เทคโนโลยีสมยั ใหมก่ ับการศึกษา บทบาทสาคญั ของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและการยกระดับการศึกษา เป็นการศึกษาตลอดชีวติ การประยุกต์ใช้ ICT เพ่อื การบริหารการศกึ ษา พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เป็น กฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาของชาตฉิ บับแรกของประเทศ ซงึ่ มีผลบังคับใชต้ ้ังแตว่ นั ท่ี 20 สงิ หาคม 2542 เป็น ต้นมา มีสาระสาคญั ท่ใี ชเ้ ปน็ หลกั ในการปฏิรูปการศกึ ษาของชาติท้งั ในส่วนทเ่ี ปน็ ความมุ่งหมาย หลักการของ การจดั การศึกษา สทิ ธิและหน้าท่ีทางการศึกษา ระบบการศึกษา แนวทางจดั การศึกษาการบรหิ ารและจัด การศึกษา มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศึกษา ครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทรพั ยากร และการลงทนุ เพ่ือการศึกษา และเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.2542) สาหรบั การกาหนด รูปแบบของการจดั การศึกษาตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ไดแ้ บ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. การศึกษาในระบบ เปน็ การศึกษาท่ีมีแนน่ อนในจดุ มุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ การศกึ ษา การวดั และประเมินผล รวมท้งั มีการกาหนดเงือ่ นไขของการสาเร็จการศึกษาทีแ่ น่นอน 2. การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาท่มี ีความยดึ หย่นุ ในการกาจุดมุง่ หมาย รูปแบบ วิธกี ารจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั ผลและประเมินผล รวมท้งั เง่ือนไขของการสาเร็จ การศึกษา โดยเนอ้ื หาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการของ บุคคลแตล่ ะกลมุ่ 3. การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เป็นการศึกษาท่ผี เู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ด้วยตัวเอง ตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพร้อมและโอกาสโดยสามารถศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สงั คม สภาพแวดลอ้ ม สอื่ หรือ แหลง่ ความรู้อืน่ ๆจากรปู แบบของการจัดการศึกษาทง้ั 3 รูปแบบดังกลา่ วไดส้ ะท้อนความต่นื ตวั ทจ่ี ะปฏริ ูป การศึกษาโดยยึดหลกั การ ศึกษาตลอดชวี ิตทเ่ี นน้ ให้ผ้เู รยี นทุกคนมีความสามารถในการเรยี นรู้และพัฒนาตน เองไดว้ างเปา้ หมายในการสร้างใหค้ นไทยเปน็ คนเกง่ คนดี มีความสขุ เปน็ ทรัพยากรบุคคลท่ีสามารถพัฒนา ประเทศใหเ้ จริญก้าวหน้าได้อยา่ งยง่ั ยนื (รงุ่ แกว้ แดง, 2543 : 18) นอกจากน้ันสาระในหมวด 9 ของ พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ยงั ไดก้ าหนดถงึ บทบาทหนา้ ท่ขี องรัฐเกยี่ วกบั การจดั การด้าน เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา โดยกาหนดขอบเขตครอบคลมุ ไปถงึ การจดั การโครงสร้างพื้นฐานการพฒั นาบุคลากร การจัดตั้งกองทนุ และหนว่ ยงานกลางเพ่ือวางนโยบายและบรหิ ารงานเกยี่ วกับเทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา จะเหน็ ได้วา่ การจดั การศึกษาในยุคของการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้เปล่ยี นแปลงกระบวนการเรยี นร้แู ละความ ตอ้ งการในการศกึ ษาในอนาคต สอื่ และอปุ กรณ์การศึกษารูปแบบใหม่เข้ามาแทนท่ีสอื่ แบบเก่า มแี หล่ง ทรพั ยากรการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย จะเป็นส่งิ ที่ชว่ ยสนบั สนนุ การเรียนรูใ้ นสภาพแวดลอ้ มทางการศึกษาแบบ ใหม่ การปฏิรปู การศึกษาจะเปน็ การปรบั ปรุงโครงสรา้ งท้ังระบบใหม่ โดยเฉพาะการบริหารและการจัด การศึกษา ซง่ึ จากเดมิ โรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษาเปน็ ผู้รับผดิ ชอบ เปล่ียนมาเป็นสังคมและชมุ ชนร่วมกัน รบั ผิดชอบต่อการจดั การศกึ ษามากยง่ิ ข้ึน ฉะนนั้ การจดั การศกึ ษาไม่ว่าจะเป็นในระบบ นอกระบบและตาม อัธยาศยั จะเชือ่ มโยงและเขา้ หากันมากข้นึ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศจะช่วยใหก้ ารจดั การเรยี นการสอน ผสมผสานกันและเออ้ื ประโยชนใ์ นทกุ กลมุ่ เป้าหมาย การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ ห้สอดคล้องกบั ยุค
ปฏิรปู การศกึ ษาตามระบบการศึกษา ท้งั ในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย จะส่งผลดีอยา่ งไรนั้น ผเู้ ขยี น ขอประมวลเปน็ ภาพรวม ดงั นี้ 1. การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมและพฒั นาการเรยี นการสอนโดยยึด ผเู้ รยี นเป็นสาคญั นัน้ จะทาให้ผูเ้ รียนเกิดความรแู้ ละความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ โดยฝึกการคดิ วิเคราะห์อย่างมี เหตผุ ล เพ่ือนาความรูแ้ ละองค์ความรทู้ ี่เกดิ ข้นึ ไปใชใ้ นการพัฒนาตนเองและสังคมได้ 2. การจดั ระบบเครือข่ายการเรยี นรทู้ ใ่ี ห้มแี หลง่ ความรูท้ หี่ ลากหลาย สาหรบั การค้นคว้าหา ความรทู้ ุก ๆ ดา้ นทผี่ เู้ รยี นตอ้ งการและเหมาะสมกับผู้เรยี น เชน่ ส่อื มวลชนทุกแขนงเครอื ข่ายสารสนเทศ ทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ ชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้านและหน่วยงานต่าง ๆ จะทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรูพ้ ฒั นาตนเอง และพฒั นาสังคมและส่งิ แวดล้อมไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง 3. การปรบั กระบวนการเรียนการสอน โดยเนน้ ใหค้ รูเปน็ เพยี งผู้อานวยความสะดวกและ ชแ้ี นะให้ ผู้เรยี นทาการศึกษาคน้ ควา้ คดิ และตดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและระบบเครือขา่ ยการ เรียนรู้เปน็ เคร่ืองมอื ขณะเดียวกนั ครตู อ้ งเปน็ ตน้ แบบด้านคุณธรรม และจรยิ ธรรมดว้ ย ซึ่งตอ้ งปลูกฝังท้งั ใน ช่วั โมงเรยี นและกจิ กรรมการฝึกปฏบิ ตั ิ 4. สง่ เสรมิ การเรียนรูต้ ามอัธยาศยั โดยการประสานกบั ชุมชนและทอ้ งถ่นิ ในการพฒั นาการ เรยี นการ สอนตามอธั ยาศยั เนน้ การคน้ คว้าและทักษะการสืบค้นสารสนเทศ ให้ผูเ้ รียนใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการส่ือสาร ขอ้ มูลทางไกลผ่านระบบเครือข่ายได้ รวมท้งั ประเมินผลจากการนามาใช้มากกว่าการจดจาเน้อื หา ท่ีกลา่ วมา เป็นแนวความคดิ ในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาช่วยพัฒนา การศึกษาตามแนวทางการปฏริ ูปการศึกษาท้ังในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศัย ผู้เขียน เชอ่ื ว่าใน อนาคตอันใกล้นี้การศึกษาจะไรข้ ีดพรมแดน ข้อจากดั ในด้านสถานท่ี เวลา และดา้ นอ่ืนๆ จะไม่เป็นอุปสรรคใน การเรียนรู้อีกตอ่ ไป โดยเฉพาะการเปิดโอกาสให้ชุมชนมสี ิทธิและสว่ นรว่ มในการกาหนดแนวทางจดั การศึกษา โดยใชช้ มุ ชนเป็นฐานในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยระดมทรัพยากรและทุนทางสังคมเข้ามาเป็น ปจั จยั ในการจดั กิจกรรม ไมจ่ าเป็นจะต้องมุง่ ใชง้ บประมาณจากรฐั แตเ่ พียงอยา่ งเดียว ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ โอกาสและ นมิ ติ หมายทีด่ ี ที่ชุมชนจะได้มีส่วนรว่ มในการบรู ณาการภมู ิปัญญาชาวบา้ น จารีตประเพณแี ละวัฒนธรรมอนั ดีงามของท้องถ่นิ เขา้ กับการจัดการศึกษาในชมุ ชน โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เครือ่ งมือ ปัจจุบันการศกึ ษากา้ วเขา้ สโู่ ลกแห่งเทคโนโลยี การจดั การเรียนการสอนก็เปล่ยี นไปในรูป e- learningซึง่ ต้องสนองตอบการศึกษาไดท้ ุกรปู แบบทั้งในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศยั ตลอดจนสามารถ เรียนรไู้ ด้ด้วยตนเองโดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี เพราะฉะนัน้ การบรหิ ารจดั การก็จาเปน็ ต้อง ส่งเสรมิ และ พฒั นาใหท้ ันกบั สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลง โดยการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ระบบฐานขอ้ มลู เพ่ือการ บรหิ ารจดั การ และพฒั นาบคุ ลากรในสถานศึกษาให้มคี วามรู้ ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ในการ จดั การเรยี นการสอนและการปฏิบัตงิ านในหนา้ ที่ โดยจัดทาข้อมลู สารสนเทศเช่อื มโยงแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ตลอดจนใหบ้ ริการทางการศกึ ษา ส่งเสริมให้มีการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน จดั หา คอมพิวเตอรท์ ่ีมี คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพในการใช้ปฏบิ ัติงานท่มี ุ่งเน้นผลสมั ฤทธิ์ของงานในการจัดการศึกษา ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น ใชป้ ระโยชนจ์ าก ICTเพ่ือการเรียนรู้ ให้มกี ารสอนผ่าน e-learning จัดให้มีหอ้ งสมุดอีเล็กทรอนคิ ส์เพื่อสง่ เสริม ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ติ ซ่งึ นาไปสสู่ ังคมแห่งคุณธรรมและสังคมแห่ง ภมู ปิ ัญญา และการเรียนรู้ พอสรปุ ได้ว่า “ ICT ได้เข้ามามีบทบาทเปน็ อยา่ งมากในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั และการจดั การเรยี น
การสอนในสังคมปัจจบุ นั ทาใหเ้ ด็กไทยสามารถรบั รเู้ ร่ืองราวข่าวสารที่ทนั สมัย ทนั โลก ทันเหตุการณ์ ทุก โรงเรียน” รูปแบบการจดั การความรใู้ นสถานศึกษา การเรียนร้แู ละนวตั กรรมเป็นปจั จัยสาคญั ในการพัฒนาประเทศในอนาคต จงึ มคี วามจาเป็น อย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องสง่ เสรมิ และสร้างสภาพการณ์ เพือ่ ให้ทกุ คนมสี ทิ ธิและความเสมอภาคในการเรียนรูอ้ ยา่ ง ตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต“ สังคมแห่งการเรียนรูเ้ ปน็ สงั คมแหง่ ภูมิปญั ญา ตระหนกั ถงึ ความสาคัญ ความจาเปน็ ของ การเรยี นรทู้ ่ที ุกคนและทุกส่วนในสังคมมีความใฝ่รแู้ ละพร้อมท่ีจะเรยี นรู้อย่เู สมอ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ เป็น เรือ่ งที่เกิดขน้ึ และมีความต่อเนื่องเปน็ ปกติวิสยั ในชีวติ ประจาวนั ของคนทุกคน ไปจนตลอดการสิน้ อายขุ ัย เป็น การเรยี นร้ทู เี่ กิดขน้ึ ได้ในทุกเวลา ทกุ สถานที่ ของคนทกุ คนในทกุ สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ในสถานศึกษาก็ เชน่ เดียวกัน การท่ีจะสรา้ งสมรรถนะคนในสถานศึกษาให้เป็นบุคคลแหง่ การเรียนรนู้ นั้ ผบู้ รหิ ารจาเปน็ ตอ้ ง ส่งเสริมการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้ เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ วิเคราะหป์ ญั หาท่ีเกิดจากการใช้นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ สรา้ งแหล่งการเรยี นร้แู ละเครือขา่ ยการเรียนรู้ รวมถงึ นวัตกรรมตา่ งๆ เพือ่ ให้ บคุ คลในสถานศึกษาเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง เป้าหมายปลายทางของการจัดกระบวนการเรียนรู้ ท่ีมงุ่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรา้ งความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง คือการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั และครูจะมีบทบาทสาคัญท่สี ดุ ในการชี้แนะ กระต้นุ ผลกั ดัน อานวยความสะดวกให้ผเู้ รยี น ได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ โดยใชร้ ปู แบบการจัดกจิ กรรมในการจัดการเรยี นรู้ คือ 1. Active Learning เปน็ กจิ กรรมทีผ่ ู้เรียนเป็นผ้กู ระทา หรือปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ด้วยความ กระตือรอื รน้ เชน่ ได้คดิ ค้นคว้า ทดลองรายงาน ทาโครงการ สมั ภาษณ์ แก้ปญั หา ฯลฯ ได้ใช้ ประสาทสัมผัส ตา่ ง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรูด้ ้วยตนเองอย่างแท้จรงิ ผสู้ อนทาหนา้ ที่ เตรยี มการจดั บรรยากาศการเรียนรู้ จัดสอ่ื สิ่งเร้าเสริมแรงให้คาปรกึ ษาและสรุปสาระการเรียนรูร้ ่วมกัน 2. Construct เปน็ กิจกรรมทผี่ ู้เรียนไดค้ น้ พบสาระสาคญั หรือองค์การความรใู้ หมด่ ว้ ยตนเอง อนั เกดิ จากการไดศ้ ึกษาคน้ คว้าทดลอง แลกเปลี่ยนเรยี นรู้และลงมือปฏบิ ัติจริง ทาให้ ผู้เรียนรักการอ่าน รกั การศึกษาค้นคว้าเกิดทกั ษะในการแสวงหาความรู้ เห็นความสาคญั ของการเรียนรู้ ซง่ึ นาไปสู่ การเปน็ บคุ คล แหง่ การเรียนรู้ (Learning Man) ท่ีพึงประสงค์ 3. Resource เปน็ กิจกรรมทผี่ ้เู รยี นไดเ้ รียนร้จู ากแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ ท่ีหลากหลายทงั้ บุคคล และ เครอื่ งมือท้ังในห้องเรยี น และนอกหอ้ งเรยี น ผู้เรียนได้สมั ผสั และสัมพนั ธ์ กบั สง่ิ แวดลอ้ มทง้ั ท่ี เปน็ มนษุ ย์ (เชน่ ชุมชน ครอบครัว องค์กรต่าง ๆ) ธรรมชาติและเทคโนโลยี ตามหลักการที่ว่า \"การเรียนรเู้ กดิ ขนึ้ ได้ทกุ ที่ ทุกเวลาและทุกสถานการณ์)\" 4. Thinking เป็นกิจกรรมท่สี ่งเสรมิ กระบวนการคดิ ผู้เรยี นไดฝ้ ึกวิธคี ดิ ในหลายลกั ษณะ เชน่ คิดคลอ่ ง คดิ หลากหลาย คดิ ละเอียด คดิ ชดั เจน คดิ ถูก ทางคดิ กวา้ ง คิดลึกซ้งึ คดิ ไกล คิดอยา่ งมเี หตผุ ล เป็น ตน้ (ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2543 : 55-59) การฝกึ ให้ผเู้ รยี นได้คิดอยู่เสมอในลักษณะ ตา่ ง ๆ จะทาให้ ผเู้ รยี นเป็นคนคิดเป็น แก้ปัญหาเปน็ คิดอยา่ งรอบคอบมีเหตุผล มีวจิ ารณญาณ ในการคิด มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ทจี่ ะเลือกรับและปฏเิ สธข้อมลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ตลอดจน สามารถแสดงความคิด เหน็ ออกไดอ้ ยา่ งชดั เจนและมี เหตผุ ลอันเป็นประโยชน์ตอ่ การดารง ชวี ติ ประจาวนั 5. Happiness เปน็ กจิ กรรมท่ีผ้เู รียนได้เรยี นอย่างมีความสขุ เปน็ ความสขุ ทเี่ กิดจาก ประการท่ี หน่ึง ผ้เู รียนได้เรียนในสงิ่ ทต่ี นสนใจสาระการเรียนรู้ ชวนใหส้ นใจใฝค่ น้ ควา้ ศึกษาท้าทาย ใหแ้ สดง
ความสามารถและให้ใช้ศกั ยภาพของตนอย่างเต็มที่ ประการที่สองปฏสิ ัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างผู้เรยี น กับผ้สู อนและระหวา่ งผเู้ รยี นกับผูเ้ รยี น มีลักษณะเปน็ กัลยาณมิตร มีการชว่ ยเหลือ เกอื้ กูลซ่งึ กนั และกนั มี กจิ กรรมรว่ มดว้ ยชว่ ยกนั ทาให้ผูเ้ รียนรู้สกึ มีความสุขและสนุกกับการเรยี น 6. Participation เปน็ กจิ กรรมที่ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการวางแผนกาหนดงาน วางเปา้ หมาย รว่ มกนั และมโี อกาสเลอื กทางานหรือศึกษาคน้ คว้าในเรื่องทีต่ รงกบั ความถนัดความสามารถ ความสนใจ ของ ตนเอง ทาให้ผ้เู รียนเรยี นด้วยความกระตือรือร้น มองเหน็ คุณคา่ ของสิง่ ท่ีเรยี นและสามารถ ประยุกต์ความรู้ นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง 7. Individualization เปน็ กิจกรรมท่ีผสู้ อนให้ความสาคัญแก่ผเู้ รยี นในความเปน็ เอกัตบุคคล ผสู้ อนยอมรับในความสามารถ ความคดิ เห็น ความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผเู้ รียน มงุ่ ให้ผเู้ รยี นได้พฒั นา ตนเองให้เต็มศักยภาพมากกว่าเปรียบเทียบแข่งขนั ระหว่างกันโดยมคี วามเชอ่ื มัน่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถ ในการเรยี นรไู้ ด้ และมวี ธิ ีการเรียนรทู้ ่แี ตกต่างกัน 8. Good Habit เป็นกิจกรรมท่ผี เู้ รยี นได้พฒั นาคุณลักษณะนิสยั ท่ดี งี าม เชน่ ความรับผดิ ชอบ ความเมตตา กรุณา ความมีน้าใจ ความขยัน ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ความเสียสละ ฯลฯ และ ลักษณะนิสยั ในการ ทางานอย่างเปน็ กระบวนการการทางานรว่ มกบั ผูอ้ ืน่ การยอมรับผอู้ ่นื และ การเหน็ คณุ ค่าของงาน เป็นต้น แหล่งอ้างองิ ฟาฏินา วงศเ์ ลขา . การประยุกต์ใช้ ICT เพ่ือการบรหิ ารการศกึ ษา [online]. เข้าถึงได้จาก : http://gotoknow.org/file/sukontasun. (2552, กุมภาพนั ธ์ 15 ) แหลง่ อ้างองิ เขา้ ถึงได้จาก : http://gotoknow.org/blog/teera971/242905. (2552, กุมภาพนั ธ์ 22) ขอ้ มลู อ้างองิ บทความเร่ือง การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดย ผศ.อาภรณ์ ใจเท่ียง วารสารครุ สาร คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั นครปฐม ปีท่ี 3 ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2544 ทีม่ า : http://learners.in.th/blog/romeod379/84214 แหลง่ อ้างองิ เข้าถงึ ไดจ้ าก http://charinee.multiply.com/journal/item/37. (2552, กมุ ภาพันธ์ 22) ท่ีมา : http://www.gotoknow.org/posts/243875
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: