การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา การประกัันคุุณภาพการศึึกษาซึ่�งเกี่�ยวข้้องกัับนัักศึึกษาโดยตรง ทั้้�งระดัับหลัักสููตรและระดัับคณะ มีดงั ต่อไปน้ี ความจำ�ำเปน็ และวตั ถปุ ระสงค์ของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับอุดมศกึ ษา ภารกิจหลักท่ีสถาบันอุดมศกึ ษาจะต้องปฏบิ ัตมิ ี 4 ประการ คือ การผลติ บัณฑติ การวิจัยการให้บริการ ทางวิชาการแก่สงั คม และการทำ�ำนุบำ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การดำ�ำเนนิ การตามภารกิจทงั้ 4 ประการดงั กล่าว มีความสำ�ำคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาประเทศท้ังระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัยภายในและภายนอกหลาย ประการท่ีทำ�ำให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจำ�ำเป็นท่ีจะต้องเร่งดำ�ำเนินการ ปัจจยั ดังกล่าวคือ 1) คณุ ภาพของสถาบนั อดุ มศกึ ษาและบณั ฑติ ภายในประเทศ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะมคี วามแตกตา่ งกนั มากขน้ึ ซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี แกส่ งั คมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความทา้ ทายของโลกาภวิ ฒั นต์ อ่ การอดุ มศกึ ษาทง้ั ในประเดน็ การบรกิ ารการศกึ ษาขา้ มพรมแดน และ การเคล่ือนย้ายนักศึกษาและบัณฑิตอันเป็นผลจากการรวมตัวของประเทศในภูมิภาคอาเซียนซึ่งทั้งสองประเด็น ต้องการการรบั ประกันของคณุ ภาพการศกึ ษา 3) สถาบนั อดุ มศกึ ษามคี วามจำ�ำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งสรา้ งความมนั่ ใจแกส่ งั คมวา่ สามารถพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละ ผลิตบัณฑิตตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศให้มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการสร้างขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ระดับสากล การพฒั นาภาคการผลติ จรงิ ทงั้ อุตสาหกรรมและบรกิ าร การพฒั นาอาชพี คณุ ภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ระดับท้องถ่ินและชมุ ชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (public information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย ทั้งนกั ศกึ ษา ผูจ้ ้างงาน ผ้ปู กครอง รัฐบาล และประชาชนทว่ั ไป 5) สงั คมตอ้ งการระบบอุดมศึกษาทีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี มีส่วนร่วม (participation)มีความ โปร่งใส (transparency) และมีความรบั ผดิ ชอบซง่ึ ตรวจสอบได้ (accountability) 6) พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กำ�ำหนดให้ สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในรวมถึงให้มีสำ�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษาทำ�ำหน้าทปี่ ระเมนิ คุณภาพภายนอก โดยการประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 7) คณะกรรมการการอดุ มศึกษาได้ประกาศใช้มาตรฐานการอดุ มศกึ ษา เมอื่ วนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2549 เพื่อเป็นกลไกกำ�ำกับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน โดยทุก หน่วยงานระดบั อุดมศกึ ษาจะไดใ้ ช้เปน็ กรอบการดำ�ำเนินงานประกันคุณภาพการศกึ ษา 8) กระทรวงศึกษาธกิ ารไดม้ ีประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เม่อื วันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เพ่ือเป็นกลไกส่งเสริมและกำ�ำกับให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาให้มีมาตรฐานตาม ประเภทหรอื กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุม่ 9) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษา แหง่ ชาติ เมอ่ื วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาไดป้ ระกาศแนวทางการปฏบิ ตั ติ ามกรอบ มาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 16 กรกฎาคม 2552 เพอ่ื ใหก้ ารจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจำ�ำเป็นดังกล่าวสถาบันอุดมศึกษาร่วมกับต้นสังกัดจึงจำ�ำเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไก การประกนั คณุ ภาพการศึกษา โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ 1) เพอ่ื ตรวจสอบและประเมนิ การดำ�ำเนนิ งานของภาควชิ าคณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบนั อุดมศึกษาในภาพรวมตามระบบคุณภาพและกลไกท่ีสถาบันน้ันๆกำ�ำหนดข้ึนโดยวิเคราะห์เปรียบเทียบผล การดำ�ำเนนิ งานตามตวั บง่ ชใ้ี นทกุ องคป์ ระกอบคณุ ภาพวา่ เปน็ ไปตามเกณฑแ์ ละไดม้ าตรฐาน 2) เพอ่ื ใหภ้ าควชิ า คณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบนั อดุ มศกึ ษาทราบสถานภาพของตนเอง อนั จะนำ�ำไปสกู่ ารกำ�ำหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปส่เู ปา้ หมาย (targets) และเป้าประสงค์ (goals) ทตี่ งั้ ไว้ ตามจุดเนน้ ของตนเองและเป็นสากล 50
3) เพอื่ ใหภ้ าควชิ าคณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบนั อดุ มศกึ ษาทราบจดุ แขง็ จดุ ทค่ี วรปรบั ปรงุ ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดำ�ำเนินงานเพ่ือเสริมจุดแข็งและพัฒนาจุดท่ีควรปรับปรุงของสถาบัน อยา่ งตอ่ เนือ่ ง 4) เพอื่ ใหข้ อ้ มลู สาธารณะทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทำ�ำใหม้ น่ั ใจวา่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาสามารถ สร้างผลผลิตทางการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพและได้มาตรฐานตามทกี่ ำ�ำหนด 5) เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีข้อมูลพื้นฐานที่จำ�ำเป็น สำ�ำหรบั การสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางท่เี หมาะสม การประกนั คุณภาพกบั มาตรฐานการศกึ ษา เพื่อให้การจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามท่ีกำ�ำหนดท้ังมาตรฐาน การศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธ์กับมาตรฐานและ หลกั เกณฑท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาอนื่ ๆ รวมถงึ กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ จงึ จำ�ำเปน็ ตอ้ งมรี ะบบประกนั คณุ ภาพทพี่ ฒั นาขนึ้ ตามทกี่ ำ�ำหนดไวใ้ นกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ทั้งน้ี ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และ การประกนั คุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1 มาตรฐานการศึกษาแหง่ ชาติ มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 คุณลกั ษณะของคนไทย แนวทางการจัดการศกึ ษา แนวการสร้างสงั คมแห่ง การเรยี นร/ู้ สังคมแหง่ ทพ่ี งึ ประสงค์ทงั้ ในฐานะ ความรู้ พลเมอื งและพลเมืองโลก มาตรฐานดา้ นการ สร้างและพัฒนาสงั คม มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐานด้านการ ฐานความรู้และสงั คม การอุดมศกึ ษา ดา้ นคุณภาพบัณฑิต บริหารจัดการ การอุดมศึกษา แห่งการเรยี นรู้ หลักเกณฑก์ ำ�กบั การประกันคณุ ภาพภายใน ภายใตต้ วั บ่งช้ตี ามองคป์ ระกอบคุณภาพ 9 ด้าน มาตรฐาน รวมถึง ผลผลิตทางการศึกษาท่ีไดค้ ณุ ภาพ มาตรฐานสถาบันอุดม ศกึ ษาและกรอบ มาตรฐานคณุ วุฒิ ระดับอดุ มศกึ ษา แห่งชาติ แผนภาพท่ี 1.1 ความเช่อื มโยงระหวา่ งมาตรฐานการศึกษาและการประกันคณุ ภาพ 51
การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ในระดับหลกั สตู ร ที่เก่ียวขอ้ งกบั นกั ศึกษาและบทบาทของนกั ศกึ ษา การประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มีท้ังหมด 6 องค์ประกอบได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำำ� กบั มาตรฐาน องคป์ ระกอบที่ 2 บณั ฑติ องคป์ ระกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ องคป์ ระกอบ ที่ 5 หลักสตู รการเรียนการสอนการประเมนิ ผเู้ รียน และองคป์ ระกอบท่ี 6 ส่ิงสนับสนุนการเรีนรู ้ ในทน่ี ้ี จะกล่าว ถงึ องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑติ และ องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ดังนี้ องค์ประกอบท่ี 2 บณั ฑิต พนั ธกจิ ทสี่ ำ�ำคญั ท่สี ุดของสถาบันอุดมศกึ ษา คือ การผลติ บณั ฑติ หรอื การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ในวิชาการและวชิ าชีพ มีคุณลักษณะตามหลกั สูตรทกี่ ำ�ำหนด บณั ฑิตระดบั อดุ มศึกษาจะต้องเปน็ ผมู้ คี วามรู้ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี วามสามารถในการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ พอ่ื การ ดำ�ำรงชีวติ ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ท้งั รา่ งกายและจิตใจ มีความสำ�ำนึกและความรบั ผดิ ชอบในฐานะพลเมอื งและ พลโลก มคี ุณลักษณะตามอัตลกั ษณ์ของสถาบันอดุ มศกึ ษา สำ�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาในฐานะทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานในการกำ�ำกบั และสง่ เสรมิ การดำ�ำเนนิ งาน ของสถาบันอุดมศึกษา ได้จัดทำ�ำมาตรฐานต่างๆ ที่เกียวข้องกับการผลิตบัณฑิต เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาตเิ พอ่ื มงุ่ เนน้ เปา้ หมายการจดั การศกึ ษาทผี่ ลการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา ซง่ึ เปน็ การประกนั คณุ ภาพบณั ฑติ ทไี่ ดร้ บั คณุ วฒุ แิ ตล่ ะคณุ วฒุ แิ ละสอ่ื สารใหส้ งั คม ชมุ ชน รวมทงั้ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตา่ งๆ ไดเ้ ชอื่ มน่ั ถงึ คณุ ภาพของบณั ฑติ ทผี่ ลติ ออกมาเปน็ ไปตามทก่ี ำ�ำหนดไวใ้ นผลลพั ธก์ ารเรยี นรใู้ นแตล่ ะหลกั สตู ร คุณภาพบัณฑิตในแต่ละหลักสูตรจะสะท้อนไปท่ีคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ โดยพจิ ารณาจากผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ การมงี านทำ�ำ และคุณภาพผลงานวจิ ัยของนักศกึ ษาและ ผสู้ ำ�ำเร็จการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษาในปีการศกึ ษาน้นั คุณภาพบัณฑิตจะพจิ ารณาไดจ้ ากตัวบ่งชด้ี ังตอ่ ไปนี้ ตัวบ่งช้ีที่ 2.1 คุณภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ ตวั บง่ ชี้ที่ 2.2 การไดง้ านทำ�ำหรอื ผลงานวจิ ยั ของผสู้ ำ�ำเรจ็ การศกึ ษา - ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรที ไี่ ด้งานทำ�ำหรือประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี - ผลงานของนักศกึ ษาและผ้สู ำ�ำเรจ็ การศกึ ษาในระดับปริญญาโททไี่ ด้รบั การตพี มิ พห์ รือเผยแพร่ - ผลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ�ำเร็จการศกึ ษาในระดับปรญิ ญาเอกท่ีได้รับการตพี ิมพห์ รือเผยแพร่ ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.1 คุณภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ ชนิดของตวั บ่งชี้ ผลลพั ธ์ คำำ� อธบิ ายตัวบ่งช ี้ กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education : TQF) ไดม้ กี ารกำ�ำหนดคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพี่ งึ ประสงคต์ ามทห่ี ลกั สตู ร กำ�ำหนดไวใ้ น มคอ.2 ซงึ่ ครอบคลุมผลการเรยี นรอู้ ย่างน้อย 5 ดา้ น คอื 1) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 2) ดา้ นความรู้ 3) ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา 4) ด้านทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ ง บุคคลและความรับผิดชอบและ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบ่งชี้น้ีจะเป็นการประเมินคุณภาพบัณฑิตในมุมมองของ ผูใ้ ชบ้ ัณฑติ เกณฑ์การประเมิน ใชค้ า่ เฉลยี่ ของคะแนนประเมินบัณฑติ (คะแนนเตม็ 5) สูตรการคำ�ำนวณ ผลรวมของค่าคะแนนท่ไี ด้รับจากการประเมนิ บัณฑิต คะแนนที่ได้ = จำ�ำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำ�ำรวจทัง้ หมด 52
ข้อมลู ประกอบ จำ�ำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำ�ำนวนบัณฑิตท่ี สำ�ำเรจ็ การศกึ ษา บทบาทนักศึกษา 1. นักศึกษาต้องเข้าใจความคาดหวังสมรรถนะของนักศึกษาที่จะต้องจบการศึกษาเป็นบัณฑิตที่มี สมรรถนะ และคณุ สมบตั ติ ามทกี่ ำ�ำหนดในหลกั สตู ร ซงึ่ ครอบคลมุ ผลการเรยี นรทู้ ง้ั หมด 6 ดา้ น เมอื่ นกั ศกึ ษาทำ�ำความ เข้าใจตามตวั บง่ ช้ี นแ้ี ลว้ กจ็ ะตอ้ งวางแผนการเรียนอยา่ งมเี ป้าหมาย แสวงหาความรแู้ ละตัง้ ใจฝึกปฏบิ ัตเิ พือ่ ให้มี ความรู้ และทักษะการปฏบิ ตั ิการพยาบาลไดค้ รบถว้ นตามเกณฑม์ าตรฐาน 2. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้ใช้แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) เป็นเคร่ืองมือ ในการกำ�ำกับติดตามการพัฒนาตนเองของนักศึกษา นอกเหนือจากการประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา ดังน้ัน นกั ศกึ ษาจงึ มหี นา้ ทใ่ี นการเกบ็ สะสมผลงานทงั้ ทางดา้ นวชิ าการ และผลงานประเภทกจิ กรรม รวมทง้ั มกี ารสะทอ้ นคดิ (reflection) ซ่ึงแสดงให้เหน็ ถึงการพัฒนาสมรรถนะทั้ง 6 ดา้ น และความเป็นสภุ าพชน คนดี สวนดสุ ิต ซึ่งเปน็ เอกลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัย 3. เนื่องจากการประเมินจะดำ�ำเนินการเม่ือบัณฑิตสำ�ำเร็จการศึกษาไปแล้ว และทำ�ำงานประมาณ 1 ปี คณะจะสง่ แบบสอบถาม ไปถามความเหน็ ของผูบ้ ังคับบัญชา ผูร้ ว่ มงานของบัณฑิต และตัวบัณฑติ เอง ฉะน้นั ขอให้ บัณฑิตได้ตระหนักถึงความสำ�ำคัญว่าการปฏิบัติงานของบัณฑิต เป็นสิ่งที่มีผลสะท้อนถึงคุณภาพของ คณะพยาบาลศาสตร์ และมหาวิทยาลยั ตวั บง่ ชที้ ี่ 2.2 ร้อยละของบัณฑิตปรญิ ญาตรีที่ได้งานทำ�ำ หรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี (ปรญิ ญาตรี) ชนดิ ของตัวบง่ ชี้ ผลลัพธ์ คำำ� อธิบายตวั บ่งชี้ บัณฑิตปริญญาตรีท่ีสำ�ำเร็จการศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลา ในสาขาน้ัน ท่ีได้งานทำ�ำหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำ�ำภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวันท่ีสำ�ำเร็จการศึกษาเมื่อเทียบกับบัณฑิตที่สำ�ำเร็จการศึกษาในปีการศึกษาน้ัน การนับการมีงานทำ�ำนับกรณีการทำ�ำงานสุจริตทุกประเภทท่ีสามารถสร้างรายได้เข้ามาเป็น ประจำ�ำเพ่ือเลี้ยงชีพตนเองได้ การคำ�ำนวนร้อยละของผู้มีงานทำ�ำของผู้สำ�ำเร็จการศึกษาที่ ลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาให้คำ�ำนวณเฉพาะผู้ที่เปลี่ยนงานใหม่หลัง จากสำ�ำเร็จการศึกษาเท่านั้น เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทำ�ำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี เปน็ คะแนนระหวา่ ง 0 - 5 กำ�ำหนดใหค้ ะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100 สูตรการคำำ� นวน 1. คำ�ำนวณคา่ รอ้ ยละของบณั ฑติ ปรญิ ญาตรที ไี่ ดง้ านทำ�ำหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี ตามสตู ร จำ�ำนวนบัณฑติ ปรญิ ญาตรที ่ีได้งานทำ�ำหรือประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี x 100 จำ�ำนวนบัณฑิตท่ีตอบแบบสำ�ำรวจทั้งหมด การคำ�ำนวณคา่ รอ้ ยละนไ้ี ม่นำ�ำบณั ฑิตทีศ่ กึ ษาต่อ เกณฑ์ทหาร อปุ สมบท และบัณฑติ ทม่ี งี านทำ�ำแลว้ แต่ไม่ ได้เปลย่ี นงานมาพิจารณา 2. แปลงค่าร้อยละท่คี ำ�ำนวณไดใ้ นขอ้ 1 เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5 คะแนนทไี่ ด้ = คา่ รอ้ ยละบณั ฑติ ปรญิ ญาตรที ไี่ ดง้ านทำ�ำหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี x 5 100 หมายเหตุ : จำ�ำนวนบณั ฑิตท่ีตอบแบบสำ�ำรวจจะตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70 ของจำ�ำนวนบัณฑิตท่ีสำ�ำเรจ็ การศกึ ษา 53
บทบาทนกั ศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์จ์ ะมีกี ารสอบถามการได้ง้ านทำของบัณั ฑิติ ภายหลังั การสำเร็จ็ การศึกึ ษา (ประมาณ เดือื นเมษายน) และ อีีกครั้�งภายใน 1 ปีี ดังั นั้�น จึงึ ใคร่่ขอความร่่วมมือื บัณั ฑิิต ในการให้้ข้อ้ มูลู ตามความเป็็นจริงิ และเช่่นเดีียวกัันกัับตััวบ่่งชี้้�ที่่� 2.1 ขอให้้บััณฑิิตได้้ตระหนัักถึึงความสำคััญว่่าการปฏิิบััติิงานของบััณฑิิต เป็นสิง่ ที่มผี ลสะทอ้ นถงึ คณุ ภาพของคณะพยาบาลศาสตร์ และมหาวทิ ยาลยั เชน่ การเปล่ยี นสถานทีท่ ำ�ำงานบ่อยๆ โดยไมม่ ีเหตุผลสมควร จะสะท้อนภาพลักษณใ์ นทางลบของบัณฑิต และสถาบนั องค์ประกอบที่ 3 นกั ศึกษา ความสำ�ำเร็จของการจัดการศึกษาขน้ึ อย่กู บั ปจั จัยสำ�ำคญั ปจั จัยหนง่ึ คอื นกั ศึกษา ระบบประกนั คณุ ภาพ การศึกษา ต้องให้ความสำ�ำคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตร ซ่ึงต้องเป็นระบบท่ีสามารถ คัดเลือกนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติและความพร้อมในการเรียนหลักสูตรจนสำ�ำเร็จการศึกษา และส่งเสริมพัฒนา นักศึกษาใหม้ ีความพรอ้ มทางการเรยี น และมีกจิ กรรมการพัฒนาในรูปแบบตา่ งๆ เพอื่ ให้นักศกึ ษามคี วามร้คู วาม สามารถตามหลักสตู ร มที ักษะการเรยี นรใู้ นศตวรษท่ี 21 และสำ�ำหรบั หลักสูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษามีทักษะการวจิ ัย ทีส่ ามารถสร้างองค์ความร้ไู ด้ ทกั ษะทจี่ ำ�ำเป็นสำ�ำหรับการเรียนรใู้ ศตวรรษท่ี 21 ประกอบกด้วย 4 กลุม่ หลกั ได้แก่ (1) กลมุ่ วิชาหลัก (core subjects) (2) กล่มุ ทักษะชีวติ และอาชีพ (life and career skills) (3) กลุม่ ทักษะการเรยี นรู้และนวัตกรรม (learning in innovation skills) และ (4) กลุม่ ทกั ษะสารสนเทศสอ่ื และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ทักษะสำ�ำคัญทค่ี นสว่ นใหญใ่ ห้ความสำ�ำคญั มาก คอื 1) กลุ่มทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม ไดแ้ ก่ (1) การคิดเชิงวิพากษแ์ ละการแกป้ ัญหา (critical think- ing and problem solving) (2) นวัตกรรมและการสรา้ งสรรค์ (innovation and creativity) (3) การสือ่ สารและ ความรว่ มมือกนั (communication and collaboration) 2) กลุ่มทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ประกอบดว้ ย การรู้สารสนเทศ (information literacy) การร้สู ่อื (media literacy) และ การรู้ ICT (ICT literacy) 3) กล่มุ ทกั ษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ประกอบด้วยความสามารถในการปรับตัวและ ยดื หยนุ่ (adaptability and flexibility) ความคิดริเรม่ิ และการเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง (initiative and self-direction) ปฏิสัมพนั ธ์ทางสงั คมและข้ามนวตั กรรม (social and cross-cultural interaction) ความรบั ผิดชอบและความ สามารถผลิตผลงาน (accountability and productivity) ความเปน็ ผนู้ ำ�ำและรับผิดชอบตอ่ สงั คม (leadership and social responsibility) การประกันคุณภาพหลักสูตรในองค์ประกอบด้านนักศึกษา เร่ิมดำ�ำเนินการต้ังแต่ระบบการรับนักศึกษา การส่งเสริมและพฒั นานักศึกษา และผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนกับนกั ศึกษา ภายใตก้ ารดำ�ำเนินการดังกล่าวให้พจิ ารณาจาก ตวั บ่งชดี้ งั ต่อไปน้ี ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.1 การรับนกั ศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.2 การส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศึกษา ตัวบง่ ช้ีที่ 3.3 ผลทีเ่ กิดกับนกั ศกึ ษา 54
ตวั บ่งชี้ที่ 3.2 การสง่ เสริมและพฒั นานักศึกษา ชนดิ ของตัวบง่ ช้ี กระบวนการ คำ�ำอธบิ ายตวั บง่ ช ้ี ในชว่ งปแี รกของการศกึ ษา ตอ้ งมกี ลไกในการพฒั นาความรพู้ น้ื ฐานหรอื การเตรยี มความพรอ้ ม ทางการเรียนแก่นักศึกษา เพื่อให้มีความสามารถในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาได้อย่างมี ความสุข อัตราการลาออกกลางคนั นอ้ ย ในระหว่างการศกึ ษามกี ารจดั กจิ กรรมการพฒั นา ความรคู้ วามสามารถในรปู แบบตา่ งๆ ทงั้ กจิ กรรมในหอ้ งเรยี นมกี จิ กรรมเสรมิ สรา้ งความเปน็ พลเมอื งดมี จี ติ ใตส้ ำ�ำนกึ สาธารณะ มกี ารวางระบบการดแู ลใหค้ ำ�ำปรกึ ษาจากอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา วิชาการ (ระดบั ปรญิ ญาตร ี โท เอก) ระบบการป้องกันหรือการบริหารจดั การความกล้า เส่ียงของนักศึกษา เพื่อให้สามารถสำ�ำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำ�ำหนด รวมท้ังการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการเรียนรู้ท่ี สง่ เสรมิ การพฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ใหไ้ ดม้ าตรฐาน สากลในการรายงานการดำ�ำเนินงานตามตวั บง่ ชีน้ ้ี ใหอ้ ธิบายกระบวนการหรอื แสดงผลการ ดำ�ำเนนิ งาน อยา่ งน้อยให้ครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปน้ี - การควบคมุ การดแู ลการใหค้ ำ�ำปรกึ ษาวิชาการและแนะแนวแกน่ กั ศึกษาปริญญาตรี - การควบคมุ การดูแลการให้คำ�ำปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ แก่บณั ฑิตศึกษา - การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผล การดำ�ำเนินงานท้ังหมด ท่ีทำ�ำให้นักศึกษาเรียนอย่างมีความสุขและมีทักษะท่ีจำ�ำเป็นต่อ การประกอบอาชพี ในอนาคต ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำ�ำเนินงาน ทง้ั หมด ทท่ี ำ�ำให้นักศกึ ษาเรียนอยา่ งมีความสุขและมีทกั ษะท่ีจำ�ำเป็นตอ่ การประกอบอาชพี ในอนาคต เกณฑ์การประเมนิ 01 23 4 5 • ไม่มรี ะบบ • มรี ะบบมีกลไก •มรี ะบบมกี ลไก •มีระบบมกี ลไก •มีระบบมีกลไก •มีระบบ มีกลไก • ไม่มกี ลไก •ไมม่ ีการนำ�ระบบ •มีการน�ำ ระบบ •มกี ารน�ำ ระบบ •มีการน�ำ ระบบ •มกี ารน�ำ ระบบ • ไมม่ ีแนวคิด กลไกไปส่กู าร กลไกไปสู่การ กลไกไปสกู่ าร กลไกสกู่ าร กลไกไปสูก่ าร ในการกำ�กบั ปฏบิ ัติ/ ปฏิบัติ/ดำ�เนนิ ปฏิบตั ิ/ดำ�เนนิ งาน ปฏบิ ตั ิ/ด�ำ เนนิ ปฏบิ ตั ิ/ดำ�เนนิ งาน ติดตามและ ด�ำ เนินงาน งาน •มกี ารประเมนิ งาน •มีการประเมนิ ปรับปรงุ •มีการประเมนิ กระบวนการ •มกี ารประเมนิ กระบวนการ • ไม่มขี อ้ มูล กระบวนการ •มกี ารปรบั ปรงุ / กระบวนการ •มีการปรับปรุง/ หลกั ฐาน •ไม่มีการ พฒั นากระบวนการ •มกี ารปรับปรุง พฒั นา ปรับปรุง/พัฒนา จากผลการประเมิน /พฒั นา กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ จากผลการ จากผลการ ประเมนิ ประเมิน •มีผลจากการ •มผี ลจากการ ปรับปรงุ เหน็ ปรบั ปรงุ เห็น ชดั เจนเป็น ชัดเจนเปน็ รูปธรรม รูปธรรม •มแี นวทางปฏตั ิ ท่ดี ี โดยมีหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ยนื ยนั และ กรรมการผตู้ รวจ ประเมนิ สามารถ ให้เหตุผลอธิบาย การเป็นแนว ปฏบิ ัตทิ ี่ดีได้ ชดั เจน 55
บทบาทนกั ศกึ ษา ตวั บ่งชี้น้ี มงุ่ หวังให้คณะฯ มรี ะบบและกลไกในการดแู ล ใหค้ ำ�ำปรกึ ษานักศกึ ษาทงั้ ทางด้านวชิ าการ และ ด้านสว่ นตัว โดยการจัดใหม้ อี าจารย์ประจำ�ำชั้น อาจารยท์ ีป่ รึกษา จดั กจิ กรรม/โครงการ ทจ่ี ะชว่ ยพฒั นาศักยภาพ นักศึกษา และการเสริมสรา้ งทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ดงั นั้น นักศกึ ษาจงึ ควรมีความใฝร่ ู้ พัฒนาตนเอง กระตือรือร้นในการเรียนรู้ และการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ประจำ�ำช้ัน อย่างสม่�่ำำเสมอ และใหค้ วามร่วมมือ เข้ารว่ มในกิจกรรม/โครงการท่คี ณะฯ จดั ให้ ตวั บ่งชีท้ ี่ 3.3 ผลท่ีเกิดกับนักศึกษา ชนดิ ของตัวบง่ ช ้ี ผลลพั ธ์ คำ�ำอธบิ ายตวั บ่งช ี้ ผลการประกันคุณภาพควรทำ�ำให้นักศึกษามีความพร้อมทางการเรียนมีอัตรการคงอยู่ของ นกั ศกึ ษาในหลกั สตู รสงู อตั ราการสำ�ำเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู รสงู นกั ศกึ ษามคี วามพงึ พอใจ ตอ่ หลกั สูตร และผลการจัดการขอ้ ร้องเรยี นของนักศึกษา ในการรายงานการดำ�ำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผล การดำ�ำเนินงานในประเดน็ ต่อไปน้ี - การคงอยู่ - การสำ�ำเรจ็ การศกึ ษา - ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อรอ้ งเรียนของนกั ศึกษา 012 3 4 5 • ไม่มกี าร • มีการรายงานผล •มีการรายงาน •มีการรายงาน •มีการรายงาน •มีการรายงานผล รายงานผลการ การดำ�เนินงาน ผลการดำ�เนนิ ผลการด�ำ เนนิ งาน ผลการดำ�เนนิ การด�ำ เนนิ งาน ดำ�เนินงาน ในบางเรือ่ ง งานครบทกุ เรอื่ ง ครบทกุ เรื่องตามคำ� งานครบทุกเร่อื ง ครบทกุ เร่อื งตาม ตามคำ�อธิบาย อธบิ ายในตวั บง่ ช้ี ตามค�ำ อธบิ าย ค�ำ อธบิ ายในตัว ในตัวบ่งชี้ •มีแนวโนม้ ผลการ ในตวั บง่ ชี้ บ่งช้ี ด�ำ เนนิ งานที่ดขี น้ึ ใน •มีแนวโนม้ ผล •มีแนวโน้มผลการ บางเร่อื ง การดำ�เนินงานที่ ดำ�เนินงานท่ดี ีข้นึ ดขี ึ้นในทุกเรอ่ื ง ในทุกเรือ่ ง •มีผลการดำ�เนนิ งานที่โดดเด่น เทียบเคียงกบั หลักสตู รนน้ั ใน สถาบนั กล่มุ เดียวกนั โดย มีหลักฐานเชงิ ประจกั ษย์ ืนยนั และกรรมการ ผตู้ รวจประเมนิ สามารถใหเ้ หตุผล อธบิ ายวา่ เปน็ ผล การด�ำ เนนิ งานท่ี โดดเด่นโดยแทจ้ ริง 56
บทบาทนกั ศึกษา 1. ตวั บง่ ช้ีนี้ แสดงถงึ ผลลพั ธข์ องกระบวนการในการสง่ เสริม และพัฒนานกั ศึกษา ให้นักศกึ ษาสามารถ เรียนรูใ้ นหลักสตู ร จนสำ�ำเร็จการศึกษาในเวลาท่ีกำ�ำหนด 2. คณะจะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ประเมินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาทุกวิชา และประเมิน ประสทิ ธภิ าพการสอนของอาจารยท์ กุ ทา่ นเมอ่ื สนิ้ สดุ ภาคการศกึ ษา จงึ ใครข่ อความรว่ มมอื นกั ศกึ ษาในการใหข้ อ้ มลู ทเ่ี หมาะสมตามความเป็นจรงิ 3. คณะจะเปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาไดป้ ระเมนิ ความพงึ พอใจในการใหบ้ รกิ ารของอาจารยป์ ระจำ�ำชน้ั และ อาจารย์ที่ปรกึ ษา และกจิ กรรมในการพัฒนานกั ศึกษา จงึ ใครข่ อความร่วมมือนกั ศกึ ษาในการให้ข้อมลู ที่เหมาะสม ตามความเป็นจรงิ 4. คณะจะมกี ารสำ�ำรวจความพงึ พอใจตอ่ การบรหิ ารหลกั สตู รของนกั ศกึ ษาปสี ดุ ทา้ ยกอ่ นทจ่ี ะสำ�ำเรจ็ การ ศกึ ษา จงึ ใคร่ขอความรว่ มมอื นกั ศึกษาในการใหข้ ้อมูลท่ีเหมาะสมตามความเป็นจริง 5. นอกจากนนั้ ในกรณที มี่ ปี ญั หา หรอื ขอ้ รอ้ งเรยี น นกั ศกึ ษาสามารถเสนอขอ้ รอ้ งเรยี น ไดห้ ลายชอ่ งทาง เชน่ ผา่ นอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา อาจารยป์ ระจำ�ำชนั้ อาจารยผ์ สู้ อน/ผรู้ บั ผดิ ชอบวชิ าโดยตรง หรอื สง่ เปน็ บนั ทกึ ขอ้ ความ/ จดหมายถงึ คณบดโี ดยตรง หรอื สง่ ขอ้ ความผา่ นทางเฟซบกุ๊ ของคณะ เปน็ ตน้ เมอื่ คณะไดร้ บั เรอ่ื ง กจ็ ะมกี ระบวนการ ในการจัดการข้อรอ้ งเรยี น และแจ้งความกา้ วหน้า/ผลการดำ�ำเนินการใหน้ กั ศกึ ษาทราบ องค์ประกอบท่ี 6 สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู้ ในการดำ�ำเนินการบริหารหลักสูตร จะต้องมีปัจจัยท่ีสำ�ำคัญอีกประการหน่ึงคือ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ความพร้อมทางศักยภาพ ความพร้อมดา้ นอปุ กรณ์ ความพรอ้ มดา้ นเทคโนโลยี ความพรอ้ มดา้ น การใหบ้ รกิ าร เชน่ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หอ้ งทำ�ำวจิ ยั อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน หอ้ งสมดุ การบรกิ ารเทคโนโลยี สารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ WIFI และอน่ื ๆ รวมทง้ั การทำ�ำนบุ ำ�ำรุงทส่ี ่งเสริมสนบั สนนุ ใหน้ ักศึกษาสามารถเรยี นรูไ้ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำ�ำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ โดยพิจารณาร่วมกับผลการประเมินความพึงพอใจของนักศกึ ษาและอาจารย์ องคป์ ระกอบดา้ นสง่ิ สนบั สนุนการเรยี นรพู้ จิ ารณาไดจ้ าก ตัวบง่ ชี้ 6.1 ส่งิ สนบั สนนุ ด้านการเรยี นรู้ ตวั บ่งชี้ 6.1 สง่ิ สนบั สนนุ ดา้ นการเรยี นรู้ ชนิดของตัวบง่ ช ้ี กระบวนการ คำ�ำอธบิ ายตวั บง่ ช ้ี ความพรอ้ มของสง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นการสอนมหี ลายประการ ไดแ้ ก่ ความพรอ้ มทางกายภาพ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ที่พักของนักศึกษา ฯลฯ และความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยี และส่ิงอำ�ำนวยความสะดวกหรือทรัพยากรท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์ การเรยี นการสอน หอ้ งสมดุ หนงั สอื ตำ�ำรา สงิ่ พมิ พ์ วารสาร ฐานขอ้ มลู เพอื่ การสบื คน้ แหลง่ เรียนรู้ สอ่ื อเิ ลค็ ทรอนิกส์ ฯลฯ ส่ิงสนบั สนุนเหล่าน้ตี ้องมีปริมาณเพียงพอ และมคี ุณภาพ พรอ้ มใชง้ าน ทนั สมยั โดยพจิ ารณาการดำ�ำเนนิ การปรบั ปรงุ พฒั นาจากผลการประเมนิ ความ พงึ พอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในการรายงานผลการดำ�ำเนนิ งานตามตวั บง่ ช้ีน ี้ ใหอ้ ธบิ ายกระบวนการหรือแสดงผลการ ดำ�ำเนนิ งานอยา่ งน้อยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี - ระบบการดำ�ำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำ�ำ หลกั สูตรเพ่อื ใหม้ ีสิง่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ - จำ�ำนวนสิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรูท้ ี่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจดั การเรียนการสอน - กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อ ส่ิงสนบั สนุนการเรยี นรู้ 57
ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำ�ำเนินงาน ทง้ั หมดทสี่ ะทอ้ นการจดั เตรยี มสง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรทู้ จ่ี ำ�ำเปน็ ตอ่ การเรยี นการสอน และสง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นสามารถ เรียนรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธผิ ล เกณฑก์ ารประเมนิ 012 3 4 5 • ไม่มีระบบ • มรี ะบบมีกลไก • มรี ะบบมกี ลไก • มีระบบมีกลไก •มรี ะบบมีกลไก •มรี ะบบ มีกลไก • ไม่มีกลไก • ไม่มกี ารน�ำ • มีการนำ�ระบบ • มีการน�ำ ระบบ •มีการน�ำ ระบบ •มีการนำ�ระบบ • ไมม่ แี นวคิดใน ระบบกลไกไปส่กู าร กลไกไปสู่การ กลไกไปสูก่ าร กลไกไปสูก่ าร กลไกไปสกู่ าร การก�ำ กับ ปฏบิ ตั ิ/ดำ�เนินงาน ปฏิบัติ/ดำ�เนนิ ปฏิบัต/ิ ดำ�เนนิ งาน ปฏบิ ตั /ิ ดำ�เนนิ ปฏบิ ตั ิ/ด�ำ เนินงาน ตดิ ตามและ งาน • มีการประเมิน งาน •มีการประเมิน ปรบั ปรงุ • มกี ารประเมนิ กระบวนการ •มกี ารประเมิน กระบวนการ • ไม่มีขอ้ มูลหลัก กระบวนการ • มกี ารปรับปรุง/ กระบวนการ •มกี ารปรับปรงุ / ฐาน • ไม่มีการ พฒั นา •มกี ารปรบั ปรุง พฒั นา ปรับปรุง/ กระบวนการ /พฒั นา กระบวนการ พัฒนา จากผลการ กระบวนการ จากผลการ กระบวนการ ประเมนิ จากผลการ ประเมิน ประเมิน •มผี ลจากการ •มีผลจากการ ปรบั ปรงุ เห็น ปรับปรุงเหน็ ชัดเจนเป็น ชดั เจนเป็น รปู ธรรม รปู ธรรม •มีแนวทางปฏัติ ทด่ี ี โดยมหี ลกั ฐาน เชงิ ประจักษ์ยนื ยัน และกรรมการ ผ้ตู รวจประเมิน สามารถใหเ้ หตุผล อธบิ ายการเป็น แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ีได้ ชัดเจน บทบาทนักศกึ ษา 1. นกั ศกึ ษาควรมสี ว่ นรว่ มในการเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ การจดั หาสง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรใู้ นเชงิ สรา้ งสรรค์ ซึ่งคณะฯ จะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นในหลายช่องทาง เช่น การประเมินผลรายวิชาจะมีการ สอบถามถงึ ทรพั ยากรในการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลแหลง่ ฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ การสมั มนาปญั หาการจดั การเรยี นการสอน เมอ่ื สน้ิ สดุ ปกี ารศกึ ษา เปน็ ตน้ นอกจากนนั้ นกั ศกึ ษา ยงั สามารถใหข้ อ้ เสนอแนะผา่ นทางอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา อาจารย์ ประจำ�ำชัน้ อาจารยผ์ ู้สอน/ผ้รู บั ผิดชอบวชิ าไดอ้ กี ดว้ ย 2. คณะจะมีการสำ�ำรวจความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อการจัดบริการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทุกปี การศกึ ษา จึงใครข่ อความร่วมมอื นักศกึ ษาในการใหข้ อ้ มูลทเี่ หมาะสมตามความเปน็ จริง 58
การประกนั คุณภาพการศึกษาในระดบั คณะ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั นักศกึ ษา และบทบาทของนักศึกษา การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดับคณะ มีทัง้ หมด 5 องค์ประกอบไดแ้ ก่ องค์ประกอบที่ 1 การผลิต บัณฑิต องคป์ ระกอบท่ี 2 การวจิ ัย องค์ประกอบที่ 3 การบรกิ ารวชิ าการ องค์ประกอบที่ 4 การทำ�ำนบุ ำ�ำรุงศลิ ปะ และวัฒนธรรม และองค์ประกอบท่ี 5 การบรหิ ารจดั การ ในท่ีน้ี จะกล่าวถงึ องคป์ ระกอบที่ 1 การผลติ บัณฑิต องค์์ประกอบที่� 1 การผลิิตบััณฑิิต พนั ธกจิ ทสี่ ำ�ำคญั ทสี่ ดุ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา คอื การผลติ บณั ฑติ หรอื การจดั การเรยี นการสอนใหผ้ เู้ รยี น มีความรู้ในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามที่หลักสูตรท่ีกำ�ำหนด การที่จะให้การเรียนการสอนได้ผลดี มปี ระสิทธภิ าพน้ัน ผสู้ อนจะต้องเตรยี มความพร้อมในการสอน และนักศกึ ษาก็ตอ้ งเตรียมความพร้อมในการเรียน และตอ้ งมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรียนการสอนด้วย ตัวบง่ ชที้ ่ี 1.5 การบรกิ ารนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ชนดิ ของตวั บง่ ช้ี กระบวนการ คำ�ำอธิบายตัวบง่ ชี้ คณะควรจัดบริการด้านต่างๆ ให้นักศึกษาและศิษย์เก่าในกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์กับ นกั ศกึ ษา เพอื่ การดำ�ำรงชวี ติ อยา่ งมคี วามสขุ และคมุ้ คา่ ในระหวา่ งการใชช้ วี ติ ในคณะ ตงั้ แตก่ ารใหค้ ำ�ำปรกึ ษา ทงั้ ดา้ น วิชาการและการใช้ชีวิต จัดบริการข้อมูลหน่วยงานท่ีให้บริการ เช่น ทุนกู้ยืมการศึกษาแหล่งทุนการศึกษาต่อ การบริการจัดหางาน แหล่งข้อมูล การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ การเตรียมความพร้อมเพื่อการทำ�ำงานเมื่อสำ�ำเร็จ การศึกษา ข้อมูลขา่ วสารความเคล่อื นไหวในและนอกสถาบันที่จำ�ำเป็นแกน่ ักศึกษาและศิษย์เกา่ โดยการให้บริการ ท้งั หมดตอ้ งให้ความสำ�ำคญั กับการบรกิ ารที่มคี ณุ ภาพและเกดิ ประโยชน์แก่ผูร้ บั บรกิ ารอยา่ งแทจ้ ริง เกณฑม์ าตรฐาน 1. จดั บรกิ ารใหค้ ำ�ำปรึกษาทางวชิ าการ และการใช้ชวี ิตแกน่ กั ศึกษาในคณะ 2. มีการให้ข้อมูลของหน่วยงานท่ีให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและ นอกเวลาแกน่ กั ศกึ ษา 3. จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพ่อื การทำ�ำงานเม่อื สำ�ำเรจ็ การศกึ ษาแกน่ ักศึกษา 4. ประเมนิ คณุ ภาพของการจดั กจิ กรรมและการจดั บรกิ ารในขอ้ 1-3 ทกุ ขอ้ ไมต่ ่�่ำำกวา่ 3.51 จากคะแนน เตม็ 5 5. นำ�ำผลการประเมินจากข้อ 4 มาปรับปรุงพัฒนาการให้บริการและการให้ข้อมูล เพื่อส่งให้ผล การประเมินสูงขึน้ หรือเป็นไปตามความคาดหวังของนกั ศึกษา 6. ใหข้ ้อมลู และความรทู้ ่ีเปน็ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี แกศ่ ิษยเ์ ก่า บทบาทนักศึกษา - คณะจะจัดอาจารย์ท่ีปรึกษาทางวิชาการและการใช้ชีวิตให้นักศึกษาทุกคน โดยอาจารย์ : นักศึกษา ประมาณ 1 : 10 – 12 นกั ศกึ ษาจะปรกึ ษาอาจารยด์ า้ นการเรยี น การลงทะเบยี น การกยู้ มื เงนิ กองทนุ เพอ่ื การศกึ ษา - การเตรยี มความพร้อมเพอ่ื การสอน เพอื่ ขน้ึ ทะเบียนประกอบวิชาชีพ นกั ศกึ ษาจะไดเ้ ข้ารว่ มโครงการ เตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื สอบใหไ้ ดต้ ามเกณฑข์ องสภาการพยาบาล นกั ศกึ ษาจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบเขา้ รบั การเตรยี มความ พรอ้ ม มฉิ ะนนั้ นกั ศกึ ษาจะไมส่ ามารถสอบผา่ นและหากสอบไมผ่ า่ นแมว้ ชิ าเดยี ว กจ็ ะไมส่ ามารถประกอบวชิ าชพี ได้ - นกั ศกึ ษาจะเปน็ ผปู้ ระเมนิ บรกิ ารตา่ งๆ ทค่ี ณะ/มหาวทิ ยาลยั จดั ให้ เพอื่ นำ�ำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ เช่น บริการห้องสมุด หอพัก การใช้ WIFI ในมหาวิทยาลัย การเข้าใช้ฐานข้อมูลต่างๆ บริการต่างๆ ท่ีคณะ/ มหาวิทยาลยั จัดให้โดยการลงทนุ ที่สูง นักศึกษาควรใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ค้มุ คา่ เพือ่ ประโยชน์ของนักศกึ ษาเอง 59
องค์ประกอบที่ 1.6 กจิ กรรมนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี ตัวบ่งชท้ี ่ี 1.6 กจิ กรรมนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ชนิดของตวั บ่งช้ี กระบวนการ คำ�ำอธบิ ายตัวบง่ ช้ี คณะตอ้ งสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมนกั ศกึ ษาตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสมและครบถว้ น กจิ กรรม นกั ศกึ ษาหมายถงึ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รทดี่ ำ�ำเนนิ การทงั้ โดยคณะและโดยองคก์ รนกั ศกึ ษา เปน็ กจิ กรรมทผ่ี เู้ ขา้ รว่ ม จะมีโอกาสไดร้ ับพฒั นาสตปิ ญั ญา สงั คม อารมณ์ ร่างกาย และคุณธรรม จรยิ ธรรม โดยสอดคล้องกบั คุณลักษณะ บณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงค์ ทป่ี ระกอบดว้ ยมาตรฐานผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ แิ หง่ ชาต ิ 5 ประการ ไดแ้ ก่ (1) คุณธรรม จรยิ ธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทางปัญญา (4) ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความ รัับผิิดชอบ (5) ทัักษะการวิิเคราะห์์เชิิงตััวเลข การสื่�อสารและการใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศและคุุณลัักษณะที่� พึึงประสงค์์ที่�คณะ สถาบััน และสภา/องค์์กรวิิชาชีพี ได้้กำหนดเพิ่�มเติมิ ตลอดจนสอดคล้้องกัับความต้้องการของ ผู้�ใช้้บัณั ฑิติ และนำหลักั PDSA/ PDCA (Plan, Do, Study/Check, Act) ไปใช้้ในชีีวิิตประจำวันั เป็็นการพัฒั นา คุุณภาพนัักศึึกษาอย่า่ งยั่�งยืนื เกณฑ์์มาตรฐาน 1. จดั ทำ�ำแผนการจดั กจิ กรรมพฒั นานกั ศกึ ษาในภาพรวมของคณะโดยใหน้ กั ศกึ ษามสี ว่ นรว่ มในการจดั ทำ�ำ แผนและการจดั กิจกรรม 2. ในแผนการจดั กจิ กรรมพฒั นานกั ศกึ ษา ใหด้ ำ�ำเนนิ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ตามมาตรฐาน ผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิแห่งชาติ 6 ประการ ใหค้ รบถ้วน ประกอบดว้ ย (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทางปญั ญา (4) ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ (5) ทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ (6) การปฏิบตั กิ ารพยาบาล 3. จัดกิจกรรมให้ความร้แู ละทักษะการประกันคณุ ภาพแก่นกั ศกึ ษา 4. ทุกกิจกรรมที่ดำ�ำเนินการ มีการประเมินผลความสำ�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมและผล การประเมินมาปรบั ปรงุ ดำ�ำเนินงานครัง้ ตอ่ ไป 5. ประเมนิ ความสำ�ำเร็จตามวตั ถุประสงค์ของแผนการจดั กิจกรรมพัฒนานกั ศกึ ษา 6. นำ�ำผลการประเมินไปรบั ปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนานกั ศกึ ษา บทบาทนกั ศกึ ษา/การมสี ว่ นร่วมกิจกรรม - คณะ/มหาวทิ ยาลยั จะจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร และบางครงั้ กจ็ ะรว่ มกบั องคก์ รนกั ศกึ ษา หรอื องคก์ ร นกั ศกึ ษาเปน็ ผ้จู ดั กจิ กรรมเอง - การจดั กจิ กรรมจะชว่ ยพฒั นาคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคท์ ม่ี ผี ลการเรยี นรู้ ครอบคลมุ ทกั ษะทงั้ 6 ประเดน็ นกั ศกึ ษาควรเขา้ ร่วมกิจกรรมทกุ คร้ัง - ในกรณที น่ี ักศกึ ษา เปน็ ผู้จดั เอง จะตอ้ งใชก้ ระบวนการ PDCA และสามารถนำ�ำไปใช้ในชวี ติ ประจำ�ำวัน - นักศกึ ษาควรเรียนรู้เร่ืองการประกนั คณุ ภาพและมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมท่ีเกย่ี วข้อง - นักศึกษาจะตอ้ งมีสว่ นร่วมในการประเมินผลกิจกรรมต่างๆ เพ่ือจะได้นำ�ำผลการประเมนิ ไปปรับปรุง ต่อไป 60
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ (Suan Dusit University Quality Assurance : SDU QA) ตััวบ่ง่ ชี้�ที่� 14 การพััฒนานัักศึกึ ษา คำ�ำอธิบาย นกั ศกึ ษา หมายถงึ นกั ศกึ ษาพยาบาลหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ทอี่ ยใู่ นสถาบนั การศกึ ษาพยาบาล ในปกี ารศกึ ษาสดุ ท้ายทีไ่ ดร้ ับการรับรอง การพฒั นานักศึกษา หมายถงึ กระบวนการและหรอื กิจกรรมของสถาบนั การศึกษาที่ส่งเสริมพัฒนาการ ของนกั ศกึ ษาใหเ้ ปน็ พลเมอื งทดี่ ขี องสงั คมและประเทศชาติ ตลอดจนมกี จิ กรรมทพ่ี ฒั นาใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ผลการเรยี น รู้และคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคต์ ามทรี่ ะบุไว้ในหลักสูตร องค์กรนักศึกษา หมายถึง องค์กรนักศึกษาท่ีมีคณะกรรมการและมีการดำ�ำเนินการกิจกรรม โครงการ ตา่ งๆ ภายใต้แผนงานพัฒนานกั ศกึ ษา เพื่อสง่ เสริมการปฏบิ ตั ิงานเปน็ ทมี ภาวะผนู้ ำ�ำและการปฏบิ ตั ิงานรว่ มกันใน สภาพจรงิ ของสงั คม นักศึกษามีส่วนรว่ มในการประกันคณุ ภาพ หมายถึงนกั ศึกษามีส่วนร่วมในการใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เก่ียว กับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน เช่น ความไม่เพียงพอของทรัพยากรการศึกษาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ เปน็ ต้น นักศึกษานำ�ำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในกิจกรรมท่ีดำ�ำเนินการโดยนักศึกษาอย่างเป็นระบบ หมายถงึ นกั ศกึ ษานำ�ำความรดู้ า้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาไปใชใ้ นการดำ�ำเนนิ กจิ กรรม/โครงการของนกั ศกึ ษา ตามวงจรคณุ ภาพ PDCA เกณฑม์ าตรฐาน มีแผนงานและโครงการพัฒนานักศึกษาท่ีส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ทุกด้านตามเกณฑ์ สกอ. และตามอัตลักษณ์ของสถาบัน โดยมีงบประมาณสนับสนุนการ พัฒนานักศกึ ษาทเ่ี พยี งพอทุกดา้ น มกี ารพัฒนานักศกึ ษาตามแผนโดยนกั ศกึ ษามีสว่ นร่วมในการพัฒนา มีองค์กรนกั ศึกษาและมีสถานทด่ี ำ�ำเนนิ กจิ กรรมเพื่อพัฒนานกั ศกึ ษา นักศึกษานำ�ำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในกิจกรรมที่ดำ�ำเนินการโดยนักศึกษาอย่างเป็นระบบ (PDCA) ผลความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรม/โครงการพฒั นานกั ศกึ ษาของนกั ศกึ ษาจำ�ำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของ กิจกรรม/โครงการ อยูใ่ นระดับคะแนนไมน่ ้อยกวา่ 3.51 จากคะแนนเตม็ 5.00 คะแนน 0 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มขี อ้ 1 มีข้อ 1 มีขอ้ 1 มคี รบทกุ ขอ้ ไม่มหี ลักฐาน มขี อ้ 1 และอีก 2 ข้อ และอีก 3 ข้อ และอกี 4 การดำ�ำเนินการ/ และอกี 1 ขอ้ ดำ�ำเนนิ การ เพียง 1 ขอ้ มกี ารประเมินแผนงานพฒั นานกั ศกึ ษาและนำ�ำผลการประเมินไปพัฒนาปรบั ปรุง เกณฑก์ ารให้คะแนน หลกั ฐานอ้างอิง แผนงาน โครงการและงบประมาณทส่ี นบั สนุนการพฒั นานักศึกษา เอกสารแสดงรายช่ือผู้ดำ�ำเนนิ งานองคก์ รนกั ศกึ ษาและแผนการดำ�ำเนนิ งาน สถานทีท่ ใี่ ชจ้ ัดกิจกรรมพัฒนานกั ศกึ ษา 61
เอกสารแสดงการนำ�ำความรดู้ ้านประกนั คณุ ภาพไปใชใ้ นกิจกรรมที่ดำ�ำเนนิ การโดยนกั ศกึ ษา รายงานผลการประเมินความพงึ พอใจของนกั ศึกษาต่อกจิ กรรม/โครงการพัฒนานักศกึ ษา รายงานผลการประเมินแผนงานและโครงการพฒั นานกั ศกึ ษาและการนำ�ำผลการประเมินไปปรบั ปรงุ ตัวบ่งชท้ี ี่ 15 ระบบการดแู ลและใหค้ ำ�ำปรกึ ษานักศึกษา คำ�ำอธิบาย ระบบการดแู ลและใหค้ ำ�ำปรกึ ษานกั ศกึ ษา หมายถงึ ระบบการดแู ลและใหค้ ำ�ำปรกึ ษาแกน่ กั ศกึ ษาทสี่ ถาบนั การศึกษากำ�ำหนดไว้ ครอบคลมุ ทัง้ ด้านวชิ าการ ด้านกิจกรรมเสริมหลักสตู ร สขุ ภาพและการดำ�ำเนนิ ชวี ิต เกณฑม์ าตรฐาน มีระบบการดแู ลและใหค้ ำ�ำปรึกษาท่นี กั ศึกษาสามารถขอคำ�ำปรึกษา/ชว่ ยเหลือไดส้ ะดวกรวดเรว็ มหี นว่ ยงาน/ผรู้ บั ผดิ ชอบชดั เจน มีแนวปฏบิ ัตกิ ารรักษาความลับข้อมูลนกั ศกึ ษา มีการรายงานความกา้ วหนา้ ผลการเรยี นร้ขู องนักศกึ ษาและการพฒั นานกั ศกึ ษาตามประเด็น/ปัญหา ความต้องการของนักศึกษา (ถ้านักศึกษามีปญั หา) ตอ่ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาทุกภาคการศึกษา มีระบบรับเรอื่ งอุทธรณ์และร้องเรยี นจากนักศึกษา เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คะแนน 0 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ไมม่ ีการดำ�ำเนินการ มี 1 ขอ้ มี 2 ข้อ มี 3 ข้อ มี 4 ขอ้ มีครบทกุ ข้อ หลักฐานอ้างองิ เอกสาร/หลักฐานทีแ่ สดงระบบการดูแล การใหค้ ำ�ำปรกึ ษาและวิธกี ารเข้าถงึ ของนกั ศึกษา เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงผูร้ บั ผดิ ชอบดูแลและให้คำ�ำปรกึ ษาพร้อมระบหุ น้าที่รับผดิ ชอบ เอกสารแสดงการพฒั นานักศึกษาตามประเดน็ /ปญั หา/ความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา เอกสารแสดงแนวปฏบิ ัตใิ นการรักษาความลบั นกั ศกึ ษา เอกสาร/หลักฐานที่แสดงการรายงานความกา้ วหน้าผลการเรยี นรูข้ องนักศึกษาตอ่ อาจารย์ที่ปรึกษา ระเบียบ ประกาศหรอื เอกสารท่ีแสดงระบบการรับเรอ่ื งอทุ ธรณ์ รอ้ งทกุ ขข์ องนักศกึ ษา ผลการสัมภาษณน์ กั ศึกษาและผ้เู กีย่ วข้อง 62
ภาคผนวก Suan Dusit
เครอ่ื งแบบการปฏิบตั กิ ารพยาบาล 1. เครื่องแบบที่ใช้ในการศึกษาการปฏิบัติการพยาบาลในโรงพยาบาลประกอบด้วยเคร่ืองแบบสำ�หรับ นกั ศึกษาหญงิ และเครอื่ งแบบสำ�หรับนักศกึ ษาชาย 1.1 เครื่องแบบสำ�หรบั นักศึกษาหญงิ มีรปู แบบดงั น้ี 1.1.1 ชนดิ ของผา้ เปน็ ผ้าสขี าวเนื้อเรยี บ 1.1.2 แบบชุด เปน็ ชดุ ตดิ กนั ตดั ด้วยผ้าสขี าว และมีลักษณะดังนี้ - เสอ้ื : ปกคอบวั ปลายมนปา้ ยดา้ นซา้ ย ตดิ กระดมุ ของ มหาวทิ ยาลยั 4 เม็ด ตวั เสื้อ จบี ปลอ่ ยข้างละ 2 จีบ ท้งั ดา้ นหนา้ และดา้ นหลัง แขนส้ันพับ ออกดา้ นนอก ปลายแหลม ปักชื่อเหนอื อกด้านขวา สนี �ำ้ เงิน ด้านหลงั บ่าหลัง โคง้ เล็กนอ้ ย - เข็มขัด : ใช้ผา้ ชนิดเดียวกัน กว้าง 3 ซม. เย็บตดิ ตัวเส้ือดา้ นหลัง ปลายบนทับซา้ ย ตดิ กระดมุ มหาวทิ ยาลยั 1 เม็ด - กระโปรง : เปน็ กระโปรงจีบทวสิ 2 ข้าง ทัง้ ดา้ นหน้าและดา้ นหลงั มกี ระเป๋าดา้ นข้างสะโพก ความยาวคลมุ เขา่ ประมาณ 2 นวิ้ , ถุงเทา้ สีขาวคลุม เหนอื ข้อเท้า - หมวก : การแตง่ เครอื่ งแบบในภาคปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในโรงพยาบาล ของนกั ศึกษา จะตอ้ งสวมหมวกพยาบาลซึ่งเปน็ ผลิตภัณฑ์ทำ�ดว้ ยผา้ แข็งคงรูป สีขาวตามแบบที่คณะพยาบาลศาสตรก์ �ำ หนด - รองเทา้ และถงุ เทา้ : ใชร้ องเทา้ หมุ้ สน้ สขี าว แบบเรยี บสภุ าพความสงู ไมเ่ กนิ 2 นว้ิ 1.2 เครื่องแบบสำ�หรับนักศกึ ษาชาย มีรูปแบบดังน้ี 1.2.1 ชนดิ ของผ้า เป็นผ้าสขี าวเน้ือเรยี บ 1.2.2 แบบชดุ - เสื้อ : เสอ้ื เชิต้ ต่อบ่าหนา้ และดา้ นหลงั มกี ระเป๋าบนด้านหน้าอก ซ้าย 1 ใบปักตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย มีกระเป๋าล่าง 2 ใบ เดินขอบ กระเป๋าด้านบน และตรงกลางกระเป๋า เดินสาบด้านหน้ากว้าง 3 ซม. ตดิ กระดมุ มหาวิทยาลยั 4 เมด็ ปักชือ่ เหนืออกดา้ นซา้ ยสีนำ้�เงนิ ด้านหลัง ตวั เสื้อ มีจบี 4 จบี และสายคาด ทบั บนจบี ตรงสว่ นเอว - กางเกง : ทรงขาตรง มจี ีบด้านหนา้ ข้างละ 1 จบี - รองเทา้ และถงุ เท้า : ใช้ร้องเทา้ ห้มุ ส้นสีดำ� ถงุ เท้าขาว 64
2. เคร่ืองแบบทใี่ ช้ในภาคปฏบิ ตั ิการพยาบาลชุมชนส�ำ หรับนกั ศกึ ษาหญิงและนักศึกษาชาย 2.1 ชนิดของผา้ เปน็ ผ้าสฟี า้ อ่อน เน้ือเรียบ ลายทางสีเดยี วกับผา้ 2.2 แบบชุดนักศึกษาหญิง เส้ือคอปกเช้ิต ต่อบ่าหน้าและหลัง มีกระเปา๋ บนอกด้านซา้ ย 1 ใบ ปักตราสัญลักษณ์ มหาวทิ ยาลยั กระเป๋าล่าง 2 ใบ เดินขอบกระเป๋าด้านบนและจับจีบทวิส ด้านในตรงกลางกระเป๋า เดินสาบด้านหน้ากว้าง 3 ซม. ตดิ กระดุมมหาวทิ ยาลยั 4 เมด็ ปักช่ือเหนอื อกดา้ นซา้ ยสนี ้�ำ เงนิ ด้านหลังตัวเส้อื มจี ีบ 4 จบี และสายคาด ทบั บนจบี ต�ำ แหนง่ เอว ปลายแขนเฉลยี งแหลม บา่ หลงั ต่อแหลม กางเกงส�ำ หรบั นักศกึ ษาหญงิ เปน็ กางเกงทรงตรงมีจีบเฉพาะ ด้านหนา้ ขา้ งละ 2 จบี ซิปซ่อนในกระเป๋า 2.3 แบบชุดนกั ศกึ ษาชาย เสื้อคอปกเชต้ิ ตอ่ บา่ หน้าและด้านหลัง มกี ระเปา๋ บนดา้ นหนา้ อกซา้ ย 1 ใบปกั ตราสญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั มีกระเป๋าลา่ ง 2 ใบ เดินขอบกระเป๋าดา้ นบนและจับจบี ทวสิ ดา้ นในตรงกลางกระเปา๋ เดนิ สาบดา้ นหนา้ กวา้ ง 3 ซม. ตดิ กระดมุ มหาวทิ ยาลยั 4 เมด็ ปกั ชอ่ื เหนอื อกดา้ นซา้ ยสนี �้ำ เงนิ ดา้ นหลงั ตวั เสอ้ื มจี บี 4 จบี และสายคาดทบั บนจบี ปลายแขนเฉลยี งแหลม บ่าหลังต่อแหลม กางเกงสำ�หรับนักศึกษาชาย เป็นกางเกงทรงตรงมีจีบข้างละ 1 จีบ ซบิ หน้า กระเปา๋ ซ่อนที่ตะเขบ็ ข้าง 3. เครอ่ื งแบบใช้ในการศกึ ษาภาคปฏบิ ตั ทิ างการพยาบาลในหน่วยงานเฉพาะ เชน่ ห้องคลอด,ห้องผา่ ตัด ฯลฯ 3.1 ชนดิ ของผ้า เปน็ ผา้ สีสม้ โอรส เน้ือเรยี บไม่มลี วดลาย 3.2 แบบชุดนักศึกษาหญิง เป็นชุดกระโปรงทรงตรง คอกลม ติดซิบด้านหน้า ต้ังแต่คอจนถึงเอว จำ้�เอวและมีเชือกผูก มกี ระเปา๋ 2 ใบ ปักชื่อเหนืออกซา้ ยสีชมพูเขม้ 3.3 แบบชุดสำ�หรับนักศึกษาชาย เป็นเสื้อคอกลมติดกระดุม 2 เมด็ ดา้ นขวาบ่าหน้า บา่ เปดิ ได้เพอื่ สวมศรี ษะ ติดกระเปา๋ บนด้านซ้ายเย็บขอบบนกระเป๋า 1 ใบ และติดกระเป๋าล่าง 2 ใบ แขนส้ันมีขอบปลายแขนปักช่ือเหนืออกซ้ายสีส้มโอรส ใสก่ างเกงขายาว ผา้ แบบเดยี วกบั ตวั เสอื้ ทรงตรงเอวใสย่ างยดื กระเป๋าซ่อนท่ีตะเข็บข้าง 3.4 หมวก การแต่งกายในหน่วยงานเฉพาะให้สวมหมวกผ้า สโี อรสเนอ้ื เดยี วกบั แบบชดุ มเี ชอื กผกู ดา้ นหลงั ทรงตามแบบที่ คณะพยาบาลศาสตรก์ �ำ หนด 65
หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป Suan Dusit
หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 การจดั การเรยี นการสอน หลกั สตู รหมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป มจี �ำ นวน 10 รายวชิ า มลี กั ษณะเปน็ รายวชิ าบรู ณาการขา้ มศาสตร์ 4 กลมุ่ วชิ า ไดแ้ ก่ กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ กลมุ่ วชิ าภาษา และกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรก์ บั คณติ ศาสตร์ โดยก�ำ หนดใหเ้ รยี น ไมน่ ้อยกวา่ 30 หนว่ ยกิต ดงั นี้ 1500202 ความเปน็ สวนดุสติ 3(2-2-5) (Suan Dusit Spirit) 3(2-2-5) 1500122 ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทย 3(2-2-5) (Thai Language Communication Skills) 3(2-2-5) 1500123 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั วิถีชีวติ สมยั ใหม ่ 3(3-0-6) (English for Modern Lifestyle) 3(2-2-5) 1500124 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สารสากล 3(3-0-6) (English for International Communication) 3(2-2-5) 2500118 อาหารการกิน 3(2-2-5) (Food for Life) 3(2-2-5) 2500119 วถิ ชี ีวติ ตามแนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียน (Lifestyle for Circular Economy) 2500120 คุณคา่ ของความสุข (Values of Happiness) 2500121 พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก (Thai and Global Citizens) 4000114 จุดประกายความคดิ เชงิ ธรุ กจิ (Business Thinking Inspiration) 4000115 การใชช้ ีวติ ในยุคดจิ ทิ ลั (Living in the Digital Era) 67
คำ�อธบิ ายรายวชิ าหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 1500202 ความเป็นสวนดุสติ 3(2-2-5) (Suan Dusit Spirit) ความเปน็ มาของสวนดสุ ติ ความเขา้ ใจอตั ลกั ษณแ์ ละความเชย่ี วชาญขององคก์ ร การสรา้ งจติ วญิ ญาณ ความเป็นสวนดุสิต การพัฒนาบุคลิกภาพและความเป็นสากลแบบสวนดุสิต ความเคารพตนเองและผู้อ่ืน ความ เขา้ ใจตนเองและการพฒั นาศกั ยภาพแหง่ ตนบนพน้ื ฐานความเปน็ สวนดสุ ติ การท�ำ งานบนรากฐานแหง่ ความประณตี รู้จรงิ ในส่ิงที่ท�ำ รักและศรัทธาในมหาวิทยาลัย History of Suan Dusit; understanding of organizational identities and expertise; building up Suan Dusit spirit; personality development and internationalization following Suan Dusit characters; self-respect and mutual respect; understanding and capability development of oneself based upon Suan Dusit spirit; work with refinement, thoroughness, passion and faith in the university 1500122 ทกั ษะการสือ่ สารภาษาไทย 3(2-2-5) (Thai Language Communication Skills) องคป์ ระกอบและกระบวนการสอ่ื สาร ภาษาไทยในสื่อ ภาษาและการสอื่ สารในสังคม การฝึกทักษะ การฟัง พดู อา่ น เขียนภาษาไทยในบริบทตา่ ง ๆ เทคนิคการเขียนภาษาไทยตามวตั ถปุ ระสงค์การใช้งาน Communication elements and process; Thai language in media; language and communication in society; listening, speaking, reading and writing skills practice in various contexts; techniques of writing Thai for specific purposes 1500123 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั วิถีชีวิตสมัยใหม่ 3(2-2-5) (English for Modern Lifestyle) ไวยากรณ์และคำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษระดับต้นที่ใช้ในวิถีชีวิตสมัยใหม่ การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารในวิถีชีวิตสมัยใหม่ การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำ�หรับวิถีชีวิต สมยั ใหม่โดยเนน้ การใชง้ านโปรแกรมภาษาองั กฤษ English Discoveries Basic English grammar and vocabulary used in modern lifestyle; English skills practice: listening, speaking, reading, and writing for communication in modern lifestyle; using technology to develop English skills for modern lifestyle by focusing on English Discoveries multimedia program 1500124 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสารสากล 3(2-2-5) (English for International Communication) ไวยากรณแ์ ละค�ำ ศพั ทภ์ าษาองั กฤษระดบั กลางเพอ่ื การสอ่ื สารสากล การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ ดา้ นการฟงั พดู อา่ น และเขยี นในระดบั กลาง เทคนคิ การฟงั และการอา่ นเพอื่ การท�ำ แบบทดสอบภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสารสากล การฝกึ ปฏบิ ัติดว้ ยแบบทดสอบสอบภาษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สารสากล Intermediate English grammar and vocabulary for international communication; English skills practice: listening, speaking, reading, and writing at an intermediate level; listening and reading techniques for taking an English for international communication test; practicing English for international communication tests 68
2500118 อาหารการกนิ 3(3-0-6) (Food for Life) ความรู้เก่ียวกับอาหารในชีว วัตถุดิบ และส่วนประกอบในอาหาร การจัดการและการเก็บรักษา อาหาร การใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการปรงุ ประกอบและอนุ่ อาหาร งานครวั เบอ้ื งตน้ ในทพ่ี กั อาศยั ประเภทอาหาร เครอ่ื งดม่ื โภชนาการและการออกแบบรายการอาหาร วัฒนธรรมการรับประทานอาหารตามแบบไทยและแบบสากล ความปลอดภัยอาหารและสขุ าภบิ าล กฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง และอาหารการกนิ ในปัจจบุ ัน Knowledge of food in daily life; raw materials and ingredients in food; food preparation and preservation; tools and equipment for cooking and reheating; basic kitchen work for household; food types; drinks; nutrition and food listing; Thai and international dining etiquette; food safety and sanitation; relevant regulations; current food trends 2500119 วิถีชวี ติ ตามแนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน 3(2-2-5) (Lifestyle for Circular Economy) ความรู้พื้นฐานเร่ืองส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศ ภูมิอากาศและสภาวะด้านอากาศ ภาวะวิกฤติของ ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม การเรยี นรู้เพอ่ื อยู่กบั ธรรมชาติ การคดิ เชงิ วเิ คราะห์ โดยตลอดวัฏจักร ชีวิต ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) เศรษฐกิจหมุนเวียน ความตระหนักและแรง ผลักดันสู่พลเมืองสีเขียวและวิถีชีวิตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน เขตทางทะเลไทยกับการจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง่ั ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวียน กรณีศึกษา Basic Knowledge of environment and ecosystem; Climate and climate change; natural resources and environment crises; learning how to live with nature; analytical thinking throughout a life cycle; general knowledge about Sustainable Development Goals; circular economy; awareness and drive for becoming a green citizen, and lifestyle into the circular economy; The maritime zone of Thailand and the marine and coastal resource management according to the circular economy concept; case studies 2500120 คุณค่าของความสุข 3(3-0-6) (Values of Happiness) ความสขุ การจดั การทางอารมณ์ เทคนคิ การสรา้ งความสขุ เทคนคิ การสรา้ งสมั พนั ธภาพอยา่ งยงั่ ยนื ศลิ ปะการใชช้ วี ติ ดว้ ยตนเอง ศลิ ปะการอยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื สนุ ทรยี ภาพและการใชช้ ีวติ เพอื่ ความสขุ การพัฒนากรอบ ความคิดเชิงวิพากษ์ คดิ วิเคราะห์ และคดิ สรา้ งสรรค์ เพื่อเสรมิ พลงั อ�ำ นาจตนและใหค้ ุณคา่ กบั ความสุข Happiness; emotional management; techniques to increase happiness; techniques to build long-lasting relationship; the art of living by oneself; the art of living with others; aesthetic and happiness living; thinking development based on critical thinking, analytical thinking, and creative thinking, to empower oneself and value happiness 69
2500121 พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก 3(2-2-5) (Thai and Global Citizens) สงั คมอารยชนในศตวรรษที่ 21 พลเมอื งแหง่ โลกไรพ้ รมแดน ความเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก การเคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรม สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคและหน้าที่ของประชาชนตามระบอบ การเมอื งการปกครองของรฐั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม การปกปอ้ งผลประโยชนส์ าธารณะ จติ สาธารณะ ธรรมาภบิ าลภาคปฏบิ ตั ิ การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ กฎหมายพน้ื ฐานในการด�ำ รงชวี ติ ตลอดจนการเรยี นรผู้ า่ นกรณศี กึ ษา Civilized societies in the 21st century; citizenship of the borderless world; Thai and global citizenship; respect of cultural diversity; rights, liberty, equality, and duties of citizens of the governing states; self-responsibility and social responsibility; protection of the public interests; public volunteerism; good governance in practice; anti-corruption; basic laws for life, and learning through case studies 4000114 จดุ ประกายความคดิ เชงิ ธรุ กจิ 3(2-2-5) (Business Thinking Inspiration) ความสำ�คัญของระบบเศรษฐกิจท่ีมีต่อการใช้ชีวิตและการสร้างอาชีพ การเป็นผู้ประกอบการในยุค เศรษฐกิจแบบอาชพี อิสระ การแสวงหาโอกาสทางธรุ กจิ ภาวะผนู้ ำ�และการท�ำ งานเปน็ ทมี จติ บริการ การบริหาร เวลา การบริหารจัดการเงิน สุขภาวะทางการเงิน ความเส่ียงและการบริหารความเส่ียง เทคนิคการสร้างสรรค์ คอนเทนตแ์ ละสื่อ เทคนิคการสอ่ื สารทางการตลาด ภาษี และกฎหมายธุรกิจ The importance of an economic system to living and job creation; entrepreneurship in Gig economy; discovering business opportunities; leadership and teamworking; service mind; time management; financial management; financial health; risks and risk management; media and contents creation techniques; marketing communication techniques; taxes; and business law 4000115 การใชช้ วี ติ ในยุคดจิ ิทลั 3(2-2-5) (Living in the Digital Era) เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในชวี ติ ประจ�ำ วนั การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และเทคโนโลยกี ารเงนิ ความรบั ผดิ ชอบ ตอ่ การกระท�ำ ทางดิจทิ ัล และทกั ษะความเปน็ พลเมอื งดิจิทัล Digital technology in daily life; digital and financial technology application; digital responsibility; and digital citizenship skills 70
หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2566 การจดั การเรยี นการสอน หลักสตู รหมวดการศึกษาทวั่ ไป มีจ�ำ นวน 8 รายวิชา มีลกั ษณะเป็นรายวิชาบรู ณาการขา้ มศาสตร์ 4 กลุม่ วชิ า ไดแ้ กก่ ลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ กลมุ่ วชิ าภาษา และกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรก์ บั คณติ ศาสตร์ โดยก�ำ หนด ใหเ้ รียนไมน่ ้อยกวา่ 24 หน่วยกติ ดังน้ี 1500125 ภาษาองั กฤษเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต 3(3-0-6) English for Lifelong Learning 3(3-0-6) 1500126 ภาษาองั กฤษในสังคมนานาชาต ิ 3(3-0-6) English in International Society 3(3-0-6) 1500127 ทักษะการสือ่ สารภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Communication Skills 3(3-0-6) 1500203 ความเป็นสวนดุสิต 3(3-0-6) Suan Dusit Spirit 3(3-0-6) 4000116 วทิ ยาศาสตร์ในชวี ิตประจ�ำ วัน Science in Everyday Life 4000117 คณิตศาสตรใ์ นชวี ิตประจำ�วัน Mathematics in Everyday Life 4000118 เทคโนโลยีดจิ ิทลั ในชีวิตประจ�ำ วัน Digital Technology in Everyday Life 2500122 พลเมอื งไทยในศตวรรษท่ี 21 Thai Citizens in the 21st Century 71
คำ�อธบิ ายรายวชิ าหมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2566 1500125 ภาษาอังกฤษเพ่อื การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต 3(3-0-6) English for Lifelong Learning ความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษข้ันต้น คำ�ศัพท์และวลีเพ่ือการเรียนรู้ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยว กบั การใชป้ ระโยคเงือ่ นไข การใช้ present tenses, past tenses, modal verbs, future tenses, prefix และ suffix การคาดเดาอนาคตจากการฟงั และการอา่ น การหาตวั อยา่ งจากการฟงั และการอา่ น กลยทุ ธก์ ารอา่ นเพอื่ หา ใจความสำ�คัญ หาคำ�เชื่อม หาสาเหตุและผล หารายละเอียดสำ�คัญ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ความรู้ ความเข้าใจลักษณะของแบบทดสอบภาษาอังกฤษ TOEIC และการฝกึ ปฏบิ ัติ Basic English grammar knowledge; words and phrases for learning; knowledge and understanding of using conditional sentences; using present tenses, past tenses, modal verbs, future tenses, prefix and suffix; making predictions from listening and reading; identifying examples from listening and reading; reading techniques for identifying the main idea, linking words, cause and effect, important details; English skills development; knowledge and understanding of characteristics of the Test of English for International Communication – TOEIC; and practice 1500126 ภาษาอังกฤษในสงั คมนานาชาติ 3(3-0-6) English in International Society ความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษขนั้ กลาง ค�ำ ศพั ทแ์ ละวลเี พอื่ การสอื่ สารในสงั คมนานาชาติ ความ รู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการใช้ perfect simple tenses, present simple tense, past simple, future simple, passive voice และการใช้กริยาชว่ ยส�ำ หรบั การอนญุ าต ความเปน็ ไปได้ การหา้ ม การเสนอแนะและความหมาย ในกาลอนาคต กลยุทธ์ในการฟงั และการอา่ นเพ่ือความเข้าใจ การอนมุ านเพ่อื เขา้ ใจเนื้อหา กลยุทธ์การอ่านเพ่ือ หาข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็น หาและใช้คำ�เชอื่ ม หาใจความสนับสนนุ การอนมุ าน เทคนคิ การอา่ นแบบ skimming และ scanning การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรแู้ ละทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารในสงั คมนานาชาติ และการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ด้วยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ TOEIC Intermediate English grammar knowledge; words and phrases for communication in an international society; knowledge and understanding of using perfect simple tenses, present simple, past simple, future simple, passive voice, and modal verbs regarding permission, possibility, prohibition, make suggestions, and future meaning; listening and reading comprehension strategies; using inference to understand a text; reading strategies for identifying facts and opinions, identifying and using cohesive markers, identifying supporting details; making inferences; skimming and scanning techniques for reading; applying English knowledge and skills for communication in an international society; and practice with the Test of English for International Communication – TOEIC 1500127 ทกั ษะการสอื่ สารภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Communication Skills องค์ประกอบและกระบวนการส่ือสาร จิตวิทยาการส่ือสาร พ้ืนฐานการใช้ภาษาไทย การใช้คำ� การฟัง การอ่านย่อความและสรุปความ การดูและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การเขียนทางการและสร้างสรรค์ การพดู เล่าเรื่องและน�ำ เสนอสนิ คา้ การสือ่ สารภาษาไทยในสอ่ื สังคมออนไลน์ การฝึกฝนทักษะการส่อื สารในชวี ิต ประจำ�วัน การฟัง คดิ พูด อ่าน เขียนภาษาไทย Communication elements and process; communication psychology; basic usage of Thai language: words, listening, reading and summarizing, critical viewing and thinking, formal writing and creative writing; storytelling and product presentation; communicating Thai language on social media; practicing communication skills in everyday life: listening, thinking, speaking, reading and writing Thai language 72
1500203 ความเปน็ สวนดสุ ิต 3(3-0-6) Suan Dusit Spirit เรียนรู้วัฒนธรรมสวนดุสิต บุคลิกภาพ กิริยามารยาท การปรับตัว ศิลปะการใช้ชีวิตด้วยตนเอง การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต การอย่รู ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสังคม วัฒนธรรมการรับประทานอาหาร การด�ำ รงตนตามวตั รปฏบิ ตั ิ ที่ดตี ามแบบสวนดุสติ อย่างมีความสขุ Learning Suan Dusit culture, personality, etiquette, adaptation; the art of self-living; lifelong learning; living with others in a society; dining etiquette; living along with Suan Dusit good practices and happiness 4000116 วทิ ยาศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั 3(3-0-6) Science in Everyday Life ความสำ�คัญของวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน การใช้ทรัพยากรและการควบคุมมลภาวะเพ่ือความ ปลอดภัยในชีวิตประจำ�วัน พลังงานและพลังงานทางเลือกในอนาคต สภาวะภูมิอากาศกับการใช้ชีวิตในการปรับ ตัวและการแก้ไขปัญหา วิทยาศาสตร์เพื่อการดูแลสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีในชีวิตวิถีใหม่ การพัฒนาท่ีย่ังยืน เพอื่ การเป็นพลเมืองสเี ขยี วที่อยรู่ ่วมกนั อย่างยงั่ ยืน กรณศี กึ ษา Importance of science in everyday life; utilizing resources and pollution control for safety in everyday life; energy and alternative energy in the future; climate and living in respect of adaptation and problem-solving; science for health care and wellness in the new normal; sustainable development for being green citizenship; case studies 4000117 คณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจำ�วัน 3(3-0-6) Mathematics in Everyday Life ความสำ�คัญของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน การคิดและการให้เหตุผล การออกแบบความคิด การแก้ปัญหา คณติ ศาสตรเ์ พอ่ื การอาหาร การทอ่ งเที่ยวและการเดนิ ทาง เกมและกีฬา การเสี่ยงโชค การทำ�โพล การเงนิ และการลงทุน สถติ ิเพื่อการพยากรณ์ Importance of mathematics in everyday life; thinking and reasoning; design thinking; problem-solving; mathematics in food, tourism and travelling, games and sports, gambling, polling, finance and investment; statistics for forecasting 4000118 เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในชวี ติ ประจำ�วัน 3(3-0-6) Digital Technology in Everyday Life เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในชีวิตประจำ�วัน การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และความปลอดภยั ยคุ ดจิ ทิ ลั การใชข้ อ้ มลู อยา่ งสรา้ งสรรค์ ทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั และความเปน็ พลเมอื ง ดิจิทัล Digital technology for learning in Suan Dusit University; using digital technology in everyday life; media literacy and safety in the digital era; data-driven creativity; digital skills, and digital citizenship 2500122 พลเมอื งไทยในศตวรรษท่ี 21 3(3-0-6) Thai Citizens in the 21st Century พลเมืองไทยยคุ ใหม่ในทศิ ทางยทุ ธศาสตร์ชาติ หน้าที่ วินัยพลเมอื ง คณุ ธรรมจริยธรรมในการดำ�รง ชีวิตตามวถิ ีไทย สงั คมสมานฉนั ท์ การอยูร่ ่วมกันในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม กฎหมายในชวี ติ ประจำ�วนั กระบวนการ ยุติธรรม สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค ธรรมาภิบาลและการต่อต้านการทุจริต สังคมเคารพกฎหมาย ความ รับผดิ ชอบต่อสังคมและจติ อาสา Thai citizens in a modern time in respect of the national strategy; duty, discipline, morality and ethics for living with a Thai way of life; social harmony; living in multicultural societies; laws in everyday life; judicial process; human rights; equality; good governance and anti-corruption; law abiding society; social responsibility and volunteering 73
ที่ปรึกษา รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพนั ธิน จดั ท�ำ ต้นฉบบั / คณะพยาบาลศาสตร์ ดร.สวุ มาลย์ มว่ งประเสรฐิ ตรวจตน้ ฉบับ ส�ำ นกั สง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน ผศ.ดร.ศรสี ุดา วงศ์วเิ ศษกลุ ศนู ยบ์ รกิ ารสื่อและส่ิงพิมพ์กราฟฟิคไซท์ แสงจำ�นงค์ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต บรรณาธิการ ผศ.ดร.องั ค์รสิ า จนั ทรกลู ศลิ ปกรรม ศนู ยบ์ รกิ ารสือ่ และส่ิงพิมพ์กราฟฟคิ ไซท์ 74 นางสาวจิตราพร เลก็ กระจ่าง ปที ่พี มิ พ ์ 2566 นางสาวธนิดา
Search