท่ีไมพึงปรารถนา ตัวอยางเชน ความรูทางจิตวิทยาสังคมไดบงช้ีวา วัยรุนมักมีการเลียนแบบพฤติกรรม ตาง ๆ ของนักแสดง นักรอง หรอื นักกีฬาที่มีชือ่ เสียง ดังน้ัน การใชบุคคลที่มีชื่อเสยี งเหลานั้นเปนตัว แบบ จะทาํ ใหส ามารถเปล่ยี นแปลงทัศนคตแิ ละพฤตกิ รรมของวยั รนุ ไดง ายและรวดเร็วมากขึน้ ความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม ในเชิงจติ วิทยา คําวา “พฤติกรรม (behavior)” หมายถงึ การกระทําของบุคคลซ่ึงสามารถ จําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ พฤติกรรมภายนอก (overt Behavior) และพฤติกรรมภายใน (covert Behavior) (Sundel & Sundel, 2004) ดังแสดงในภาพท่ี 1-1 ภาพท่ี 1-1 องคป ระกอบของพฤตกิ รรม 5

จิตวิทยาสังคม 1. พฤติกรรมภายนอก คือ การกระทําที่บุคคลอ่ืนสามารถสังเกตเห็นไดและวัดได และ อาจแสดงออกไดท้ังในรูปแบบวัจนภาษา (verbal) และแบบอวัจนภาษา (nonverbal) เชน การพูด การหัวเราะ การรองไห การเดนิ การซอ้ื สนิ คา เปนตน 2. พฤตกิ รรมภายใน คือ การกระทําที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล ซ่ึงบุคคลอื่นไมสามารถ สงั เกตเห็นได เชน ความรสู กึ ทัศนคติ ความเช่อื การรบั รู การคิด เปน ตน อยา งไรก็ตาม สามารถวัด พฤตกิ รรมแบบน้ีไดดวยเครื่องมอื ทางจติ วิทยา เชน แบบวดั แบบทดสอบ เปนตน ท้ั ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ภ า ย น อ ก แ ล ะ พฤติกรรมภายในของบุคคล จะมี ความสัมพันธซึ่งกันและกันอยางแนน แฟน กลาวคือ พฤติกรรมภายนอกมัก เปนสิ่งท่ีสะทอนใหทราบถึงพฤติกรรม ภายในของบุคคล เชน เมื่อสังเกตเห็น บุคคลกําลังรองไห อาจสันนิษฐานไดวาบุคคลน้ันกําลังรูสึกเสียใจ เปนตน ดงั น้นั หากไมสามารถท่ี จะใหบุคคลทําแบบทดสอบหรือรายงานดวยตนเองแลว การที่จะเขา ใจพฤติกรรมภายในของบุคคล จาํ เปนตองศึกษาและอนมุ าน (infer) จากพฤติกรรมภายนอกท่ีบคุ คลน้ัน ๆ แสดงออกมา อยา งไรก็ ตาม พึงระวังวาการแปลความหมายจากพฤติกรรมภายนอกนน้ั อาจเกิดความผิดพลาดหรือไมตรง กับความเปนจริงก็ได ตัวอยา งเชน ในกรณีท่ีสังเกตเห็นบคุ คลกําลังรองไห แมโดยท่ัวไปแลว อาจ สันนษิ ฐานไดวาบุคคลน้ันกําลงั รูสึกเสียใจ แตก ็อาจเปนไปไดวาบุคคลนั้นอาจกําลังรองไหดวยความ ดีใจหรือความปลาบปล้ืมใจก็ได พฤติกรรมภายในในกรณีนี้จึงเปนเพียงภาวะสันนิษฐานเทาน้ัน กลาวคือผูสังเกตไมรูจริงเพียงแตสันนิษฐานเอาจากพฤติกรรมภายนอก ดวยเหตุนี้ หากตองการ ศึกษาพฤติกรรมภายนอกของบุคคล จึงควรจะสังเกตพฤติกรรมภายนอกทั้งในรูปแบบวัจนภาษา และอวจั นภาษาควบคูกนั ไป สาเหตขุ องพฤตกิ รรม การที่บุคคลหน่ึงแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมา ยอมตองมสี าเหตุท่ีกอใหเกิดพฤติกรรมนั้น ในทางจติ วิทยา Lewin (1951) ไดเสนอวาพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจากปฏิสัมพันธระหวาง 6

บรรณานุกรม ลักษณะสว นบคุ คลและสถานการณห รอื สภาพแวดลอม โดยสามารถเขยี นเปนสมการไดด ังน้ี B = f (P, E) B หมายถงึ พฤติกรรมของบุคคล P หมายถงึ ลกั ษณะสว นบคุ คล E หมายถึง สภาพแวดลอ ม จากสมการขางตน Lewin อธิบายวา พฤติกรรมของมนุษยลวนแตเปนผลมาจาก ปฏิสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคล (เชน การรับรู แรงจูงใจ หรือบุคลิกภาพ เปนตน) กับ สภาพแวดลอม ซ่ึงอาจจะเปนสภาพแวดลอมทางกายภาพ (physical environment) เชน ความ หนาว ความแออัด หรือความเงียบ เปนตน หรือสภาพแวดลอมทางจิตวิทยา (psychological environment) เชน วัฒนธรรม ประเพณี หรือบรรทัดฐานของกลุม เปนตน ตัวอยางเชน การพดู คุย กับบคุ คลแปลกหนาของแตละคนจะมีความแตกตางกัน เนอื่ งจากการมีลักษณะสวนบุคคลและการ อยูในสถานการณที่แตกตางกัน ผูที่มีลักษณะบุคลิกภาพแบบเปดเผยตนเอง มักมีการพูดคุยกับ บุคคลแปลกหนามากกวาผูที่มีลกั ษณะบุคลกิ ภาพแบบเก็บตัว อยางไรก็ตาม การอยูในสถานการณ ท่ีสังคมมีบรรทัดฐานวาควรจะแสดงความเปนมิตร เชน ในงานเล้ียง ฯลฯ อาจจะทําใหบุคคลท่ีมี ลักษณะบุคลิกภาพแบบเก็บตัวมีการพดู คยุ กบั บคุ คลแปลกหนามากข้นึ กวาเดิม ดังนั้น การทําความเขาใจกับสาเหตุแหงพฤติกรรม ของมนษุ ย จึงจําเปนตองพิจารณาท้ังลักษณะสวนบุคคล และสภาพแวดลอมทางสังคมของบุคคลนั้น ดวยเหตุน้ี การศึกษาพฤติกรรมของมนุษยจึงควรสนใจทั้งปจจัย ภายในตัวบุคคล เชน การรับรู การเรียนรู ความตองการ และแรงจูงใจบุคลิกภาพ ทศั นคติ คา นิยม เปน ตน รวมท้ัง ปจจัยภายนอกหรือสภาพแวดลอมทางสังคมของบุคคล เชน ครอบครัว กลุมอางอิง และวัฒนธรรม เปนตน 7

จติ วิทยาสงั คม ววิ ฒั นาการของวิชาจติ วิทยาสงั คม ศาสตรดานจิตวิทยาสังคมไดเร่ิมตนอยางจริงจังในประเทศ สหรัฐอเมริการาวตนศตวรรษท่ี 20 โดยในป ค.ศ. 1897 มีการตีพิมพการ วิจัยของ Norman Triplett เก่ียวกับปรากฏการณท่ีเรียกวา “การเอ้อื อาํ นวย ทางสงั คม (social facilitation)” กลาวคือ ในสภาวะท่ีมีผอู ่ืนอยดู วย ผลการ ทํางานของบุคคลจะดีขึ้น ก็ตอเม่ือบุคคลนั้นไดกระทําในส่ิงที่มีความชํานาญ อยูแลว แตหากเปนการทํางานท่ีมีลักษณะเปนการเรียนรูส่ิงใหม ผลการ ทาํ งานในสภาวะทม่ี ผี ูอ ่นื อยูดวยจะแยกวาสภาวะที่อยคู นเดยี ว ตอมาในป ค.ศ. 1908 มีการจัดพมิ พตําราจิตวิทยาสังคมสองเลม โดยเลมหน่งึ เขียนโดย Edward Ross สวนอีกเลมหน่ึงเขียนโดย William McDougall ในป ค.ศ. 1921 The Journal of Abnormal Psychology ซ่ึงเปนวารสารทางวิชาการดานจิตวิทยาอปกติ ไดเปล่ียนชื่อเปน The Journal of Abnormal and Social Psychology ในป ค.ศ. 1924 Floyd Allport ไดเขียนตํารา จิตวิทยาสังคมท่ีอาจถือไดวาเปนตนกําเนิดของวิชาจิตวิทยาสังคมอยางแทจริง โดยเสนอวา พฤติกรรมทางสังคมของมนุษยมีสาเหตุมาจากองคประกอบหลายประการ รวมทั้งการปรากฏตัว และพฤติกรรมของบคุ คลอนื่ ความกาวหนาของศาสตรจิตวิทยาสังคมเริ่มเดนชัดมากขึ้น ในชวงทศวรรษ 1930 โดยในป ค.ศ. 1929 Louis Thurstone ได ตีพิมพงานเรื่อง “วิธีการวัดทัศนคติ” และในป ค.ศ. 1932 Rensis Likert ก็ไดนาํ เสนอวิธีการวัดทัศนคติอีกวิธีหนึ่ง นอกจากนั้นในชวงน้ี นักจิตวิทยาหลายคนในกลุมเกสตอลต (Gestalt psychology) เชน Kurt Lewin ไดอพยพหนีพวกนาซีในเยอรมนีมาสูประเทศ สหรัฐอเมริกา และไดเริ่มตนพัฒนาองคความรูดานจิตวิทยาที่แยก จากกลุม พฤติกรรมนยิ ม (behavioral school) และกลมุ จิตวเิ คราะห (psychoanalytic school) การศึกษาของ Lewin และคณะซ่ึงมุงเนน เร่ืองเกี่ยวกับการรับรู ทัศนคติ และพฤติกรรมกลุม ไดม ีอทิ ธิพลอยางสูงตอวงการจิตวิทยาสังคมใน ขณะนั้น 8

บรรณานุกรม ในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง นักจิตวิทยาสังคมไดรวมกัน ศึกษาการชักจูงใจและการโฆษณาชวนเชื่อใหแกกองทัพอเมริกัน หลังจากสงครามส้ินสุดแลว นักจิตวิทยาสังคมก็หันมาสนใจปญหา สังคมตาง ๆ ไมวาจะเปนความเหล่ือมล้ําทางเพศหรืออคติทางเช้ือชาติ ในชวงทศวรรษ 1960 ความสนใจของนักจิตวิทยาสังคมไดมุงไปท่ี ความไมคลองจองทางปญญา (cognitive dissonance) และความ กาวราวโดยในป ค.ศ. 1957 Leon Festinger ไดพิมพหนังสือช่ือ “A Theory of Cognitive Dissonance” ซ่ึงไดเสนอแบบจําลองท่ีแสดงให เห็นถึงความตองการของบุคคลทีพ่ ยายามทําใหเกิดความสอดคลองระหวางการรู การเขาใจ และ พฤติกรรมของตนเอง ตอมาป ค.ศ. 1958 Fritz Heider ไดเสนอทฤษฎีการระบุสาเหตุ (Attribution Theory) และไดจดั พมิ พห นังสอื ชอ่ื “The Psychology of Interpersonal Behavior” ถัดมาในป ค.ศ. 1959 John Thibaut และ Harold Kelley ไดพิมพหนังสือช่ือ “The Social Psychology of Groups” ซึ่งเปน พืน้ ฐานของทฤษฎกี ารแลกเปลีย่ นทางสังคม (social exchange theory) ในชวงทศวรรษ 1970 วงการจิตวิทยาสังคมมีการโตแยงกันอยางดุเดือดเกี่ยวกับปญหา จริยธรรมในการทดลอง ปญหาอํานาจการทํานายพฤติกรรมของทัศนคติ และการศึกษาจิตวิทยา สังคมในบริบทของวัฒนธรรมท่ีแตกตางกัน นอกจากน้ัน นักจิตวิทยาสังคมไดใหความสนใจตอ ปญหาสงั คมและการประยุกตค วามรูเพ่อื การแกไขปญ หาสังคมมากขึน้ โดยตาํ ราดา นจิตวิทยาสังคม จะกลาวถงึ ประเดน็ เกยี่ วกบั การใชค วามรนุ แรง การชว ยเหลือผอู ่นื ความแออัดและความเครยี ด และ ปญหาสตรี ศาสตรจิตวิทยาสังคมไดกาวสูความมีวุฒิภาวะ ทั้งในดานทฤษฎีและวิธีการวิจัยในชวง ทศวรรษ 1980-90 กลาวคือไดมีการบัญญัติมาตรฐานเชิงจริยธรรมท่ีควบคุมการทําวิจัย และ แนวคดิ เชงิ พหุนยิ ม (pluralism) และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม (multiculturalism) ไดร ับการ ยอมรับมากข้ึน นักจิตวิทยาสังคมสมัยใหมมีความสนใจในปรากฏการณหลายอยาง แตประเด็น เกี่ยวกับการระบุสาเหตุพฤติกรรม (attribution) ปญญาทางสังคม (social cognition) และอัตมโน ทัศน (self-concept) เปนประเด็นท่ีไดรับความสนใจมากในระยะหลัง นอกจากน้ัน นักจิตวิทยา สงั คมยงั สนใจท่จี ะประยกุ ตความรูไ ปใชใ นดา นสุขภาพและปญหาสิ่งแวดลอมดวย 9

จติ วิทยาสังคม ความสมั พนั ธร ะหวางจิตวิทยาสงั คมกบั ศาสตรอ่ืน ๆ นอกจากจิตวิทยาสังคมแลว ยังมีศาสตรอื่น ๆ อกี หลายสาขาท่สี นใจศึกษาพฤติกรรมของ มนุษยในสังคม เชน สังคมวิทยา มานุษยวิทยา เปนตน ดังน้ัน จะไดกลาวถึงความสัมพันธระหวาง จติ วทิ ยาสังคมกับศาสตรอ ื่น ๆ เหลา น้ี (ดตู ารางที่ 1-1) ตารางที่ 1-1 ความแตกตางระหวา งจติ วิทยาสาขาตา ง ๆ สาขาของจติ วทิ ยา คาํ อธบิ าย จิตวิทยาสังคม (social มุงศึกษาวาคนเราคดิ อยา งไรเกีย่ วกับผอู ่ืน มีอทิ ธพิ ลตอผูอื่น psychology) อยางไร และมคี วามสัมพนั ธกับผูอ่นื อยางไร จติ วิทยาบุคลิกภาพ มงุ ศึกษาวามนษุ ยม ีความแตกตางกันอยา งไรในเชิงบคุ ลิกภาพ (personality psychology) และกระบวนการทอี่ ยภู ายในจิตใจ จิตวทิ ยาคลินกิ (clinical มุงศกึ ษาพฤติกรรมอปกติตาง ๆ ของมนุษย เชน โรคจิต psychology) พฤตกิ รรมเบี่ยงเบน เปนตน จติ วทิ ยาพฒั นาการ มุงศึกษาวา มนษุ ยม ีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาการอยางไร (developmental ตงั้ แตแรกเกิดจนถึงวัยชรา psychology) จติ วิทยาอตุ สาหกรรมและ มุงศึกษาพฤติกรรมการทํางานของมนุษยใ นองคการ และ องคก าร (industrial and ประยกุ ตใ ชขอเท็จจริงและหลักการทางจิตวิทยา เพ่ือแกไ ข organizational psychology) ปญหาท่ีเกย่ี วของกบั การทาํ งานของมนุษยภายในองคก าร จติ วิทยาการศกึ ษา มงุ ศึกษาพฤติกรรมมนุษยท ่ีเก่ียวขอ งกับการศึกษาและการ (educational psychology) เรียนรู และประยุกตความรูท างจติ วิทยาเพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ของการศึกษาและการเรียนรู จติ วิทยาชีวภาพ (biological มงุ ศึกษากระบวนการทาํ งานของสมอง ระบบประสาท และ psychology) อวัยวะอื่น ๆ ที่มีความสมั พันธก ับพฤติกรรมของมนษุ ย 10

บรรณานกุ รม 1. จิตวิทยาสงั คมกับสังคมวิทยา สังคมวิทยา (sociology) เปนศาสตรที่มุงศึกษาสังคมและการ รวมกลุมของมนุษย แมวาท้ังสองศาสตรจะสนใจวา มนุษยมีพฤติกรรมอยางไรในสังคมและกลุม แตจุด มุงเนนของการศึกษามีความแตกตางกัน กลาวคือ ในขณะท่ีนักสังคมวิทยาใชกลุมบุคคลเปนหนวยของ การศึกษา แตนักจติ วิทยาสังคมมุงศึกษาพฤติกรรมของ ปจ เจกบุคคลในกลมุ 2. จติ วิทยาสังคมกับมานุษยวิทยา มานุษยวิทยา (anthropology) เปนศาสตรที่ศึกษา แบบแผนพฤตกิ รรมของมนษุ ย โดยเนน อิทธพิ ลของวัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณซี ึ่งมีการ ถา ยทอกจากคนรนุ หน่งึ สูคนอกี รนุ หน่ึง ผลการศกึ ษาดานมานุษยวิทยาจึงใหประโยชนตอการศึกษา ทางจิตวิทยาสังคมเปนอยางมาก เพราะนกั จิตวิทยาสังคมจะไมสามารถเขา ใจพฤติกรรมของบคุ คล ในสังคมตาง ๆ ได หากไมเขาใจถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม เหลา นน้ั 3. จิตวทิ ยาสงั คมกับจิตวทิ ยาสาขาอน่ื ๆ จิตวิทยาทุกสาขาลวนแตมีความสนใจเกี่ยวกับ พฤติกรรมของมนุษย แตมีจุดเนนหนักของการศึกษาท่ีแตกตางกัน ในขณะท่ีจิตวิทยาสงั คมมุงเนน พฤติกรรมของมนุษยในสถานการณทางสังคมที่บุคคลหนึ่งมีความสัมพันธกับบุคคลอื่น ๆ โดยไม เนน ลกั ษณะเฉพาะตัวของปจเจกบุคคล ซ่งึ แตกตา งจากจิตวิทยาสาขาอืน่ ๆ เชน จิตวทิ ยาบคุ ลิกภาพ จิตวิทยาคลินกิ หรือจติ วิทยาพฒั นาการ เปนตน สรุป จิตวิทยาสังคมคือ การศึกษาเชิงวิทยาศาสตรวาคนเราคิดอยางไรเกี่ยวกับผูอ่ืน มีอิทธิพล ตอผูอ่ืนอยางไร และมีความสัมพันธกับผูอ่ืนอยางไร การศึกษาดานจิตวิทยาสังคมมีวัตถุประสงคท่ี สาํ คญั 4 ประการ คือ เพอ่ื บรรยาย ทําความเขาใจ ทาํ นาย และควบคมุ พฤตกิ รรม พฤติกรรม หมายถึง การกระทําของบุคคลซึ่งสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ พฤตกิ รรมภายนอก และพฤติกรรมภายใน พฤตกิ รรมของมนษุ ยเ ปนผลมาจากปฏิสัมพนั ธร ะหวาง 11

จิตวิทยาสงั คม ลกั ษณะสว นบคุ คลและสถานการณหรอื สภาพแวดลอม ศาสตรดานจิตวิทยาสังคมไดเ ริ่มตนอยางจริงจงั ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าราวตนศตวรรษท่ี 20 และมพี ฒั นาการอยา งตอเนือ่ งมาจนถึงปจ จุบนั 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook