สารอธกิ ารบดี คมู่ อื นกั ศกึ ษานบั วา่ เปน็ สงิ่ สำ� คญั และจำ� เปน็ สำ� หรบั นกั ศกึ ษาใหมท่ ่ี เขา้ ศกึ ษาในแต่ละปกี ารศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นข้อมลู และแนวปฏบิ ตั ใิ นการศกึ ษา ของมหาวิทยาลัยท่ีนักศึกษาพึงรู้ ท้ังข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และ แนวปฏิบัติของนักศึกษา นอกจากน้ียังเป็นส่วนท่ีนักศึกษาจะได้รู้จักกับ มหาวิทยาลัยในความเป็นมา และรายละเอียดของงานบริการต่างๆ ที่ นกั ศึกษาจะได้รบั ตลอดช่วงเวลาทนี่ กั ศึกษาได้ใช้ชวี ติ อยใู่ นมหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มคี วามมงุ่ มนั่ ทจ่ี ะพฒั นา และสรา้ งสรรคอ์ งคป์ ระกอบ ด้านต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์มากท่ีสุด รวมทงั้ การสรา้ งความภาคภมู ใิ จใหก้ บั นกั ศกึ ษาทไี่ ดเ้ ขา้ ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั สวนดุสิตนี้ ประโยชน์ของคู่มือนักศึกษาเล่มนี้จะมีมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่ กับนักศึกษาท่ีศึกษาเรียนรู้และใช้ประโยชน์ให้กับตนเองหากนักศึกษาใช้ให้ เปน็ ประโยชนก์ จ็ ะมคี ุณคา่ มากข้นึ (รองศาสตราจารย์ ดร.ศโิ รจน์ ผลพันธนิ ) รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 1
2 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
คมู่ ือนกั ศึกษา ปีการศึกษา 2563 สารอธกิ ารบดี 1 ส่วนที่ 1 แนะน�ำ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ 5 ■ เกี่ยวกบั มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ 7 ■ ปรัชญา 7 ■ วิสัยทศั น ์ 7 ■ พันธกจิ 7 ■ ตรามหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ 8 ■ สีประจำ� มหาวิทยาลยั สวนดุสิต 8 ■ ดอกไม้ประจ�ำมหาวิทยาลัย 8 ■ เพลงประจ�ำมหาวิทยาลยั เพลงมารช์ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 9 ■ ค่านิยมรว่ ม 10 ■ สมรรถนะหลกั 10 ■ เป้าหมายเชงิ นโยบาย 10 ■ ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยสวนดุสติ 10 ■ สถานทส่ี ำ� คัญในมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต 11 l ศาลพ่อปูช่ ยั มงคล 11 l ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม 11 l สวนดสุ ิตโพล 13 l อาคารรกั ตะกนิษฐ 13 l โรงแรมสวนดุสติ เพลส 13 l โฮมเบเกอรี่ 14 l โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ 14 l ศนู ยพ์ ฒั นาทุนมนุษย ์ 14 ■ พนื้ ทจ่ี ดั การศึกษาของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 15 l ศูนย์วิทยาศาสตร์ (ถนนสิรนิ ธร) 15 l บณั ฑิตวทิ ยาลัย (แยกสวนร่ืนฤด)ี 15 ■ วทิ ยาเขตและศนู ย์การศกึ ษานอกที่ต้ัง 17 l วิทยาเขตสพุ รรณบุร ี 17 l ศนู ย์การศึกษานอกที่ต้ัง ตรัง 18 l ศูนยก์ ารศึกษานอกทีต่ ง้ั นครนายก 19 l ศูนย์การศกึ ษานอกที่ตั้ง ลำ� ปาง 20 l ศูนย์การศึกษานอกท่ตี ง้ั หวั หนิ 21 ส่วนที่ 2 แนะนำ�สถานที่/หน่วยงานทส่ี �ำ คัญของมหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 23 2.1 ส�ำนักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น 24 2.2 สำ� นักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 40 2.3 สถาบนั ภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม 48 2.4 กองพัฒนานกั ศึกษา 52 2.5 ศนู ย์สนเทศแนะแนวการศกึ ษาและอาชีพ 61 2.6 คณะ/ โรงเรยี น และหลกั สูตรทจ่ี ดั การศึกษา 63 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 3
4 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ส่วนที่ 1 แนะน�ำ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 5
6 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
เกีย่ วกับมหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ พระราชบัญญตั ิ มหาวิทยาพลรัยะสรวานชดบุสญั ิตญพัต.ศิ . ๒๕๕๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต วันที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๘ มผี ลบงั คบั ใชต้งั แตวันท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ิต จงึ เปลี่ยนสถานะเปน ใหไ ว ณ วันท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ มหาวทิ ยาลยั ในกำกับของรฐั โดยใชชื่อวา เปน ปที่ ๗๐ ในรัชกาลปจจุบัน “มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 เป็นมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ตามพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยสวนดุสติ พ.ศ. 2558 ซง่ึ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาในวนั ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และมผี ลบงั คบั ใชเ้ มอื่ วนั ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 มฐี านะเปน็ หนว่ ยงานในกำ� กบั ของรฐั ภายในการกำ� กบั ดแู ลของรฐั มนตรี วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย ในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 อันถือเปน็ สริ มิ งคลย่ิงแก่มหาวทิ ยาลัย สภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งท่ี 1/2558 เม่ือวนั ที่ 24 กรกฎาคม 2558 จงึ กำ� หนดใหว้ นั ดงั กลา่ ว คอื วนั ท่ี 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เปน็ วนั เกดิ ของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ สำ� หรบั การเปลยี่ นแปลง สถานะในครัง้ น้ี มหาวิทยาลยั สวนดุสิตไมถ่ ือเป็นส่วนราชการ และไม่เป็นรฐั วสิ าหกจิ แตเ่ ป็นหนว่ ยงานของรฐั ทีอ่ ยภู่ ายใต้ การก�ำกับของรัฐ ท�ำให้มหาวิทยาลัยสามารถก�ำหนดหรือออกรูปแบบการบริหารจัดการด้วยตนเองได้อย่างมีอิสระและ ความคลอ่ งตวั ในการบรหิ ารจดั การมากยง่ิ ขน้ึ ทัง้ การบริหารงานท่ัวไป การบรหิ ารจัดการงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานวิชาการ โดยมหาวิทยาลัยยงั คงมีภารกิจของสถาบนั อุดมศึกษาตามเดมิ ปรัชญา มหาวิทยาลัยที่สามารถสร้างความเข้มแข็งในการอยู่รอดได้อย่างย่ังยืน บนพ้ืนฐานของการจัดการคุณภาพ (Sustainable Survivability Based on Quality Management) วสิ ยั ทัศน์ มหาวทิ ยาลัยเฉพาะทางท่ีมีอตั ลักษณโ์ ดดเด่นด้านอาหาร การศึกษาปฐมวัย อตุ สาหกรรมบรกิ าร และการพยาบาล และสุขภาวะ ภายใตก้ ระบวนการพัฒนาเพ่อื ความเปน็ เลศิ บนพน้ื ฐานของการจดั การคณุ ภาพ พันธกจิ 1. การผลิตบณั ฑิต 2. การพฒั นานวตั กรรมและงานวิจัย 3. การทำ� นุบ�ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม 4. การบรกิ ารวิชาการ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 7
ตรามหาวิทยาลยั สวนดุสติ มลี กั ษณะ 2 แบบ คอื 1. เป็นวงรีรปู ไข่ 2 วงซอ้ นกนั วงรดี า้ นนอกใช้สีทอง ด้านบนมขี ้อความเป็นภาษาไทย วา่ “มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ” สีขาว สว่ นด้านล่างมีขอ้ ความเป็นภาษาอังกฤษวา่ “SUAN DUSIT UNIVERSITY” สขี าวใช้รูปแบบอักษร SP Suan Dusit คน่ั ดว้ ยดอกเฟอ่ื งฟา้ และดอกขจร ในวงรดี า้ นในใชส้ ฟี า้ นำ้� ทะเลเปน็ พนื้ มเี ครอื่ งหมายของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ เปน็ พยญั ชนะ ภาษาไทย อกั ษรย่อ “มสด” สขี าว อย่ตู รงกลาง 2. เป็นวงรีรปู ไข่ 2 วงซอ้ นกนั วงรีด้านนอกใชส้ ที อง ด้านบนมขี ้อความเป็นภาษาไทยว่า “มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ” สีขาว ส่วนดา้ นลา่ งมีขอ้ ความเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ “SUAN DUSIT UNIVERSITY” สขี าว ใชร้ ูปแบบอกั ษร SP Suan Dusit คนั่ ดว้ ยดอกเฟอ่ื งฟา้ และดอกขจร ในวงรดี า้ นในใชส้ ฟี า้ นำ้� ทะเลเปน็ พน้ื มเี ครอื่ งหมายของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ เปน็ พยญั ชนะ ภาษาไทย อักษรยอ่ “SDU” สขี าว อยูต่ รงกลาง ความหมายตราของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต เป็นวงรีรูปไข่ 2 วงซ้อนกัน วงรีด้านนอกใช้สีทอง หมายถึง ความรุ่งเรือง ด้านบนมีข้อความว่า “มหาวิทยาลัย สวนดสุ ิต” ส่วนด้านลา่ งมีขอ้ ความว่า “SUAN DUSIT UNIVERSITY” ใชแ้ บบรูปแบบอกั ษร SP Suan Dusit แทนค่าความ รู้สึกในการสอ่ื สารรว่ มสมยั คน่ั ด้วยดอกเฟ่อื งฟ้าและดอกขจรเป็นสญั ลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต แสดงถึง การเฟอื่ งฟู ของศิลปวิทยาการอันโดดเด่นขจรไกล ส่วนเคร่ืองหมาย “มสด” และ “SDU” ที่มีลักษณะเกาะเก่ียวกัน หมายถึง ความ ผูกพันเปน็ หน่งึ เดยี วกนั สีประจ�ำมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ สีฟ้านำ้� ทะเล เป็นสีประจ�ำของมหาวิทยาลัย “สวนดุสิต” ต้ังแต่เป็นโรงเรียนการเรือนพระนคร วิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต ดอกไมป้ ระจำ�มหาวทิ ยาลัย l ดอกเฟ่ืองฟ้า l ดอกขจร 8 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
เพลงประจ�ำมหาวิทยาลัย เพลงมาร์ชมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ คำ� รอ้ ง : ดร.ชยั ชนะ โพธิวาระ ทำ� นอง : ผศ.เสวี เย็นเปย่ี ม พิเชฎฐ ศขุ แพทย์ เรียบเรยี งดนตร ี : พเิ ชฏฐ ศขุ แพทย์ บนั ทกึ เสียง : แฮปป้สี ตูดิโอ ขบั ร้องโดย : เสริมเวช ช่วงยรรยง นอ้ งผ้ึง บงึ สามพนั และศิลปินรบั เชิญ สวนดุสิตดั่งดุสติ แดนสวรรค์ สถาบันการศึกษายคุ ฟ้าใหม่ นามระบอื ลือเกียรติก้องผ่องอำ� ไพ มุง่ ให้ไกลไปให้ต่างทางสากล เหลา่ เพ่ือนพอ้ งน้องพี่มคี วามสขุ นริ าศทกุ ขส์ ามคั คมี ีกุศล สรา้ งความดีมคี วามเดน่ เปน็ มงคล ปลม้ื กมลมโนธรรมน�ำชีวี * ถึงคราวเรียน เราก็เรียน อย่างต้งั จิต ทุ่มชีวติ ม่งุ กา้ วล�้ำนำ� วถิ ี ถึงคราเลน่ เราสนกุ ทกุ นาที ณ ถน่ิ นี้ถนิ่ ดุสติ ติดตรงึ ใจ ** เมื่อคราวจากเราจากไปใจยงั รัก ถ่นิ พำ� นักรักดุสิตพสิ มัย เลอื ดชาวฟ้าถน่ิ เฟอื่ งฟ้าขจรไกล แมน้ ตัวไปใจรกั มน่ั นริ นั ดร สร้อย *** (สวนดสุ ติ เลอื ดชาวฟา้ สวนดุสติ ถน่ิ เฟื่องฟ้า สวนดุสติ ขจรไกล สวนดสุ ติ ใจรักม่นั นริ ันดร) (*,**,***) ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 9
คา่ นยิ มรว่ ม ความเปน็ สวนดุสิต (SDU Spirit) ประกอบดว้ ย 1. บุคลิกภาพดี 2. อ่อนนอ้ มถ่อมตน 3. แสดงความเปน็ สวนดสุ ิต 4. ด�ำรงตนอย่างมีคุณคา่ 5. ทำ� งานดว้ ยความประณีต 6. เป็นผู้นำ� 7. เสียสละเอ้อื อาทร 8. รกั และศรทั ธามหาวิทยาลยั 9. มีส่วนร่วมในการดำ� เนินงาน สมรรถนะหลัก การบรหิ ารภายใต้การจดั การของข้อมลู เป้าหมายเชิงนโยบาย การจัดการคุณภาพในทุกมติ ิ ท้งั มติ ดิ ้านหลกั สูตร ด้านนักศกึ ษา ด้านงานวิจยั ดา้ นบคุ ลากร ดา้ นการใชท้ รัพยากร และงบประมาณ ดา้ นเทคโนโลยีการสื่อสาร ด้านสง่ิ แวดล้อม และดา้ นกจิ การพิเศษ ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลัยสวนดสุ ิต 1. การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งของหลักสตู รเพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขัน 2. การผลติ บัณฑติ พันธุ์ใหมท่ ่มี ีทกั ษะสนองต่อโลกอนาคต และเปน็ พลเมอื งทดี่ ี 3. การพัฒนางานวจิ ยั และนวัตกรรมท่ีมีคณุ ภาพ สามารถนำ� ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งเป็นรูปธรรม 4. การบริการวชิ าการบนพื้นฐานความตระหนกั ในความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 5. การพฒั นาศักยภาพบุคลากรสคู่ วามเป็นเลิศ 6. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบการบรหิ ารจัดการ 7. การเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ และอยู่รอดอยา่ งย่งั ยนื ดว้ ยการแสวงหารายได้ 10 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
สถานท่ีส�ำคัญในมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 1. ศาลพ่อปชู่ ัยมงคล เป็นศาลพระภูมิท่ีชาวสวนดุสิตให้ความเคารพนับถือตั้งข้ึน ตามคติความเช่ือแบบพราหมณ์ เพ่ือดูแลปกปักรักษาปกครองดูแล เคหะสถานบ้านเรือน สร้างขึ้นเมื่อคร้ังต้ังโรงเรียนการเรือนพระนคร ประมาณปี พ.ศ. 2484 โดยมหาวทิ ยาลยั จะก�ำหนดจดั พธิ ีบวงสรวง ในช่วงเดือนกมุ ภาพันธ์ของทกุ ปี และในโอกาสต่าง ๆ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 11
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปดิ อาคารศูนย์ศลิ ปวฒั นธรรม สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ิต เม่อื 17 พฤษภาคม 2537 2. ศนู ยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย สวนดุสิต เดิมเป็นต�ำหนักท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งไวเ้ ปน็ ทส่ี ำ� ราญพระราชหฤทยั ใกลก้ บั พระราชวงั ดสุ ติ ตามแบบ อย่างของพระราชวังเบินสตอฟ ประเทศเดนมาร์ก ซ่ึงใช้เป็นที่ประทับของ พระราชธดิ าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั 3 พระองค์ คือ พระเจ้า บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เยาวภาพงศส์ นทิ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ประภา พรรณพไิ ลย และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจา้ วาปบี ุษบากร 12 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
3. สวนดสุ ิตโพล จุดก�ำเนิดเริ่มต้นต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535 จากเป็นงาน ภาคสนามท่ีนักศึกษาสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ ใช้เป็นสิ่งท่ีสร้างเสริมทักษะและประสบการณ์ ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ท้ังการจัดหาข้อมูล การรวบรวม การจัดระบบ และวิเคราะห์จากข้อมูลดิบ จนถึงขั้นตอน การปรุงแต่ง และเผยแพร่ออกมาในรูปของ “สารนิเทศ” (INFORMATION) โดยสถานท่ีตั้งเดิมเป็นต�ำหนักพระองค์เจ้า อัพภันตรีประชาซ่ึงเป็นหน่ึงในต�ำหนักที่พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ สร้างขึ้น 4. อาคารรักตะกนิษฐ หอประชุมของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรียกว่า อาคาร รักตะกนิษฐ ช่ืออาคารต้ังขึ้นเพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติอาจารย์ คุณหญิงกระจ่างศรี รักตะกนิษฐ ผู้บริหารสถานศึกษาสวนดุสิต ยาวนานท่สี ุดถึง 29 ปี และในฐานะที่เปน็ ปชู นียาจารย์ผู้บกุ เบกิ และสรา้ งสรรค์วิชาคหกรรมศาสตร์ให้กับมหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 5. โรงแรมสวนดุสิต เพลส (อาคารอเนกประสงค์ ปฏิบตั ิการวชิ าชีพธรุ กจิ ) จัดต้ังข้ึนเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพด้านการโรงแรมของนักศึกษา ในปี พ.ศ. 2536 โดยใชช้ อื่ โครงการวา่ “โครงการอาคารอเนกประสงคป์ ฏบิ ตั ิ วชิ าชีพธรุ กิจ” หรือ โรงแรมเดอะสวนดสุ ติ พาเลซ ก่อนจะเปลีย่ น ชอ่ื เปน็ โรงแรมสวนดสุ ติ เพลส ในปจั จุบนั มีห้องพกั ทงั้ หมด 120 ห้อง เป็นห้องคู่ 93 ห้อง ห้องเดี่ยว 27 ห้อง รวมอาหารเช้า ตลอดจนห้องประชมุ สมั มนาและจัดเลี้ยงอาหารบุฟเฟต่ ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 13
14 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3 6. โฮมเบเกอร่ี กอ่ ต้ังขน้ึ เมอ่ื วันท่ี 29 พฤษภาคม 2528 โดยใชช้ ่อื วา่ โครงการอาหารกลางวัน 2 ต่อมามีการเน้นการบริการด้าน ขนมอบมากข้ึนจึงเปลี่ยนช่ือใหม่เป็น โครงการบริการอาหาร และขนมอบ สำ� หรบั คำ� วา่ Home bakery เกดิ ขน้ึ ภายหลงั เพอ่ื ใหเ้ ป็นแบรนด์ของขนมอบ เปน็ ชอื่ ที่ผ้บู รหิ ารตง้ั ใหไ้ ด้จากการ ไปศกึ ษาทสี่ ถาบนั Philippines College of Arts and Trades และน�ำมาเป็นต้นแบบเพื่อสอนขนมอบให้กับนักศึกษาสาขา วิชาคหกรรมศาสตร์ ปัจจุบันมีขนมวางจ�ำหน่ายอยู่หน้าร้าน มากกว่า 300 ชนิด ที่ยอดนิยมได้แก่ ท๊อฟฟี่เค้ก และเค้ก ฝอยทอง ซงึ่ ขนมทง้ั 2 ชนดิ นี้ทางโฮมเบเกอร่ีไดค้ ดิ คน้ และวาง จ�ำหนา่ ยเป็นแหง่ แรกของประเทศไทย 7. โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ โรงเรียนสาธิตละอออุทิศเป็นส่วนงานเทียบเท่าคณะ ขึน้ ตรงต่ออธกิ ารบดี ตาม พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยสวนดุสติ พ.ศ. 2558 จดุ เรมิ่ ตน้ จากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดร้ บั เงนิ บรจิ าคของ นางสาวลออ หลิมเซ่งไถ่ จ�ำนวนแปดหมื่นบาท จึงได้น�ำเงิน จำ� นวนดงั กลา่ วสรา้ งตกึ อนบุ าลขน้ึ ในบรเิ วณโรงเรยี นการเรอื น พระนคร (มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ในปจั จบุ นั ) ใหช้ อื่ ตกึ หลงั นว้ี า่ “ตกึ ละอออทุ ิศ” (เดิมใช้ละอออทุ ิส) ใช้ตึกหลงั นี้เป็นโรงเรียน อนุบาล ช่อื ว่า โรงเรียนอนุบาลละอออทุ ศิ สังกัดกองฝกึ หัดครู กรมสามัญศึกษา ซ่ึงถือว่าเป็น โรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของ กระทรวงศึกษาธกิ าร และเปิดทำ� การสอนคร้ังแรก เม่ือวันท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นโรงเรยี นอนุบาลทีส่ อนเดก็ โดยมงุ่ การเตรียมความพร้อมและส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ให้ พัฒนาไปอย่างเหมาะสมสอดคล้อง และต่อเนื่องกันไป และ เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้แก่นักศึกษาครูให้ นกั ศกึ ษาไดม้ าศกึ ษาสงั เกต มสี ว่ นรว่ มในการสอน ทดลองสอน และฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครูเตม็ ข้นั 8. ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์ ต้งั อยู่ ณ อาคาร ดร.ศโิ รจน์ ผลพันธิน มหาวทิ ยาลัย สวนดุสิต ได้ถือก�ำเนิดข้ึนโดยด�ำริของรองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2527 เน่ืองจาก มีความจ�ำเป็นต้องท�ำการประชาสัมพันธ์ให้กับสังคม ชุมชน ยอมรับ เช่ือถือ ในบทบาทใหม่ ด้านการผลิตบัณฑิตสาย วชิ าการอนื่ ทไ่ี มใ่ ชส่ ายครศุ าสตร์ และเพอื่ ใหเ้ ปน็ ทไี่ วว้ างใจและ เช่ือมั่นในผลผลิตของมหาวิทยาลัยฯ ขณะเดียวกันปรากฏว่า มี องคก์ รภาครัฐ ภาครฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชนได้รอ้ งขอให้ ช่วยพัฒนาพนักงานบุคลากรในรูปแบบของการจัดการ ฝกึ อบรม หรอื ขอสนบั สนนุ ดา้ นวทิ ยากรอยเู่ สมอ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิตจึงได้จัดต้ัง ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์ เพ่ือให้บริการ วิชาการด้านการพัฒนาทุนมนุษย์อย่างครบวงจรให้แก่องค์กร บุคคลท่วั ไป อาจารย์ พนักงาน นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลัยใน รปู แบบของฝึกอบรมและการใหค้ �ำปรกึ ษา
พน้ื ท่ีจดั การศึกษาของมหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชริ าลงกรณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ (ถนนสริ นิ ธร) ซงึ่ ใชเ้ ปน็ สถาน ที่จัดการเรียนการสอนของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะพยาบาลศาสตร์ และโรงเรียน การเรือน ท่ีตัง้ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชริ าลงกรณ เลขท่ี 204/3 ถ.สิรนิ ธร แขวงบางพลดั เขตบางพลัด กทม. 10700 โทรศัพท์ 0-2243-9482-3 โทรสาร 0-2243-9487 บัณฑติ วิทยาลยั อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ (แยกสวนรนื่ ฤด)ี ซง่ึ ใช้เป็นสถานทจี่ ัดการเรียน การสอนของนกั ศกึ ษาบณั ฑติ วิทยาลัย และโรงเรยี นกฎหมายและการเมือง ท่ีตั้ง อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชิรลงกรณ์ (แยกสวนร่นื ฤด)ี เลขที่ 145/9 ถ.สุโขทัย แขวงดสุ ิต เขตดุสติ กทม. 10300 โทรศพั ท์ 0-2241-7191-5 โทรสาร 0-2243-3408 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 15
ข้อมลู เกย่ี วกบั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 16 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
วิทยาเขตและศนู ยก์ ารศึกษานอกสถานทตี่ ้ัง วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี ขอ้ มูลเก่ียวกบั วทิ ยาเขตสพุ รรณบุรี มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ วิทยาเขตสพุ รรณบุรี ต้งั อย่บู นพืน้ ที่ทั้งหมด 206 ไร่ 1 งาน 58.5 ตารางวา พน้ื ที่แห่งนไ้ี ดจ้ ัดตัง้ เปน็ ศนู ยน์ อกท่ตี ้งั สพุ รรณบุรี ซึง่ ถูกพัฒนาเป็นระยะเวลาตอ่ เน่อื ง กวา่ 18 ปี ในปี พ.ศ. 2546 เรม่ิ จากการสรา้ งระบบสาธารณปู โภคและส่ิงอำ� นวยความสะดวก อาคารสำ� นกั งาน และอาคารประกอบโดยใชเ้ งนิ รายไดข้ องมหาวทิ ยาลยั ฯ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ กำ� หนดแผนพฒั นาใหเ้ ป็นวิทยาเขตทสี่ มบรู ณต์ ามประกาศมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ เรอื่ ง การจัด ตั้งส่วนงานของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2558 มีสำ� นกั งานวิทยาเขตสพุ รรณบรุ ี บรหิ ารโดยผู้อ�ำนวย การสำ� นักงานวิทยาเขตสุพรรณบุรี ภายใตก้ ารก�ำกบั ดูแล และติดตาม โดยรองอธกิ ารบดีฝ่าย วิทยาเขตสุพรรณบุรี และด�ำเนินการจัดต้ังวิทยาเขตสุพรรณบุรี ตามประกาศมหาวิทยาลัย สวนดสุ ิต เร่อื ง การจดั ตงั้ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี พ.ศ. 2559 เม่อื วันท่ี 26 สงิ หาคม 2559 จัดต’้ั หนว่ ยงานเทยี บเทา่ คณะ 2 หน่วยงาน โดยรวมหลักสตู รอตุ สาหกรรมการ ท่องเที่ยวและบริการ แขนงอุตสาหกรรมท่องเท่ียว การจัดการโรงแรม ธุรกิจการบิน ร่วมกับ หลกั สตู รการออกแบบการแสดงและนทิ รรศการ จดั ตง้ั เปน็ โรงเรยี นการทอ่ งเทยี่ วและการบรกิ าร (School of Tourism and Hospitality Management) และรวมหลักสูตรอตุ สาหกรรมการ อาหารและบรกิ ารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร และคหกรรมศาสตรม์ าจดั ตงั้ เปน็ หนว่ ย งานเทยี บเทา่ คณะเปน็ โรงเรยี นการเรอื น (School of Culinary Arts) เพอื่ เปน็ การรวมศกั ยภาพ ของหลกั สตู รท่ีสมั พันธ์กัน และสอดคล้องกับอตั ลักษณข์ องมหาวิทยาลัยฯ ไดถ้ ูกพฒั นาไปอย่าง เขม้ แขง็ โดยมีความพรอ้ มท้ังในดา้ นพนื้ ที่ บคุ ลากร ครุภัณฑ์/เคร่อื งมือ และส่งิ ประกอบอื่นๆ ท่ี จำ� เป็นในการจัดการศึกษา เพือ่ ขยายโอกาสทางการศกึ ษาให้กับผู้เรียนในเขตภาคตะวนั ตกและ ภาคกลางในสาขาทขี่ าดแคลนของประเทศ และหลกั สตู รทเ่ี ปน็ อัตลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 17
ศนู ยก์ ารศึกษานอกสถานทต่ี ้งั ตรัง ข้อมูลเกยี่ วกบั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถานที่ตง้ั มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกสถานท่ีต้ัง ตรัง จัดต้ังข้ึนตาม ตรัง นโยบายของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต (สถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต ในขณะนั้น) เม่อื วันท่ี 10 มถิ นุ ายน 2545 โดยเป็นศนู ย์การศกึ ษาฯ แห่งแรกท่ีเปิดการจดั การเรียนการ สอนในพ้นื ทภ่ี าคใต้ ตามความต้องการของท้องถน่ิ โดยนายทวี สรุ ะบาล สมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎรจงั หวดั ตรงั ในขณะนนั้ ไดป้ ระสานงานขอความรว่ มมอื จากมหาวทิ ยาลยั ฯ (สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ิต) ใหเ้ ปดิ การจดั การเรยี นการสอนในระดบั ปรญิ ญาตรี โดยเรมิ่ เปิดท�ำการเรียนการสอนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2545 เป็นภาคเรียนแรก เม่ือ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2545 ณ อาคารเลขที่ 23 ถนนเทศารัษฎา บ้านโคกแค หม่ทู ่ี 2 ต�ำบลเขาขาว อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง โดยใช้พื้นที่ของอาคารสุรบาล วิทยาลัย การอาชพี ห้วยยอดตอ่ มาสภาสถาบันราชภฏั สวนดุสิต ได้อนมุ ตั ิให้จัดซอื้ ทีด่ นิ จำ� นวน 6 ไร่ 1 งาน 23 ตารางวา บริเวณถนนเพชรเกษม อำ� เภอห้วยยอด จังหวัดตรัง และได้ รับงบประมาณกอ่ สร้างอาคารเรยี น จากจงั หวัดตรงั งบประมาณจำ� นวน 30 ล้านบาท ในการก่อสร้างอาคารเรียนดุสิตพาราและงบประมาณก่อสร้างอาคาร ศูนย์ฝึกปฏิบัติ การอาหารนานาชาติสวนดสุ ติ งบประมาณจ�ำนวน 27 ลา้ นบาท และตง้ั แตภ่ าคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 เปน็ ตน้ มา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ้งั ตรงั ด�ำเนินการจดั การเรยี น การสอน ที่เลขท่ี 111 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลห้วยยอด อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง สถานทเี่ ดียว 18 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ศนู ย์การศกึ ษานอกสถานท่ตี ้งั นครนายก ข้อมูลเกี่ยวกบั ศูนย์การศึกษานอกสถานท่ตี ั้ง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถานทต่ี งั้ นครนายก มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ เปดิ การเรยี น นครนายก การสอนครั้งแรก เม่ือวันที่ 7 มิถุนายน 2541 โดยใช้พื้นที่ของโรงเรียนเทคโนโลยี วีรพัฒน์ อ�ำเภอเมืองนครนายก จงั หวัดนครนายก เพื่อตอบสนองนโยบายของรฐั บาล ในการสนับสนุนให้ประชาชนของประเทศได้รับการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึนท้ังนี้เพ่ือ พฒั นาความรคู้ วามสามารถและประสทิ ธภิ าพใน การทำ� งานพรอ้ มทง้ั เปดิ โอกาสใหภ้ าค เอกชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาใน ลักษณะทวิภาคีมากข้ึน นอกจากนี้ มหาวทิ ยาลยั ยงั ไดม้ งุ่ เนน้ การจดั ฝกึ อบรมวชิ าชพี ใหก้ บั ชมุ ชนในสาขาทมี่ หาวทิ ยาลยั มี ความ เชย่ี วชาญ โดยการเปดิ อบรมการทำ� ขนมอบ และเปดิ รา้ นโฮมเบเกอรขี่ องสวนดสุ ติ ขึ้นเม่ือปี พ.ศ.2547 ซ่ึงใช้เป็นส่วนขายอาหาร และขนมอบ ใช้เป็นสถานที่ฝึกอบรม วิชาชีพให้กับชุมชนและใช้เป็นส่วนสนับสนุนในการจัดบริการอาหารและขนมให้กับ โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ิศ ปัจจบุ ันไดย้ า้ ยสถานท่จี ัดการเรียนการสอนมาใชส้ ถานที่ของ หมาวิทยาลัย ตงั้ แตเ่ ดือนมีนาคม 2560 ประกอบดว้ ยพืน้ ท่ี จำ� นวน 3 แปลง เน้อื ท่ี 9 ไร่ 5 งาน 13 ตารางวา สถานทจี่ ดั การเรียนการสอน ประกอบด้วย อาคารการประถม ศึกษา อาคารปฏิบัติการการศึกษาพิเศษและการศึกษาปฐมวัย อาคารส�ำนักงานและ ทพ่ี กั ศูนยส์ ง่ เสรมิ สมรรถนะทางกาย และหอพักนกั ศึกษา ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 19
ศนู ยก์ ารศึกษานอกสถานท่ตี ้ัง ล�ำ ปาง ข้อมูลเกี่ยวกับศนู ย์การศกึ ษานอกสถานทีต่ ั้ง มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ศูนย์การศึกษานอกสถานทต่ี ้ัง ล�ำปาง เปิดด�ำเนินการ ล�ำปาง ในจังหวัดลำ� ปางตามนโยบายของมหาวทิ ยาลัย เมือ่ วันท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 โดยมจี ดุ มงุ่ หมายหลกั ในการจดั การเรยี นการสอน นอกสถานทต่ี งั้ เพอื่ พฒั นาองคค์ วาม รขู้ องมหาวทิ ยาลยั ในสาขาอตั ลกั ษณท์ เ่ี ปน็ สากล ประยกุ ตเ์ ขา้ กบั องคค์ วามรู้ ภมู ปิ ญั ญา ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของท้องถ่ินและน�ำองค์ความรู้ของท้องถิ่นมาพัฒนา ปรับปรงุ การจัดกระบวนการเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลยั รวมทง้ั การนำ� องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญของมหาวทิ ยาลัยไปช่วยสนับสนนุ ปรับปรุง และพฒั นาท้องถนิ่ ในเขต พนื้ ทที่ ศ่ี นู ยก์ ารศกึ ษาตงั้ อยู่ รว่ มกบั องคก์ รทเี่ กย่ี วขอ้ งในเขตพน้ื ที่ ในการดำ� เนนิ งานของ ศนู ยไ์ ดย้ ดึ ตามแนวนโยบายและพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ตลอดระยะเวลา ในการดำ� เนนิ งาน 20 ปี ท่ีผ่านมาศูนย์ได้ด�ำเนินงานตามครบทุกพันธกิจของมหาวิทยาลัยมีผลงาน เปน็ ที่ประจกั ษเ์ ป็นท่ยี อมรบั ท้งั ชมุ ชนและระดบั ชาติ 20 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ศูนยก์ ารศึกษานอกสถานทตี่ งั้ หัวหนิ ข้อมูลเกีย่ วกบั ศูนย์การศึกษานอกสถานทต่ี ัง้ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถานทตี่ ง้ั หวั หนิ กอ่ ตง้ั จากปรชั ญา หัวหนิ ทว่ี า่ “เทคโนโลยกี า้ วไกล อยทู่ ไ่ี หนกเ็ รยี นได้ ภายใตม้ าตรฐานเดยี วกนั ” ทำ� ใหใ้ นปี พ.ศ. 2546 สถาบนั ราชภฏั สวนดุสิตศูนยฯ์ หัวหิน (ช่อื ในขณะน้ัน) ได้ทำ� ความร่วมมอื กับ สถาบันการบนิ พลเรอื น ซ่งึ มวี ัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื เป็นการพฒั นาบคุ ลากรทางดา้ นการบนิ จัดให้มีการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีภาคปกติ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต โปรแกรมอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว แขนงวชิ าธรุ กจิ การบนิ และแขนงวชิ าธรุ กจิ การโรงแรม ขึน้ เปน็ ครงั้ แรก ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2558 สภาหาวิทยาลัยได้อนุมตั ิ/ใหค้ วามเห็นชอบให้ จดั การศกึ ษานอกทตี่ ง้ั ในหลกั สตู ร ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาธรุ กจิ การบนิ เมอื่ วนั ที่ 25 ธนั วาคม พ.ศ. 2558 และเรมิ่ เปดิ สอนทศี่ นู ยก์ ารศกึ ษานอกสถานทตี่ ง้ั หวั หนิ เมอ่ื วนั ที่ 15 สิงหาคม 2559 เพื่อเป็นการตอบสนองต่อความต้องการในการพัฒนาบุคลากร ในสายวชิ าชพี ธุรกิจการบินในภูมภิ าค อนั เนอ่ื งมาจากการขยายตวั ของธรุ กิจการบนิ ใน ประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสายการบินต้นทุนต�่ำ ซึ่งมีแนวโน้มให้ประเทศไทยพัฒนา เปน็ ศนู ยก์ ลางการทอ่ งเทย่ี วของภมู ภิ าค (Tourism Hub) ทเี่ พม่ิ มากขนึ้ โดยมสี โลแกน ทใ่ี ช้ในการพฒั นานกั ศึกษาให้เป็นทยี่ อมรบั ของตลาดแรงงานก็คือ “เก่งภาษา มสี มั มา คารวะ สขุ ภาพดี จิตใจงาม บริการเยย่ี ม” ซง่ึ จากสโลแกนนี้ได้สอดแทรกการฝกึ ภาค ปฏบิ ตั ใิ นดา้ นของการปฏบิ ตั ิธรรม – น่ังสมาธิ และการวง่ิ ออกกำ� ลงั กายให้แก่นกั ศึกษา เป็นการเพ่ิมเติม โดยได้ด�ำเนินการจัดท�ำกิจกรรมเหล่าน้ี มาโดยตลอดต้ังแต่เร่ิมมีการ จัดตั้งจนมาถึงปัจจุบัน ซ่ึงในปัจจุบันได้รับกระแสการตอบรับจากหน่วยงานภายนอก ตา่ ง ๆ ทมี่ ตี อ่ นกั ศกึ ษาของศนู ยฯ์ และตอ่ บณั ฑติ ทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในเรอ่ื งของบคุ ลกิ ภาพ ความอดทน และอดกลน้ั ในการปฏบิ ตั งิ านไดเ้ ปน็ อยา่ งดจี นมาถงึ ปจั จบุ นั ซง่ึ ในปจั จบุ นั ได้รบั กระแสการตอบรับจากหนว่ ยงานภายนอกต่าง ๆ ทมี่ ตี อ่ นกั ศกึ ษาของศนู ยฯ์ และ ต่อบัณฑิตท่ีส�ำเร็จการศึกษาในเร่ืองของบุคลิกภาพ ความอดทน และอดกล้ันในการ ปฏบิ ัติงานได้เปน็ อยา่ งดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 21
สว่ นท่ี 2 แนะน�ำ สถานท่/ี หน่วยงานที่ส�ำ คัญ ของมหาวทิ ยาลัย สวนดสุ ติ 22 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 23
สำ�นักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน เป็นหน่วยงานที่ดูแลข้อมูลทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับงานทะเบียนและสถิติการศึกษาของนักศึกษา สนับสนุน บรกิ ารดา้ นวชิ าการ การลงทะเบยี นเรยี น การสอน และการสอบ รวมถงึ การจดั หาบรกิ ารดา้ นระบบสารสนเทศสำ� หรบั นกั ศกึ ษา โดยในปัจจบุ นั สำ� นักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ประกอบด้วย 2 จุดบริการ โดย เปดิ ให้บริการ ในวันจันทร์ - วันศกุ ร์ เวลา 08.30 – 16.30 น. ยกเว้นวันเสาร์ - วนั อาทิตย์ และวันหยุดนักขตั ฤกษ์ งานบรกิ ารอาจารย์ ช้นั 2 งานบริการนักศึกษา อาคารส�ำนักงานมหาวิทยาลยั ณ จดุ บรกิ าร อาคาร 2 ชัน้ 1 ส�ำนกั สงเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น งานทะเบยี นนกั ศึกษา งานอ�ำนวยการและสอ่ื สารองคก์ ร โทรศัพท์ 02-244-5175 โทรศพั ท์ 02-244-5171-2 โทรสาร 02-244-5176 งานฐานข้อมูล งานส่งเสรมิ วชิ าการ โทรศพั ท์ 02-244-5234-5 โทรศพั ท์ 02-244-5173 งานขอขน้ึ ทะเบยี นรับใบอนญุ าต งานบริการนักศกึ ษา ณ จุดบรกิ าร อาคาร 2 ชน้ั 1 ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา โทรศพั ท์ 02-244-5174 โทรศพั ท์ 02-244-5467 24 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
นักศึกษาภาคปกติ หมายถึง ผู้มีสิทธ์ิศึกษาในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้รายงานตัวต่อมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพื่อเข้าเป็นนักศึกษา โดยการรายงานตัวเป็น นักนศกั ึกศกึษษาาภตาาคมปวกันติ เวหลมาายทถ่ีมงึ หผาูม้ วีสิทิทยธ์ิศาึกลษัยากในาหนด ซ่ึงผู้ท่ีรายงานตัวเป็นนักศึกษาเรียบร้อย มหาวิทแยลา้วลจัยะสไวดน้รดับุสริตหไดัส้รปารยะงาจนาตตัวัวตน่อักมศหึกาวษิทายแาละัยบัตรประจาตัวนักศึกษา เพ่ือแสดงสถานภาพ นสวักนศดึกุสกษิตาารเตเพปา่ือมน็ เขวน้าันกัเปศเ็นวกึ ลนษาักทาศ่ีมขึกหษอาางวมโิทหดยยาากวลาิทัยรยกร�าำายหลงนัยาดสนตวซัวน่ึงเดปผูุ้สท็น่ีิต ประจาปีการศึกษา 2563 รายงานตัวเป็นนักศึกษาเรียบร้อยแล้วจะได้รับรหัส ประจำ� ตวั นกั ศกึ ษาและบตั รประจำ� ตวั นกั ศกึ ษา เพอ่ื แสดง สถานภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจรำ� ปหกี สั าปรศรึกะษจาา2ต56วั 3นักศึกษา รหสั ประจ�ำตัวนกั ศกึ ษา รหัสรหปัสระปจร�ำะตจวั านตกั ัวศนกึ กั ษศาึกเปษน็าเตปวั น็ เลตขวั เ1ล3ขห1ล3ักหลัก 1 2 3 4 567 8 9 10 11 12 13 ปที เ่ี ข้าศกึ ษา ภาคการศึกษา ประเภท สถานท่ีจัดการศึกษา สาขาวิชา ลาดบั ที่ ตัวอย่าง 6 3 1 1 0118 040 0 1 ปี 2563 1 ภาคปกติ ในมหาวิทยาลยั ฯ การเงิน ลาดับท่ี 1 63 1 1 0813 200 2 5 ปี 2563 1 ภาคปกติ ศนู ยก์ ารศึกษานอกท่ตี ัง้ ลาปาง การศกึ ษาปฐมวัย ลาดับท่ี 25 1056 ภาคปกติ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ถ.สิรินธร 1056 อภภาาาคคคาปปรกกเฉตตลิิ มิ พระเกยี ร11ต00ิ ถ25.90สริ นิ ธร ศวิทนู ยยาก์1 1เ00าขร28ตศ20ึก สษพุ ารศภภนรนูาาณอคคยกปป์กบทากกุรรี่ตตตี ศั้งิิ ึกตษราังนอกทีต่ ั้ง นครนายก ภาคปกติ 1050 ภาคปกติ วิทยาเขต สพุ รรณบรุ ี1011 ภาคปกติ ในมห าวิทยาลศัยนู ฯย์การศึกษานอกทต่ี ัง้ หัวหนิ 1029 ศภภนูาาคคยปปก์ ากกรตตศิิ กึ ษานอกท่ีต11้งั0082ต20รัง ศศนนูู ยย์ก์ก1 0าารร8ศศ1ึึกก ษษาาศภนนนูาออคยกกป์กททากรีี่่ตตตศงั้้ังิ กึ นหษควัาหรนนนิอากยทกี่ตัง้ ลำ� ปาง ภาคปกติ 1011 ภาคปกติ ในมหาวิทยาลยั ฯ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 25
เครอ่ื งแบบและเครอ่ื งแตงกายของนักศึกษา เสือ้ นกั ศึกษา เครอ่ื งแบบนกั ศึกษาเวลาเรยี นปกติ แขนซ้ายแถบดำ� ปกั Suan Dusit เครื่องแบบชุดนักศึกษา 200-320 บาท ‘สวนดสุ ติ ’ เนคไท ตรา มสด. สายเข็มขดั 180 บาท หนังสีดำ� 100 บาท กางเกงผา้ หรอื สแล็คสีดำ� หวั เขม็ ขัด ตรา มสด. 100 บาท รองเทา้ คทั ชู หวั ปิดสดี �ำ มสี ้น จำ� หนา่ ยเครื่องแบบชดุ นักศึกษา ตดิ ต่อ ศนู ย์บรกิ ารส่อื และสงิ่ พมิ พก์ ราฟฟิคไซท์ อาคารส�ำนกั งานมหาวิทยาลัย ช้ัน 1 สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 244 5425 26 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
เครื่องแบบนกั ศกึ ษาเวลาเรยี นปกติ เคร่ืองแบบชุดนักศึกษา เสื้อนักศึกษา แขนซ้ายแถบดำ� ‘สวนดุสิต’ ปัก Suan Dusit 200-320 บาท ติดตงุ้ ติง้ ท่รี งั ดมุ แรก ดา้ นซ้าย ติดเข็ม มสด. 80 บาท ทหี่ นา้ อกเส้อื ดา้ นซ้าย สายเข็มขดั 80 บาท หนงั สีดำ� กระดุม 100 บาท ตรา มสด. 130 บาท หัวเข็มขัด ตรา มสด. กระโปรงทรง A 100 บาท ยาวคลุมเข่า ผ่าหนัง รองเทา้ คัทชู หวั ปดิ สดี ำ� มสี น้ จ�ำหน่ายเคร่ืองแบบชดุ นกั ศกึ ษา ตดิ ตอ่ ศูนย์บรกิ ารสอื่ และสิ่งพมิ พ์กราฟฟคิ ไซท์ อาคารส�ำนกั งานมหาวิทยาลัย ช้นั 1 สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 244 5425 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 27
เครอ่ื งแบบนกั ศึกษาแบบพิธีการ เครอื่ งแบบชุดพธิ กี าร หรอื ชุดพระราชพิธี คือ ชดุ ที่สวมใส่ใน งานพิธีส�ำคญั และเป็นทางการของ มหาวิทยาลยั เช่น พิธีไหว้ครู พธิ ี รบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร และงานพธิ ตี า่ ง ๆ ทม่ี หาวทิ ยาลยั ฯ หรอื คณะ/โรงเรียน กำ� หนด ขอ้ บงั คบั ฯ วา่ ดว้ ย เครอื่ งแบบนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2558 กำ�หนดการเปดิ และการปิดภาคการศึกษาของนกั ศกึ ษาภาคปกติ ภาคการศกึ ษาท่ี 1 เปดิ ภาคการศกึ ษา วนั ท่ี 17 สงิ หาคม 2563 ปดิ ภาคการศกึ ษา วันท่ี 21 ธนั วาคม 2563 ภาคการศึกษาที่ 2 เปดิ ภาคการศึกษา วันที่ 15 มกราคม 2564 ปิดภาคการศึกษา วนั ที่ 21 พฤษภาคม 2564 ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น เปิดภาคการศึกษา วนั ท่ี 1 มิถุนายน 2564 ปิดภาคการศกึ ษา วันท่ี 30 กรกฎาคม 2564 28 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ในแตล่ ะภาคการศกึ ษา นกั ศกึ ษาจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี น ตามวันและเวลาท่ีก�ำหนดตามปฏิทินกิจกรรมวิชาการของ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ โดยในภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ส�ำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน จะด�ำเนินการจัดตาราง เรียนและลงทะเบียนเรียนให้นักศึกษา ส�ำหรับในภาคการศึกษา ถดั ไป นักศึกษาจะต้องปฏบิ ัติตามขนั้ ตอน ต่อไปน้ี ขัน้ ตอนที่ ขนั้ ตอนท่ี นักศึกษาต้องศึกษาหลักสูตรและ 2 1 แผนการเรียน พบอาจารย์ที่ ปรึกษาเพ่ือขอค�ำแนะน�ำ ปรึกษา นักศึกษาการลงทะเบียนเรียนใน เกี่ยวกับแผนการเรียนและการลง ระบบบรหิ ารการศึกษา ทะเบยี นเรยี น https://academic.dusit.ac.th อาจารย์ที่ปรึกษา อนุมัติการลง ตามวันและเวลาที่ก�ำหนดใน ทะเบียนเรียนของนักศึกษาใน ปฏิทนิ กิจกรรมวชิ าการ ระบบบรหิ ารการศกึ ษา ขั้นตอนท่ี 3 ขน้ั ตอนท่ี นักศึกษาพิมพ์ใบแจ้งค่าธรรมเนียมการ 4 ศึกษาในระบบบริหารการศึกษา https:// academic.dusit.ac.th และช�ำระค่า ธรรมเนียมการศึกษาผ่านธนาคารตามวันที่ นักศึกษาตรวจสอบผลการลง ก�ำหนดไวใ้ นปฏทิ นิ กิจกรรมวิชาการ ทะเบยี นเรยี นของตนเอง ตามวนั ท่ี ก� ำ ห น ด ไ ว ้ ใ น ป ฏิ ทิ น กิ จ ก ร ร ม ข้นั ตอนท่ี วิชาการ ให้นักศึกษาพิมพ์เอกสาร 5 ไวเ้ ปน็ หลักฐานทุกคร้งั https://academic.dusit.ac.th ปฏทิ นิ กจิ กรรมวชิ าการ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 29
การชำ�ระเงนิ คา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา นกั ศกึ ษาทกุ คนจะตอ้ งชำ� คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาในแตล่ ะภาคการศกึ ษา ตาม ค่มู อื ขอ้ มลู การเงนิ -พิมพ์ใบแจง้ หน้ี วนั ทกี่ ำ� หนดในปฏทิ นิ กจิ กรรมวชิ าการของนกั ศกึ ษา หากนกั ศกึ ษาไมส่ ามารถดำ� เนนิ การ ไดห้ รอื มเี หตจุ �ำเป็น ใหด้ ำ� เนนิ การได้ดงั น้ี 1.1 นกั ศึกษาทปี่ ระสงค์จะกู้เงินกองทุน กยศ. หรือ กรอ. ให้ตดิ ตอ่ ดำ� เนินการ แจง้ ความจำ� นงทศี่ นู ยส์ นเทศแนะแนวการศกึ ษาและอาชพี โดยจะตอ้ งดำ� เนนิ การใหเ้ สรจ็ ตามที่กำ� หนด 1.2 นกั ศกึ ษาที่ตอ้ งการขอผอ่ นผนั การชำ� ระคา่ ธรรมเนียมการศึกษา ให้เขยี น คำ� รอ้ งขอผอ่ นผนั ชำ� ระคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา ยนื่ ทคี่ ณะ/โรงเรยี นตน้ สงั กดั เพอ่ื คณะ/ โรงเรียนต้นสังกัดจะได้ด�ำเนินการเสนอเร่ืองเพ่ือพิจารณาอนุมัติ และนักศึกษาจะต้อง ช�ำระคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา ให้เสร็จสิ้นนภายในภาคการศกึ ษานน้ั ๆ ก�ำหนดการช�ำระเงินค่าธรรมเนียมการศกึ ษา ประกาศมหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ การชำ� ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาใหช้ ำ� ระผา่ นธนาคาร ตอ้ งชำ� ระ เรอื่ ง อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา นักศกึ ษา ตามวนั ทก่ี ำ� หนด ในปฏทิ นิ กจิ กรรมวชิ าการของนกั ศกึ ษา โดยสามารถชำ� ระผา่ นธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรอี ยธุ ยา เคาน์เตอร์เซอร์วิส ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ (Counter Service) i-Banking Mobile 30 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
การลงทะเบยี นเรียน แต่ละภาคการศึกษา [ภาคการศกึ ษาที่ 1 และ ภาคการศึกษาที่ 2] นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 9 หนว่ ยกิต และไมเ่ กิน 22 หน่วยกิต สำ� หรับภาคการศึกษาฤดรู อ้ น ลงทะเบียนเรยี นได้ไมเ่ กนิ 9 หนว่ ยกติ นักศึกษาตอ้ งลง ทะเบียนให้เสร็จส้ิน ภายใน 14 วัน นับจากวันเปิดภาคการศึกษาปกติ หรือภายใน 7 วัน นับจากวันเปิดภาคการศึกษา ฤดูรอ้ น โดยสามารถตรวจสอบกำ� หนดการในปฏทิ ินกิจกรรมวชิ ากาของนกั ศึกษาในแตล่ ะภาคการศึกษา ข้ันตอน 1. เเขพ้า่อื ระLบoบgiบnรเิหขาา้ รรกะาบรบศึกษา (https://academic.dusit.ac.th) การลงทะเบยี น 2. uใส(่ชต่อื ัวผเลใู้ ชก็ ้ )แตลาะมรหดัสว้ ผยรา่ หนสัสนำ� หักรศบั กึ นษกัาศเึกชษ่นาuร6ะด2ับ11ป0ร5ญิ 6ญ16า0ต0ร1ี ป5ระกอบด้วย 3. เลือกเมนลู งทะเบียน 4. เลอื กยืนยันข้อมลู การลงทะเบียนเรยี น 5. เลอื กรายงาน --> ผลการลงทะเบียน --> พิมพผ์ ลการลงทะเบยี นเรียน 6. เลอื กรายงาน --> ตารางเรยี น --> พิมพต์ ารางเรียน 7. การตรวจสอบตารางเรียน คู่มอื การลงทะเบียนเรยี น https://academic.dusit.ac.th คมู่ ือการตรวจสอบผลการลงทะเบียน ตารางเรียน / ตารางสอบ นักศึกษาสามารถตรวจสอบตารางเรียนและห้องเรียน / ตารางสอบและ ห้องสอบ ไดท้ ี่ระบบบรหิ ารการศกึ ษา https://academic.dusit.ac.th การสอบ นกั ศกึ ษาตอ้ งเขา้ สอบตามวนั ทกี่ ำ� หนด หากเกดิ กรณที ที่ ำ� การสอ่ ทจุ ริตหรือทจุ รติ ในการสอบ จะถือว่าผิดวินัยนกั ศกึ ษา จะตอ้ งไดร้ ับการพิจารณา โทษทางวนิ ัยตามระเบยี บของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 31
https://academic.dusit.ac.th 32 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ผลการเรยี น สำ� หรับผลการเรียนของนกั ศกึ ษา ใช้ระดบั คะแนน (Grade) เป็นตวั แสดงผล คมู่ ือการตรวจสอบผลการเรียน การเรยี นของนกั ศกึ ษา โดยนกั ศกึ ษาตรวจสอบผลการเรยี นของตนเองไดท้ ร่ี ะบบบรหิ าร การศึกษา https://academic.dusit.ac.th และเม่ือสอบได้ครบทุกรายวิชา ตามโครงสร้างของหลักสูตร และต้องมีระดับคะแนนสะสมตลอดหลักสูตร เท่ากับ 2.00 ขน้ึ ไป นกั ศกึ ษาจงึ จะมสี ทิ ธิ์สำ� เรจ็ การศึกษา และไดร้ บั การเสนอชอื่ เพื่อขออนุมตั ิ ปริญญาต่อสภามหาวิทยาลัยสวนดุสิต ทั้งนี้ รายละเอียดเพ่ิมเติมตามข้อบังคับ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ สญั ลักษณ์ ความหมาย ค่าระดับคะแนน A ดีเย่ียม (Excellent) 4.00 B+ ดีมาก (Very Good) 3.50 ข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ วา่ ดว้ ย B ดี (Good) 3.00 การจดั การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2559 C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) 2.50 C พอใช้ (Fair) 2.00 D+ อ่อน (Poor) 1.50 D ออ่ นมาก (Very Poor) 1.00 F ตก (Fail) 0.00 PD ผา่ นดีเยี่ยม (Pass with Distinction) P ผ่าน (Pass) NP ไม่ผา่ น (No Pass) การประเมนิ อาจารย์ผูส้ อน https://academic.dusit.ac.th นักศึกษาจะต้องประเมินการเรียนการสอนทุกรายวิชา ผ่านระบบบริหารศึกษา https://academic.dusit.ac.th โดยต้องประเมินรายวิชาหมวดศึกษาทั่วไป และ รายวิชาในหลักสูตร หากไม่ประเมินการเรียนการสอน นักศึกษาจะไม่สามารถด�ำเนิน การกจิ กรรมในภาคการศกึ ษาถัดไปได้ การทดสอบความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของ นักศกึ ษา นักศึกษาทุกหลักสูตรท่ีจะส�ำเร็จการศึกษา ต้องผ่านการทดสอบความรู้ความสามารถด้าน ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กำ� หนด ประกาศมหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ เร่ือง การทดสอบความรู้ความสามารถดา้ นภาษาองั กฤษ ของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2563 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 33
เอกสารสำ�คัญทางการศกึ ษาตา่ งๆ การขอเอกสารส�ำคญั ทางการศึกษา [ย่ืนขอได้ทีง่ านบริการนักศกึ ษา ณ จุดบริการ สำ� นกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน อาคาร 2 ชั้น 1] ข้ันตอนการขอเอกสารส�ำคญั ทางการศกึ ษา เอกสาร เอกสารประกอบ ใบรบั รองการเป็นนักศึกษา - คำ� ร้องขอใบรับรองนักศกึ ษา - แสดงบัตรประจำ� ตวั ประชาชน - รูปถา่ ยชดุ นกั ศึกษา ขนาด 1.5 น้ิว จำ� นวน 1 รูป - ค่าธรรมเนียมฉบบั ละ 100 บาท ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) - คำ� ร้องขอใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) - แสดงบตั รประจำ� ตัวประชาชน - สำ� เนาใบเปลยี่ นชอื่ - สกลุ (ถา้ ม)ี - รูปถ่ายชดุ ครยุ ขนาด 1.5 นิ้ว จำ� นวน 1 รปู กรณสี �ำเรจ็ การศึกษา - รปู ถ่ายชุดนักศึกษา ขนาด 1.5 นิว้ จ�ำนวน 1 รปู กรณียังไมส่ ำ� เรจ็ การศึกษา - คา่ ธรรมเนยี มฉบบั ละ 100 บาท ใบรบั รองอื่น ๆ - คำ� ร้องขอใบรับรองอ่นื ๆ - แสดงบตั รประจำ� ตัวประชาชน - คา่ ธรรมเนียมฉบับละ 100 บาท เตรียมรูปถา่ ย 1 รปู /เอกสาร 1 ฉบบั ยนื่ คำ� ร้องกับเจา้ หนา้ ทบี่ รกิ าร ณ จดุ บรกิ าร ช�ำระคา่ ธรรมเนียม ณ กองคลงั ปร เอกสารสารส�ำคัญทางการศกึ ษา เรื่อง ฉบบั ละ 100 บาท รับเอกสาร นดั รบั 3 วันท�ำการ SDUค่าบรกิ ารจดั ส่งเอกสารทางการศกึ ษาทางไปรษณีย์ - ลลงงททะะเเบบียียนนแใบนบปเดรอะว่ เนทกพศเิสศ5ษ0าบ(รEาMสทSา)ตใา่คนงปปญั รระะทเเททศศา15ง00ก00 บบาาารททศึกษาต่างๆ - ต่างประเทศ 1,000 บาท 34 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3 การขอเอกสารสาคัญทางการศกึ ษา
รปู ถา่ ยนักศกึ ษา รปู ถ่ายนรปู ักถศ่ายกึ ขษนาาด 1.5 นว้ิ หรือ 3 X 4 เซนติเมตร รปู ถเา่ ปย็นขนราูปดเด1.่ีย5วนวิ้หนห้ารือตร3งxไ4มเส่ซวนตมเิ หมตมรวกและแว่นตาดา พนื้ หลงั สีฟ้า เปน็ รูปเด่ยี ว หน้าตรง ไม่สวมหมวกและแว่นตาด�ำ พื้นหลงั สฟี ้า นนกั ักศศกึ ึกษษาาหหญญิงงิ ((มมุสสุ ลลมิ ิม)) ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 35
ครยุ วิทยะฐานะของแต่ละหลกั สตู รที่สำ�เร็จการศกึ ษา ประเภทของปริญญา นเิ ทศศาสนติเรทบศณั ศ(ฑนสาิตสศีมต.ว่ บรง.บ) ณั ครฑุศิตคา(สรคสตุศ.ีฟบราา้บ.(ส)คสณั ตีฟ.ฑบร้าิตบ.)ัณฑบิตริหาร(สบธบีชรุธรกมิห.บาจิพ.ร(บ)สูบธีชัณรุธกม.บฑิจพ.บิต)ู ณัเสทฑีเคหติ โลน(ทือโงลลข.ยบลีบ.บิ )ณั แเสฑทดบเี คหิตงรโลหิน(ทือโางลลรข(.ยสบบธลบี ชี.ุรบิธ)ัณกม.แบฑจิดพ.ติงบ)ู ณั ศฑลิ ิตปศ(าศสสแีศศตส.ิลบรปดบ.ศ)(ณัาศสศฑตว.บรติิทบ.)ยัณาฑศส(ติวาีเหทสลต.บือร.บง) ัณฑิต (นศ.บ.) สีแสด สีมว่ ง วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) สเี หลือง การจดั การบัณฑิต (กจ.บ.) สเี ขยี ว นิติศา(สสนีขต.บารวบ.น)ัณติ ฑศิ ิตา(สสนีขต.บารวบ.)รัณัฐรปฐัฑปริตระะศศาาสสส(ส(รรนีนี นนปปา้�ำ้ศศ.ต.ตบาบาาสา.ลส).ตล)ตรบรเบัณศเศณัรฑสษรีเสติฑขฐษเีียศขติ ฐ(วาศยีศขส.(วบศาลตข.สิบร.)บลบตท.ิบัณอร)งบทฑัณอิตงฑศศติกึ ึกษษสสาาีฟีฟศศ((ศ้าศา้าาขษสขษสล.ตลบ.ตบิรบ.บิรบส).บส)้มัณพ้มัณฑยาติฑพสบยติีขาาลา(พวสบศขยาีขาลส.าลบ(ิบตพวศ.แ)รขยาบดลส.งณับบิตฑ.แ)ริตบดงณั ฑิตรฐั ศราฐัสสศ(นี ราตสำ�้.ส(บนีรรเตงบ้า..บร)ินเณังบ.)นิ ณั ฑฑิติตการจ(ัดสกกเีจขา.ียบรวบ.)ัณฑติ 36 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
สาระตอ้ งรู้ ศึกษาข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 และข้อบังคับ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต ว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562 ขอ้ บังคบั นีจ้ ะท�ำให้นักศกึ ษาทราบถึงกฎระเบยี บต่างๆ ทจี่ ะท�ำให้นกั ศกึ ษาทราบวา่ ข้อใดปฏบิ ัติได้ ข้อใดหา้ มปฏบิ ตั ิ นักศกึ ษาจึงควรอ่านทำ� ความเขา้ ใจกบั ขอ้ บงั คับให้มากทส่ี ดุ และหากมขี ้อสงสยั สามารถสอบถามจากอาจารย์ท่ีปรกึ ษาเพมิ่ เติมเพอ่ื ความเขา้ ใจได้ดยี ่งิ ข้นึ การลงทะเบยี นเรียน หรือเพิม่ - ถอนรายวิชา ถึงแม้ว่านักศึกษาจะสามารถลงทะเบียนเรียนออนไลน์ได้ นักศึกษาควรต้องพบอาจารย์ท่ีปรึกษาก่อนด�ำเนินการลง ทะเบยี นเรยี นทกุ ครง้ั โดยใหอ้ าจารยช์ ว่ ยตรวจสอบรายวชิ าทน่ี กั ศกึ ษาตอ้ งลงทะเบยี นเรยี น วา่ ถกู ตอ้ งตามหลกั สตู ร และเปน็ ไปตามข้อบงั คับฯ ปริญญาตรี หรือไม่ เพือ่ ใหน้ กั ศึกษาเรยี นครบหลักสูตรได้ทันตามก�ำหนดหลักสตู ร การเพิ่ม - ถอนรายวชิ า นักศกึ ษาสามารถท�ำการเพม่ิ - ถอนรายวิชา ได้ภายในก�ำหนดการในปฏทิ ินกจิ กรรมวิชาการ หากนักศึกษาลงทะเบียนเรียนล่าช้ากว่าก�ำหนดตามประกาศมหาวิทยาลัยฯ นักศึกษาต้องย่ืนค�ำร้องขอลงทะเบียน เรยี นลา่ ชา้ โดยผา่ นความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา และอาจารยผ์ สู้ อน และตอ้ งชำ� ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มครง้ั ละ 500 บาท การดูปฏิทินกจิ กรรมวิชาการ นักศึกษาต้องด�ำเนินการต่าง ๆ ให้ตรงตามเวลาท่ีปฏิทินกิจกรรมวิชาการก�ำหนด เช่น การช�ำระค่าธรรมเนียมการ ศกึ ษา การลงทะเบยี นเรยี น การเพม่ิ - ถอนรายวชิ า การยนื่ ขอสำ� เรจ็ การศกึ ษา เปน็ ตน้ เพราะหากดำ� เนนิ การลา่ ชา้ นกั ศกึ ษา จะต้องชำ� ระค่าปรบั ค่าธรรมเนียมลา่ ช้า หรอื อาจพ้นสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา ตามระเบียบขอ้ บงั คับฯ ปริญญาตรี ได้ การตรวจสอบขอ้ มลู ของตนเองในระบบบริหารการศึกษา เช่น ค�ำนำ� หน้า ชอื่ -ชื่อสกุล ท้ังภาษาไทย และภาษาองั กฤษ ข้อมูลเบื้องตน้ ตา่ ง ๆ ทนี่ ักศกึ ษาบนั ทกึ ในระบบบรหิ าร การศกึ ษาตัง้ แต่แรกเขา้ ศึกษา หากมขี ้อมูลผดิ พลาดจะมผี ลกระทบตอ่ การออกเอกสารส�ำคญั ทางการศกึ ษา เชน่ การสะกด ชือ่ -ชือ่ สกลุ ภาษาอังกฤษ ไม่ตรงกับบตั รประจำ� ตัวประชาชน หรือหนังสือเดินทาง รวมถงึ มผี ลตอ่ การเสนอชอ่ื เพอ่ื ขออนมุ ตั ิ ปรญิ ญาเมอื่ สำ� เรจ็ การศกึ ษา ทง้ั นนี้ กั ศกึ ษาสามารถตดิ ตอ่ เจา้ หนา้ ทเ่ี พอื่ แจง้ แกไ้ ขขอ้ มลู โดยแนบหลกั ฐานทถี่ กู ตอ้ งไดท้ ี่ งาน บรกิ ารนกั ศกึ ษา ณ จุดบริการ อาคาร 2 ชน้ั 1 สำ� นกั ส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน การขอสอบเน่อื งจากขาดสอบปลายภาค นักศึกษายืน่ ขาดสอบในรายวชิ าทีต่ นเองขาดสอบปลายภาคผา่ นระบบบริหารการศึกษา https://academic.dusit. ac.th ตามระยะเวลาทกี่ �ำหนดในปฏทิ นิ กิจกรรมวิชาการ พร้อมชำ� ระคา่ ธรรมเนยี มคา่ ขาดสอบ จ�ำนวนหนว่ ยกติ ละ 200 บาท ส�ำเนาค�ำร้องพรอ้ มใบเสรจ็ ส่งมายงั งานบรกิ ารนกั ศึกษา ณ จุดบริการ อาคาร 2 ช้ัน 1 สำ� นักสง่ เสริมวชิ าการและงาน ทะเบียน และรับทราบก�ำหนดวันประกาศตารางสอบเพ่ือมาสอบตามวันและเวลาท่ีก�ำหนด หากไม่มาตามวันและเวลาท่ี กำ� หนด ขาดสอบถือว่านกั ศึกษาสละสทิ ธ์ิ ทางมหาวทิ ยาลยั ฯ จะไมด่ ำ� เนินการจัดสอบใหอ้ ีกในภาคการศกึ ษาดงั กลา่ ว การลาออก การขอลาออกของนักศึกษา ย่นื ค�ำร้องขอลาออก ทง่ี านบรกิ ารนักศกึ ษา ณ จดุ บริการ อาคาร 2 ช้ัน 1 ส�ำนกั สง่ เสริม วชิ าการและงานทะเบียน ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 37
การตรวจสอบการสำ� เรจ็ การศึกษา นกั ศกึ ษาดำ� เนนิ การยน่ื คำ� รอ้ งขอสำ� เรจ็ การศกึ ษา ในภาคการศกึ ษาสดุ ทา้ ยทล่ี งทะเบยี นเรยี น โดยนกั ศกึ ษายนื่ คำ� รอ้ ง ขอสำ� เรจ็ การศกึ ษา ผา่ นระบบบรหิ ารการศกึ ษา https://academic.dusit.ac.th พรอ้ มแนบ เอกสารประกอบตามประกาศ มหาวิทยาลัยฯ ก�ำหนด และตรวจสอบขอ้ มูลดงั นี้ ⏩ ตรวจสอบ ชอื่ -ชอ่ื สกุล ยศ (ถ้าม)ี วัน เดอื น ปีเกิด และวุฒิการศกึ ษาเดิม ให้ถกู ตอ้ งตรงตามหลักฐานที่ใหไ้ ว้กบั มหาวิทยาลัยฯ ตอนรายงานตัวเปน็ นกั ศึกษา ⏩ รปู ถ่ายขนาด 1.5 น้ิว หรือ 3 x 4 เซนติเมตร สามชุดครุยวทิ ยฐานะ จำ� นวน 2 รูป ส�ำหรบั ใชต้ ดิ ใบรับรองคุณวฒุ ิ และใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript) ⏩ ตรวจสอบความถกู ต้องในแบบค�ำร้องท่พี มิ พ์ออกจากระบบบรหิ ารการศึกษา นำ� ส่งอาจารย์ทป่ี รึกษาตามเวลาท่ี ก�ำหนดในปฏิทนิ กจิ กรรมวชิ าการ การขอรับปริญญาบัตรในกรณที ่ีไมไ่ ด้เข้ารับพระราชทานปริญญาบตั ร ใหน้ กั ศกึ ษาตดิ ตอ่ ขอรบั ปรญิ ญาบตั รภายใน 2 ปี หากล่าชา้ กว่า 2 ปี นบั จากวันท่ีสภามหาวทิ ยาลยั สวนดุสิตอนุมัติ ตอ้ งชำ� ระคา่ ธรรมเนียมรกั ษาปรญิ ญาบตั ร 500 บาท โดยเขยี นค�ำร้อง สามารถยน่ื คำ� รอ้ งและรอรบั ได้ทันที การได้รบั ปรญิ ญาเกียรตนิ ยิ ม ปรญิ ญาเกยี รตนิ ยิ มอนั ดับ 1 สอบได้ระดับคะแนนไม่นอ้ ยกวา่ 3.60 ปริญญาเกียรตนิ ยิ มอันดับ 2 สอบไดร้ ะดบั คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ 3.25 ถงึ 3.59 โดย สอบไดใ้ นรายวิชาใดๆ ไมต่ ำ�่ กว่า C ไมม่ ผี ลการเรยี น F หรือ NP ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี (6 - 8 ภาคการศึกษา ไม่นบั ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน) ยกเวน้ ระบใุ นแผนการเรียนของหลกั สตู ร และเง่อื นไขอ่ืนๆ ตามขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั สวนดุสิต วา่ ดว้ ย การจดั การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2559 สถานภาพของนักศึกษา สถานภาพของนกั ศกึ ษามี 4 ประเภท ได้แก่ 1. นักศึกษาสภาพปกติ คอื นักศกึ ษาทส่ี อบไดค้ า่ ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมตั้งแต่ 2.00 ขึ้นไป 2. นกั ศึกษาสภาพรอพนิ ิจ คือ นักศกี ษาทส่ี อบไดค้ ่าระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.60 ถงึ 1.99 3. นักศึกษาพักสภาพ คือ นกั ศกึ ษาที่มีสภาพการเป็นนักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ในกรณตี ามข้อ 34/1 ตามขอ้ บังคับ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต วา่ ดว้ ย การจัดการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี (ฉบบั ท่2ี ) พ.ศ. 2562 4. นกั ศกึ ษาพ้นสภาพ คือ นกั ศึกษาท่สี ิ้นสดุ สถานภาพการเปน็ นกั ศกึ ษาของมหาวิทยาลัยในกรณีตาม ข้อ 35 ตาม ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต วา่ ดว้ ย การจดั การศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562 การจ�ำแนกสถานภาพนักศึกษา จะกระท�ำทุกสิ้นปีการศึกษานับตั้งแต่ท่ีนักศึกษาเร่ิมเข้าศึกษากับมหาวิทยาลัย เว้น แตน่ ักศึกษาพกั สภาพ 38 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
การพน้ สถานภาพนกั ศกึ ษา นกั ศกึ ษาจะพ้นสภาพในกรณี ดังนี้ 1. ขาดคณุ สมบตั ขิ องผ้สู มคั รเข้าเปน็ นักศึกษา 2. ตาย 3. ลาออก 4. นักศกึ ษาทม่ี ีระยะเวลาเกนิ เกณฑท์ ่ีก�ำหนด และยงั ไม่ส�ำเร็จการศึกษา 5. เมอื่ มกี ารจำ� แนกสถานภาพนักศึกษา และเป็นนักศึกษาท่ีมีคา่ ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมตำ่� กวา่ 1.60 6. เมอื่ มกี ารจำ� แนกสถานภาพนกั ศกึ ษา และเปน็ นกั ศกึ ษาสภาพรอพนิ จิ ทม่ี คี า่ ระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสมตำ�่ กวา่ 1.80 สองคร้ังตอ่ เน่ืองกนั 7. เมอื่ มีการจ�ำแนกสถานภาพนกั ศึกษา และเป็นนักศึกษาสภาพรอพนิ ิจ 4 คร้งั ตอ่ เน่ืองกนั 8. กระทำ� ผดิ ข้อบงั คับหรอื ระเบียบอ่ืนของมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลยั มคี �ำสง่ั ให้พ้นสภาพการเปน็ นักศึกษา 9. สภามหาวิทยาลยั อนมุ ัตใิ ห้ปรญิ ญา การพักสภาพการเปน็ นกั ศึกษา การพกั สภาพการเป็นนักศกึ ษา คอื การท่นี ักศกึ ษาไม่ลงทะเบยี นเรยี น เมือ่ พ้นก�ำหนดเวลาการลงทะเบียนลา่ ช้าตาม ประกาศของมหาวทิ ยาลยั นกั ศกึ ษาทไ่ี มม่ ารกั ษาสถานภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา หรอื นกั ศกึ ษาทไี่ มช่ ำ� ระคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา 2 ภาคการศกึ ษาติดตอ่ กัน และไมไ่ ด้มาติดต่อกบั ส�ำนกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี นของมหาวทิ ยาลัยในวันสดุ ท้ายของ กำ� หนดการลงทะเบยี นเรยี นลา่ ช้า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 39
สำ�นักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาระบบการเรียนรู้และเทคโนโลยี สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ี เข้าถึงได้จากทุกพน้ื ที่ในมหาวิทยาลัยในรูปแบบ Smart Spaces รองรบั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป อกี ทัง้ ยงั เนน้ การพฒั นาทกั ษะ Digital Literacy ของนกั ศึกษาเพือ่ ขบั เคลอื่ นมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 5.0 และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการ ใหบ้ รกิ ารดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นเครอื ขา่ ยไรส้ าย มากกวา่ 700 จดุ ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถเขา้ ถงึ ระบบสารสนเทศไดท้ กุ วทิ ยาเขต ศนู ย์การศกึ ษา และภายในมหาวทิ ยาลยั ไดอ้ ย่างท่วั ถึง โดยปัจจบุ นั สำ� นักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เปดิ บริการในวนั จันทร์ - วนั ศกุ ร์ เวลา 08.00-16.30 น. ยกเวน้ วันเสาร์ - วนั อาทติ ย์ และวันหยุดนักขตั ฤกษ์ ส�ำนกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายเลขโทรศัพท์ ฝ่ายสำ� นักงานผูอ้ ำ� นวยการสำ� นักวทิ ยบริการฯ 02 244 5301-3, 5306, 5308 ฝา่ ยหอ้ งสมดุ 02 244 5321, 5305 ฝ่ายพฒั นาระบบการเรยี นรู้ (TBL) 02 244 5226, 5220 ฝ่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพิวเตอร ์ 02 244 5240, 5233 ฝ่ายศูนย์ข้อมูลกลาง (Data Center) 02 244 5244, 5225 40 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ระบบการเรียนร้จู ากการทำ�งานแบบผสมผสาน แลระะบศบักกายรเภรียานพรู้จดาก้วกายรทเทางคานโแนบบโลผสยมีผWสาBนแSลCะศักสยำภ�าหพรด้วบั ยนเทกัคโศนโึกลยษี WาBSC สาหรับ นักศึกษา ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 41
การใชง้ านแอปพลิเคชนั Microsoft Teams สำ�หรบั เรยี นออนไลน์ นักศึกษาสามารถใช้งานผ่านแอปพลิเคชั่น Microsoft Teams บนสมาร์ทโฟน แท็บเล็ตได้ โดยเข้าไปดาวน์โหลด แอปพลเิ คชนั่ Microsoft Teams และติดตัง้ บนสมารท์ โฟน แทบ็ เลต็ ของตนเอง การลงชือ่ เข้าใชง้ านด้วยอเี มลมหาวิทยาลัย รูปแบบเมลของนักศึกษา เช่น u6211165425@mail.dusit.ac.th เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วนักศึกษาจะพบกับ Class หรือ Teams ของรายวชิ าที่อาจารยส์ รา้ งขน้ึ เพ่ือใชใ้ นการสอนออนไลน์ ใหก้ ด Join ปฏิทินเมือ่ ถึงเวลานัดหมายในการเรียน และ ในระหว่างเรียนทุกคร้ังหากนักศึกษาไม่มีค�ำถามหรือข้อสงสัยให้กดปิดไมโครโฟนของตนเองเพื่อป้องกันเสียงรบกวนต่อ ผูอ้ ืน่ ในระหว่างเรยี น การใชง านแอปพลิเคชัน Microsoft Teams สำหรบั เรียนออนไลน 1 ดตาิดวตนง้ั โ MหลicดrแosอoปftพTลeิเคamชันs ลMงiบcrนoอsoปุ fกt รTณeaโ mมบsาย 2 ลงชื่อเขา ใชงาน Microsoft Teams 3 โดยใชอ ีเมลของมหาวิทยาลัยในการเขา ระบบ u6211165425@mail.dusit.ac.th ปไใปหฏคทิทลี่เินมิกนท(Cปู ี่ปaฏุมlิทeJnินodเiaพn)ื่อMเรiียcrนoอsอofนtไTลeนa ms 4 รว มเรียนออนไลนด ว ย Microsoft Teams กดปดที่ ในระหวา งเรียน เมื่อตองการพูดหรือตอบคำถามใหก ดที่ 42 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
จดั พน้ื ทก่ี ารเรยี นรแู้ บบ Co-Working Spaces เพือ่ สนับสนนุ การให้บรกิ าร Café Library ของมหาวิทยาลยั จำ� นวน 13 แหง่ โดยเน้นการให้บรกิ ารสืบคน้ ความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ และบริการอา่ นหนังสือออนไลน์ (e-Book) บริการหอ้ งสมุดออนไลน์ผ่านระบบ SDU Discovery Service (EDS) เป็นบรกิ าร One Search ท่ีเช่ือมโยงฐาน ขอ้ มลู หอ้ งสมดุ และฐานขอ้ มลู ทรพั ยากรสารสนเทศของหอ้ งสมดุ เชน่ ทรพั ยากรหนงั สอื ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ประเภท e-book วารสาร บทความ และงานวิจัย เมอื่ ใส่คำ� คน้ ระบบจะทำ� การสืบค้นขอ้ มูลไปยงั ทรัพยากรสารสนเทศทุกฐาน สามารถเขา้ ใช้ บริการได้ท่ี (https://arit.dusit.ac.th/2019/) บรกิ ารหอ้ งสมดุ ออนไลน์ ผา่ นระบบ SDU Discovery Service (EDS) http://arit.dusit.ac.th/2019/ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 43
บริการแหล่งเรียนร้อู อนไลน์ ประกอบด้วยส่ือการเรียนออนไลน์ เช่น ระบบ SDU MOOC ระบบ SDU Sharing บริการเรียนภาษาอังกฤษ ออนไลน์English Discovery ระบบ e-Learning และฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ครอบคลุมทุกหลักสตู รที่เปิดการเรยี นการสอน มากกวา่ 25 ฐานข้อมลู บรกิ ารแหล่งเรยี นรอู้ อนไลน์ http://www.dusit.ac.th/learning-resources 44 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
บรกิ าร IT ในรปู แบบออนไลน์ โดยสามารถเขา้ ถงึ ผา่ นทาง http://arit.dusit.ac.th/2019/it เพอื่ อำ� นวยความสะดวก ใหก้ ับนักศึกษาในการใช้งานบริการ IT เชน่ บริการเครอื ข่ายไรส้ าย บริการ eduroam บรกิ าร Microsoft 365 บรกิ ารอเี มล บริการการประชุมออนไลน์ บริการจัดเก็บข้อมูลบน One Drive ฟรี 1 TB และบริการดาวน์โหลดโปรแกรม Microsoft Office เป็นต้น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 45 บริการ Café Library จำนวน 13 แห่ง เน้นกำรให้บริกำรสืบค้นควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ และ
บริการ Café Library จ�ำนวน 13 แห่ง เน้นการให้บริการสืบค้นความรู้จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ และบริการ อ่านหนงั สอื ออนไลน์ (e-Book) ฟรี ผ่านบรกิ าร Internet สำ� หรับนักศกึ ษา เข้าถึงได้จาก SSID “DUSIT-SECURE” และ ส�ำหรบั บุคคลภายนอก เขา้ ถึงได้จาก SSID “DUSIT-CAFÉ” 46 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
สำ� นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (อาคาร 6) มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ เลขท่ี 295 ถนนนครราชสมี า เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300 @aritdusit www.arit.dusit.ac.th 02 244 5308 สำ� นักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ http://www.arit.dusit.ac.th/2019/ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 47
สถาบนั ภาษา ศิลปะและวฒั นธรรม สถาบันภาษา ศลิ ปะและวัฒนธรรม มีพันธกจิ ในการส่งเสริมและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนกั ศึกษา ตลอดจน การท�ำนบุ �ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม การสืบสานวัฒนธรรมอนั ดงี ามของสวนดสุ ิต ใหเ้ ปน็ ทปี่ ระจกั ษแ์ ก่สังคม กิจกรรมการใหบ้ รกิ ารทสี่ ำ� คญั ของสถาบันภาษา ศลิ ปะและวฒั นธรรม ส�ำหรบั นักศกึ ษา มหาวิทยาสวนดุสติ ไดแ้ ก่ 1. การให้บริการด้านภาษาตา่ งประเทศ - การจัดสอบวัดระดับความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน Test of English for International Communication (TOEIC) ข้นั ตอนการสมคั รสอบ TOEIC ขัน้ ตอน 1. ดาวโหลดใบสมัครไดจากเว็บไซต http ://ilac .dusit dusit .ac .th การสมัคร สมัครดว ยตนเองท่สี ถาบนั ภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม หรอื วทิ ยาเขต/ศูนยก ารศึกษา สอบ TOEIC 2. นอกตง้ั พรอมแสดงบัตรประจำตัวนกั ศกึ ษาและบตั รประจำตวั ประชาชนทเ่ี หลืออายุ ไมน อ ยกวา 3 เดอื น กอนวันสอบ 3. นกั ศกึ ษาตองแตงกายถูกตอ งตามระเบียบของมหาวิทยาลยั สวนดุสติ เทา นัน้ 4. นกั ศกึ ษาตองชำระคา สมคั รสอบเปน เงินสดเทาน้ัน 5. ประกาศรายชือ่ เลขที่นง่ั สอบและสถานทสี่ อบกอ นวันสอบอยา งนอ ย 2 วนั เทานน้ั ผา นทางเวบ็ ไซต 48 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 3
ประกาศมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต เรือ่ ง การทดสอบความรคู้ วามสามารถด้านภาษาองั กฤษของนกั ศึกษา พ.ศ. 2563 1. รายงานตัวและลงทะเบียนเขา สอบกอนเวลาสอบอยา งนอย 30 นาที 2. แสดงบัตรประจำตัวประชาชนและบตั รประจำตวั นกั ศึกษาตวั จริง โดยตองแสดงทงั้ 2 บัตร มิฉะนั้นจะไมอนญุ าตใหเ ขาสอบไมว ากรณใี ดๆ 3. ผูเขา สอบตองนั่งตามที่นั่ง ซงึ่ เจา หนา ท่กี ำหนดใหเ ทา นน้ั ข้นั ตอน 4. ไมอนุญาตใหผ เู ขาสอบออกจากหอ งสอบจนกวาเจาหนา ที่จะแจงวาจบกระบวนการสอบเสร็จสนิ้ ลง การสมัคร และใหอนญุ าตออกจากหอ งสอบได สอบ TOEIC 5. นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรีตองแตงกายชดุ นกั ศึกษาตามระเบยี บ นักศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา แตง กายดว ยชดุ สุภาพในวันสอบ 6. สถาบันภาษา ศิลปะและวฒั นธรรมจะไมคืนเงนิ คา สมคั รสอบไมวา กรณีใดๆ หากนักศกึ ษาไมเ ขา สอบตามวัน เวลาและสถานท่ีท่กี ำหนด 7. นักศกึ ษาท่มี ีเหล็กดามในรางกายเน่ืองจากอุบัติเหตุ ตอ งนำใบรบั รองแพทยจากโรงพยาบาล เทา นน้ั มาแสดงในวนั เขาสอบดวย การรบั ผลสอบ นกั ศกึ ษาต้องมารับด้วยตนเองเท่านั้น - ผู้ที่เข้าสอบ ณ กรุงเทพมหานคร รับผลสอบได้ท่ีสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม ประมาณ 5 วันท�ำการ หลังการสอบ - ผู้เข้าสอบ ณ วิทยาเขต หรือศูนย์การศึกษานอกท่ีตั้ง รับผลสอบท่ีวิทยาเขตหรือศูนย์การศึกษานอกที่ต้ัง ประมาณ 7-10 วนั ทำ� การ หลงั การสอบ - ศูนยก์ ารเรยี นร้ภู าษาดว้ ยตนเอง (Self-Access Language Learning Center) - การบริการจัดสอบวัดระดบั ความรู้ความสามารถดา้ นภาษาจนี ตามเกณฑ์มาตรฐาน HSK และ HSKK ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 49
Search