การสรรคา เป็นการเลือกใชค้ าท่ีส่ือความคิดและอารมณ์ไดอ้ ยา่ งงดงาม ดงั น้ี 1.1 การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมายทตี่ ้องการ มีการใชค้ าที่ประณีตเป็นพเิ ศษ เมื่อกล่าวถึงส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ พระมหากษตั ริย์ ครูบาอาจารย์ จะใชค้ าบาลีสันสกฤต ดงั บทประพนั ธ์
• พร้อมเบญจางคประดิษฐส์ ฤษฎิสดุดี ทวาร กายจิตวจีไตร มุนี • ไหวค้ ุณองคพ์ ระสุคตอนาวรณญาณ ปิ ฎก ยอดศาสดาจารย์ นิกร • อีกคุณสุนทรธรรมคมั ภิรวธิ ี พทุ ธพจน์ประชุมตรี • ท้งั คุณสงฆพสิ ุทธศาสนดิลก สัมพทุ ธสาวก
1.2 การเลือกใชศ้ พั ทเ์ หมาะแก่เน้ือเรื่องและฐานะของบุคคล เช่น • พระราชบุตรลิจ ฉวมิ ิตรจิตเมิน ณกนั และกนั เหิน คณะห่างกต็ า่ งถือ • ทะนงชนกตน พลลน้ เถลิงลือ กห็ าญกระเหิมฮือ มนฮึกบนึกขาม โอรสของกษตั ริยล์ ิจฉวี ไดแ้ ก่ คาวา่ พระราชบุตร ชนก และใชค้ าวา่ มน หมายถึง ใจ ในบทประพนั ธ์
1.3 การเลือกใชเ้ ลือกคาโดยคานึงถึงเสียง กวไี ดด้ ดั แปลงฉนั ทบ์ างชนิดใหม้ ีความไพเราะมากข้ึน สามคั คีเภทคาฉนั ทม์ ีการใชค้ าที่มีเสียงเสนาะ ดงั น้ี 1.3.1 การใชค้ าที่เล่นเสียงหนกั -เบา ดงั ตวั อยา่ ง ธ คิดอา่ นกะท่านเป็น ละแน่ชดั ถนดั ความ • ชะรอยวา่ ทิชาจารย์ รหสั เหตุประเภทเห็น มิกลา้ อาจจะบอกตา ไถลแสร้งแถลงสาร • และท่านมามุสาวาท พจีจริงพยายาม
1.3.2 การเลน่ เสียงสัมผสั ท้งั สัมผสั นอกและสัมผสั ใน เช่น • เขาแสนสมเพช สังเกตอาการ แห่งเอกอาจารย์ ท่าทีทุกขท์ น ภายนอกบอกแผล แน่แทท้ ุพพล เห็นเหตุสมผล ใหพ้ กั อาศยั
1.3.3 การเลน่ สัมผสั ชุดคาและชุดเสียง เช่น ทะนุท่ีประทงั ความ •เปรียบปานมหรรณพนที นรหากประสบเห็น ร้อนกายกระหายอุทกยาม ระอุผา่ วกผ็ อ่ นเยน็ • เอิบอ่ิมกระหยมิ่ หทยคราว สุขปี ติดีใจ ยงั อุณหมุญจนะและเป็น
1.3.4 มีการเลน่ คา เช่น อรุ ะข้อนพไิ รพรรณน์ •บางคนกมลอ่อน กธุ เกลยี ดกเ็ สียดสี บางพวกพสิ ัยฉัน • บางเหล่ากเ็ ป็ นกลาง พเิ คราะห์ข้างพจิ ารณ์ดี บางหมู่กรุณมี ณหทยั กใ็ ห้ของ
แหล่งท่ีมา https://www.gotoknow.org
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: