การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ นางสาวสุภัสสร กาลงั การ เลขท่ี 10 ปวส.2 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 เสนอ อาจารย์ นายทวศี ักด์ิ หนูทมิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ปี การศึกษา 2562
การส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ความหมายการส่ือสารข้อมูล การสื่อสารขอ้ มูลทางคอมพวิ เตอร์ หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ขอ้ มูลหรือการแลกเปลี่ยน ขอ้ มูลระหวา่ งผูส้ ่งตน้ ทางกบั ผูร้ ับปลายทาง ท้งั ขอ้ มูลประเภท ขอ้ ความ รูปภาพ เสียง หรือขอ้ มูลสื่อผสม โดยผสู้ ่งตน้ ทางส่งขอ้ มูลผา่ นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีหนา้ ท่ีแปลงขอ้ มูลเหล่าน้นั ใหอ้ ยู่ ในรูปสญั ญาณทางไฟฟ้า (Electronic data) จากน้นั ถึงส่งไปยงั อุปกรณ์หรือคอมพวิ เตอร์ปลายทาง เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) เป็ นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเขา้ ดว้ ยกนั เพื่อให้สามารถใชข้ อ้ มูลร่วมกนั ได้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกตามการเชื่อมโยงไดเ้ ป็ น 4 ชนิด ดงั น้ี 2.1 เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal Area Network : PAN) เป็ นเครือข่ายท่ีใช่ส่วนบุคคล ซ่ึงเป็ นการเชื่อมต่อแบบไร้สายในระยะใกล้ 2.2 เครื อข่ายเฉพาะท่ี หรื อ (Local Area Network : LAN) เป็ นเครื อข่ายขนาดเล็กซ่ึงเช่ือมโยง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ส่ือสารท่ีอยใู่ นทอ้ งท่ีบริเวณเดียวกนั เขา้ ดว้ ยกนั 2.3 เครือขา่ ยนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือขา่ ยที่เช่ือมโยง แลนท่ีอยหู่ ่างกนั
2.4 เครือขา่ ยวงกวา้ ง หรือแวน (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ ท่ีเชื่อมโยงระบบคอมพวิ เตอร์ในระยะห่างไกล มีการติดตอ่ ส่ือสารกนั ในบริเวณกวา้ ง ชนิดของการสื่อสาร 1. การส่ือสารขอ้ มูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็นการติดต่อส่ือสารเพียงทิศทางเดียว 2. การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางสลบั กนั (Half Duplex Transmission)สามารถส่งขอ้ มูลในเวลาใด เวลาหน่ึง ไปในทิศทางเดียวเท่าน้นั ท้งั ฝ่ ายส่งและฝ่ ายรับ 3. การสื่อสารขอ้ มูลสองทิศทางพร้อมกนั (Full Duplex Transmission)สามารถส่งขอ้ มูลในเวลาใด เวลาหน่ึง ไดท้ ้งั 2ทิศทาง ท้งั ฝ่ ายส่งและฝ่ ายรับ
โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (TOPOLOGY) 5 ประเภท ดังนี้ 1.แบบบสั (bus topology) ข้อดี -ใชส้ ื่อนาขอ้ มูลนอ้ ย ช่วยใหป้ ระหยดั ค่าใชจ้ า่ ย -ถา้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องใดเคร่ืองหน่ึงเสียก็จะไม่ส่งผล ตอ่ การทางานของระบบโดยรวม ข้อเสีย -การตรวจจุดท่ีมีปัญหา กระทาไดค้ ่อนขา้ งยาก และถา้ มีจาน วนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่ง ขอ้ มูลชนกนั มากจนเป็นปัญหา 2. แบบวงแหวน (ring topology) ข้อดี – ใชส้ ายเคเบิล้ นอ้ ย ข้อเสีย -แพก็ เก็ตขอ้ มูลจะตอ้ งผา่ นคอมพวิ เตอร์ทุกเครื่องระหวา่ งผู้ ส่งและผรู้ ับดงั น้นั ส่ิงน้ีทาใหม้ นั ชา้ ลง
3. แบบต้นไม้ (Tree Topology) ข้อดี – มีความเร็วในการสื่อสารขอ้ มูลสูง โปรแกรมที่ใชใ้ นการควบคุมการ ส่ือสารก็เป็นแบบพ้นื ฐานไม่ซบั ซอ้ นมากนกั ข้อเสีย – จานวนสายท่ีใช้ตอ้ งมีจานวนมากและอินพุด / เอาต์พุตพอร์ต (i / o port ) ตอ้ งใชจ้ านวนมากเช่นกนั เพราะแต่ละเคร่ืองตอ้ งต่อเชื่อมไปยงั ทุก ๆ เครื่องทาใหก้ ารติดต้งั หรือแกไ้ ขระบบทาไดย้ าก 4.แบบผสม (Hybrid Network) ข้อดี - สามารถเขา้ ถึงเครือข่ายที่อยใู่ นระยะไกลได้ - ทาใหก้ ารส่ือสารขอ้ มูลมีประสิทธิภาพ ข้อเสีย - ดูแลระบบยาก และเสียค่าใชจ้ า่ ยในการดูแลรักษาสูง - โครงสร้างมีความซบั ซอ้ นมีรูปแบบไมแ่ น่นอน 5. แบบดาว (star topology) ข้อดี -ถา้ ตอ้ งการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เคร่ืองใหม่ก็สามารถทาไดง้ ่าย และไม่กระทบต่อเคร่ืองคอมพวิ เตอร์อ่ืนๆ ในระบบ ข้อเสีย -ค่าใชจ้ ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนขา้ งสูง และเมื่อฮบั ไม่ทา งาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ท้งั ระบบก็จะหยดุ ตามไปดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: