Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่6

หน่วยการเรียนรู้ที่6

Published by Nantaporn Nisapa, 2023-07-05 07:28:11

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่6
๖.๑ ทำระดับผนัง
๖.๒ ฉาบผนังเรียบ

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 สอนคร้งั ท่ี 14-15 เรือ่ ง ฉาบผนัง

ช่อื วิชาพน้ื งานปูน แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 ชอ่ื หน่วย ฉาบผนงั เวลาเรียนรวม 108 ช่ัวโมง สอนครั้งท่ี 14-15 ชือ่ เรื่อง ฉาบผนงั จำนวน 12 ชั่วโมง 1.สาระสำคญั การฉาบปูน หมายถึง การตกแต่งผวิ ผนังอิฐใหเ้ กิดความเรียบรอ้ ยและสวยงาม เนื่องจากการฉาบปนู ไม่ เพียงแตจ่ ะทำให้ สว่ นท่ฉี าบเกดิ ความเรยี บร้อยและไดร้ ะดับดีเทา่ น้นั แต่ยังชว่ ยปกปิดรอยขรขุ ระตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ข้ึน ระหว่างการก่ออฐิ กอ่ คอนกรีตบลอ็ ก หรือหล่อคอนกรีตได้เป็นอยา่ งดี 2.สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจำหนว่ ย) ๕.๑ แสดงความรเู้ กยี่ วกับการจบั เซยี้ ม ๕.๒ แสดงความรู้เกย่ี วกบั การฉาบผนงั 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (สมรรถนะการเรยี นร)ู้ ด้านความรู้ 1.อธบิ ายการจบั เซี้ยมไดอ้ ย่างถูกต้อง 2.อธิบายการการฉาบผนังได้อย่างถูกต้อง ดา้ นทักษะ เมื่อผู้เรยี นไดศ้ ึกษาเนื้อหาในบทนี้แลว้ ผู้เรยี นสามารถ ๑. สามารถใชเ้ ครอ่ื งมือ อุปกรณ์ และวัสดงุ านปูนได้ถกู ต้อง ๒. สามารถจับเซยี้ มได้ถูกต้อง ๓. สามารถฉาบผนงั ได้ถกู ต้อง ด้านคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ตระหนักถงึ ความรบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั ความสนใจใฝ่รู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน การชว่ ยเหลอื ผู้อื่น และการ ตรงต่อเวลา 4.เนื้อหาสาระการเรยี นรู้ (รายละเอียดอยู่ในใบความรู้)

ชอ่ื วิชาพน้ื งานปูน แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 ชอ่ื หน่วย ฉาบผนงั เวลาเรียนรวม 108 ชั่วโมง สอนครั้งที่ 14-15 ชอื่ เรอ่ื ง ฉาบผนัง จำนวน 12 ช่ัวโมง 5.กจิ กรรมการเรียนการสอน ในการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าพ้ืนฐานงานปนู ได้กำหนดกิจกรรมการเรยี นการสอนใหผ้ ูเ้ รยี น เกิดการเรยี นรู้โดยใชว้ ิธกี ารจัดการเรยี นร้ฐู านสมรรถนะเชิงรกุ (Active Learning Competency Based) ดา้ น เทคนคิ การจดั การเรียนการสอนแบบ MAIP โดยมขี ้ันตอนในการดำเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอน ดงั นี้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน (สอนครงั้ ที่14 ) เวลา 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.ผสู้ อนชแี้ จงรายละเอยี ดเก่ียวกับจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา การวัดและ ประเมินผลการเรยี นรายวชิ า คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ประจำหนว่ ย และขั้นตอนการปฏบิ ัติงานจบั เซี้ยม ๒.ผู้สอนแสดงตัวอยา่ งเกีย่ วกับการจับเซี้ยม ๓.ผู้สอนถา่ ยทอดความรู้ในหน่วยท่ี 6 เรอ่ื งการจับเซี้ยม ๔.ผสู้ อนแสดงใบงานเรือ่ งการจับเซี้ยมและอธิบายขั้นตอนวิธีการในการปฏิบัตงิ านตามใบงาน ๕.ผ้สู อนให้ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ิงานใบงานเร่อื งการจับเซีย้ ม ๖.ผสู้ อนประเมินผลการปฏิบัตงิ านของผเู้ รียนและใหผ้ ู้เรยี นสรปุ สาระสำคญั ของเร่ืองท่เี รียนประจำสปั ดาห์ กจิ กรรมการเรียนการสอน (สอนครัง้ ที่ 15 ) เวลา 6 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๑.ผู้สอนชแ้ี จงรายละเอียดเกี่ยวกบั จดุ ประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวชิ า การวดั และ ประเมินผลการเรียนรายวิชา คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ประจำหนว่ ย และขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานฉาบผนงั ๒.ผู้สอนแสดงตัวอยา่ งเกีย่ วกับการฉาบผนงั ๓.ผ้สู อนถ่ายทอดความรใู้ นหนว่ ยที่ 6 เรอื่ งกอ่ อิฐบลอ็ ก ๔.ผู้สอนแสดงใบงานเรื่องฉาบผนังและอธบิ ายขนั้ ตอนวธิ กี ารในการปฏบิ ัติงานตามใบงาน ๕.ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนปฏิบัติงานใบงานเรอ่ื งฉาบผนัง ๖.ผสู้ อนประเมินผลการปฏบิ ัติงานของผ้เู รียนและใหผ้ เู้ รยี นสรปุ สาระสำคัญของเรื่องท่ีเรียนประจำสปั ดาห์

ชอื่ วิชาพื้นงานปนู แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 ชื่อหน่วย การฉาบผนงั เวลาเรยี นรวม 108 ชั่วโมง สอนคร้ังท่ี 14-15 ช่ือเร่ือง การฉาบผนัง จำนวน 12 ชั่วโมง 6. สื่อการเรยี นร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้ 6.1 สอ่ื สงิ่ พิมพ์ -เอกสารประกอบการจัดการเรียนรฯู้ ภาคปฏบิ ตั ิ -เอกสารอ้างอิงตา่ ง ๆ 6.2 สอ่ื โสตทศั น์ (ถ้ามี) -กระดานไวท์บอร์ด 6.3 หนุ่ จำลองหรือของจริง -เคร่ืองมือจริง 6.4 อื่น ๆ (ถา้ มี) 7. เอกสารประกอบการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน) - ใบเนอ้ื หาเรอื่ งการฉาบผนงั - ใบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการฉาบผนัง - ใบทดสอบหลงั เรยี นเรอ่ื งการฉาบผนัง 8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับวิชาอนื่ - บูรณาการกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกี่ยวกับ - นักเรียนมีเหตผลุ ในการวิเคราะหเ์ รอื่ งการฉาบผนัง - นักเรยี นมคี วามพอประมาณในการใชว้ ัสดุฝึกอย่างเหมาะสม - นักเรยี นมภี ูมิคุ้ม กนั เกยี่ วกับความมวี นิ ัย ความรบั ผิดชอบ มวี ินยั ความสนใจใฝ่รู้ มุง่ ม่นั ในการทำงาน การช่วยเหลอื ผู้อืน่ และการตรงต่อเวลา 9. การวดั และประเมนิ ผล 9.1 ก่อนเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ขอ้ 9.2 ขณะเรียน - แบบฝกึ หดั เรื่องการฉาบผนัง 9.3 หลังเรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน 10 ข้อ

ใบความรู้หน่วยท่ี 6 รหัสวิชา ๒๐๑๐6-1003 ชอ่ื วชิ าพื้นฐานงานปนู หนว่ ยท่ี 6 ชอ่ื หนว่ ย ฉาบผนงั หนว่ ยที่ 6 การฉาบผนงั จำนวน 12 ช่วั โมง หนว่ ยที่ 6 การฉาบผนัง การเตรยี มงานฉาบผนัง การเตรียมงานฉาบผนัง งานฉาบปูนก็จะมีขั้นตอนการทำงานอยหู่ ลายขนั้ ตอน ท้งั นี้ข้ึนอยูก่ ับสภาพและความเหมาะสมของพนื้ ผิว ผนังท่จี ะทำการฉาบปูน เช่น ขัน้ ตอนการจบั เซีย้ ม, จับปุ่ม, การสลดั ดอก,กรุตาข่าย, ขนึ้ ปูน (ฉาบปนู ), ปาด สามเหลย่ี ม, เสรมิ ปูน, ปั่นตีน้ำ, ลงฟอง, ปดั ด้วยไม้กวาด เป็นตน้ โดยวัตถุประสงค์หลกั เพอ่ื ให้ผนังเรียบเนยี น ยงิ่ ขึ้น เพราะหลังจากช่างตีน้ำ(สลดั น้ำ)และป่นั ผนงั ให้เรยี บเสรจ็ แลว้ ผวิ ผนังกจ็ ะเรยี บแบบดา้ นๆและยังหลงเหลือ รอ่ งรอยทีไ่ ม่เรยี บเนยี นเลก็ ๆ น้อย ๆ ชา่ งฯกจ็ ะทำการเกบ็ งานอกี ครัง้ โดยการใชฟ้ องน้ำหมาดๆปั่นในขณะทปี่ นู ยัง หมาดอยู่ กจ็ ะชว่ ยเกบ็ รอยหรือผิวท่ีไมเ่ รียบ ให้เรยี บเนียนยิ่งขนึ้ โดยวธิ ที ่ถี กู ต้องของการฉาบปูน ขนั้ ตอนดังนี้ วัสดุอุปกรณ์ 1.ปนู ซีเมนต์สำหรับงานฉาบ 2.เกียงไม้ และเกรยี งพลาสติก 3.ฟองน้ำ และแปรงสลัดนำ้ 4.อปุ กรณ์ผสมปูน 5.ถงั ปนู ขั้นตอนการฉาบ 1.รอผนงั ที่กอ่ เซ็ทตวั อย่างน้อยเป็นเวลา 7 วัน โดยระหว่าง 7 วันนน้ั ให้มีการรดน้ำบม่ ผนังอยา่ งต่อเน่ือง ดว้ ย

ใบความรหู้ นว่ ยที่ 6 รหสั วชิ า ๒๐๑๐6-1003 ช่อื วิชาพนื้ ฐานงานปูน หน่วยที่ 6 ชือ่ หน่วย ฉาบผนงั หนว่ ยท่ี 6 การฉาบผนัง จำนวน 12 ชวั่ โมง 2.เช็คสภาพผิวผนังวา่ อิฐยึดเกาะกนั ดี ผนังไม่โอนเอนเคล่ือนไหวได้ หากผนงั มีการโน้มเอียงหรอื เวา้ ยุบ จนเกนิ กวา่ ทีป่ ูนฉาบจะปดิ ผิวและทำให้ได้ระดบั เทา่ กัน (เมื่อฉาบไม่เกิน 2.5 เซนติเมตร) ใหส้ กัดสว่ นเวา้ แอ่นออก เพ่ือลดโอกาสหลุดล่อนจากการฉาบที่หนาเกินไป 3.จบั เซี้ยมและจบั ปมุ่ เพื่อเป็นการฉาบให้ได้ระดับ และความหนาท่ีเหมาะสม โดยสามารถดูไดจ้ าก ภาพประกอบ ซ่ึงนิยมใช้ เสอื ซเี มนต์ ปูนซเี มนต์ผสม ก่อ ฉาบ เท มาผสมกบั ทรายใหม้ สี ่วนของปนู เข้มขน กวา่ การใช้งานท่ัวไป เรยี กวา่ ปูนเคม็

ใบความรูห้ น่วยที่ 6 รหัสวิชา ๒๐๑๐6-1003 ช่ือวชิ าพ้นื ฐานงานปนู หนว่ ยท่ี 6 ชอ่ื หน่วย ฉาบผนงั หน่วยท่ี 6 การฉาบผนัง จำนวน 12 ชั่วโมง 4.ตดิ ลวดตะแกรง หรอื กรงไก่ บรเิ วณมุมวงกบประตูและหน้าตา่ ง เพื่อลดโอกาสแตกร้าวจากการยดื หดตัว ของปนู ซีเมนต์ รวมถงึ รอยต่อของวัสดุต่างชนิด เชน่ ระหวา่ งสว่ นกอ่ อิฐกบั เสาเอ็นและคานทับหลงั ระหว่างร่องการเดนิ ท่อเดนิ สายไฟซ่ึงปิดทบั ดว้ ยปนู แลว้ กับส่วนก่ออิฐ 5.กอ่ นการฉาบ 1 วัน ใหม้ ีการรดนำ้ ในชว่ งเยน็ จากนน้ั กอ่ นทำการฉาบในวนั ถดั ไปให้รดน้ำผนังในช่วงเชา้ ท้งิ ให้หมาดกอ่ นทำการฉาบ ห้ามฉาบขณะท่ผี นังยงั เปยี กนำ้ เพราะจะทำใหป้ ูนไมย่ ดึ เกาะกบั ผนงั

ใบความรหู้ นว่ ยที่ 6 รหัสวิชา ๒๐๑๐6-1003 ชอ่ื วิชาพ้ืนฐานงานปนู หน่วยท่ี 6 ชอ่ื หนว่ ย ฉาบผนงั หนว่ ยท่ี 6 การฉาบผนัง จำนวน 12 ชัว่ โมง 6.การบ่มผวิ ควรมีการรดน้ำผนังอยา่ งต่อเนอื่ งไปอกี วันละอยา่ งน้อย 1 ครง้ั ติดตอ่ กนั 3 – 7 วนั หาก อากาศรอ้ น มีแดดจดั หรือลมพัดแรง จนทำใหผ้ นงั เสยี นำ้ เร็วเกนิ ไป ควรเพิ่มการรดนำ้ เป็น 2-3 คร้ังตอ่ วัน และยืดระยะเวลาการลดออกไป อาจใช้การบังแดดลมด้วยการขึงผา้ ใบช่วยในบริเวณที่สมั ผสั กับ อากาศทีร่ นุ แรง

ใบความร้หู น่วยท่ี 6 รหสั วิชา ๒๐๑๐6-1003 ช่ือวิชาพื้นฐานงานปนู หน่วยที่ 6 ชอื่ หน่วย การฉาบผนัง หนว่ ยท่ี 6 การจบั เซย้ี ม จำนวน 6 ช่วั โมง ใบงานที่ 13 เร่ือง การจบั เซี้ยม จดุ ประสงค์ของงาน 1.เพือ่ ให้นักศึกษาสามารถปฏบิ ัตกิ ารจบั เซ้ยี ม 2.เสริมสรา้ งทกั ษะความสามารถทางดา้ นการปฏบิ ตั ิ การพูด การฟัง 3.พัฒนาบุคลิกในการพูด การถาม การตอบคำถาม และการแลกเปลยี่ นความรซู้ ง่ึ กันและกนั 4.เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษาไดม้ บี ทบาทในการเรียน และสร้างสรรค์บรรยากาศที่ดจี ากการเรยี น กิจกรรม 1.ใหน้ กั ศกึ ษาแบง่ กลมุ่ เป็นกลุม่ ละ 2 คน 2.ให้นักศึกษาทำจบั เซย้ี ม เคร่อื งมือ / วสั ดุ – อุปกรณ์ 1.เกรยี งโพธิ์ 8.แปรงสลัดน้ำ 2.ระดับน้ำ 9.ทรายละเอยี ด 3.ฉากเหล็ก 10.นำ้ สะอาด 4.ลูกด่ิง 11.กระบะผสมปนู 5.ตลบั เมตร 12.ตะปขู นาด 2” – 2 ½” 6.ดนิ สอ 13.ถงั ใสป่ นู 7.เชอื กระดบั ยาว ลําดับข้ันการปฏบิ ตั งิ าน 1.เตรยี มอปุ กรณ์การจบั เซ้ียม 2.ศึกษาเรือ่ งการจบั เซีย้ ม 3.ปฏิบตั ิงานการจบั เซยี้ ม 4.ตรวจสอบความถูกต้อง และ ความเรยี บร้อยของงาน 5.เกบ็ อุปกรณ์ และรักษาความสะอาด ข้อควรระวัง 1.ตอ้ งมีการทำความสะอาดผนังจบั เซี้ยม

แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะหนว่ ยที่ 6 รหสั วชิ า ๒๐๑๐6-1003 ช่อื วิชาพ้นื ฐานงานปนู หนว่ ยท่ี 6 ช่ือหนว่ ย ฉาบผนงั หนว่ ยที่ 6 การฉาบผนัง จำนวน 6 ชว่ั โมง ขอ้ เสนอแนะ 1.ความเรยี บร้อยของช้นิ งาน 2.ความสะอาดของบริเวณทป่ี ฏิบัติงาน 3.ความถกู ต้องของการเกบ็ รักษาอุปกรณ์ 4.ส่งงานตรงตามเวลาทีก่ าํ หนด เกณฑ์การพิจารณา 1.ความพรอ้ มในการเตรยี มตัว 2.บุคลกิ ลกั ษณะ กิริยา 3.ความถูกต้อง ปฏิภาณในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 4.ปฏบิ ัตงิ านถูกตอ้ งตามขั้นตอน ภาพประกอบ

แบบฝกึ เสริมทักษะหน่วยที่ 6 รหสั วชิ า ๒๐๑๐6-1003 ชื่อวิชาพน้ื ฐานงานปูน หนว่ ยท่ี 6 ชื่อหน่วย ฉาบผนัง หนว่ ยที่ 6 การจบั เซย้ี ม จำนวน 6 ชว่ั โมง

ใบความรูห้ นว่ ยที่ 6 รหัสวิชา ๒๐๑๐6-1003 ช่อื วิชาพน้ื ฐานงานปนู หนว่ ยท่ี 6 ช่อื หน่วย ฉาบผนงั หน่วยท่ี 6 ฉาบผนัง จำนวน 6 ชว่ั โมง ใบงานท่ี 13 เรือ่ ง การฉาบผนงั จดุ ประสงค์ของงาน 1.เพ่ือใหน้ ักศึกษาสามารถปฏิบัติการฉาบผนงั 2.เสริมสรา้ งทกั ษะความสามารถทางดา้ นการปฏิบตั ิ การพูด การฟัง 3.พัฒนาบคุ ลิกในการพดู การถาม การตอบคำถาม และการแลกเปลี่ยนความรซู้ ึ่งกันและกนั 4.เพอื่ ใหน้ ักศึกษาได้มีบทบาทในการเรยี น และสร้างสรรค์บรรยากาศที่ดีจากการเรียน กจิ กรรม 1.ใหน้ ักศึกษาแบ่งกลุ่ม เปน็ กลุ่มละ 2 คน 2.ใหน้ กั ศกึ ษาทำฉาบผนัง เคร่อื งมอื / วัสดุ – อปุ กรณ์ 1.เกรยี งฉาบ 8.แปรงสลัดน้ำ 2.ระดบั น้ำ 9.ทรายละเอยี ด 3.ฉากเหล็ก 10.นำ้ สะอาด 4.ลูกดิง่ 11.กระบะผสมปูน 5.ตลบั เมตร 12.ตะปขู นาด 2” – 2 ½” 6.ดินสอ 13.ถงั ใสป่ นู 7.เชือกระดับยาว ลาํ ดบั ขนั้ การปฏิบัติงาน 1.เตรยี มอปุ กรณ์การฉาบผนงั 2.ศึกษาเรอ่ื งการฉาบผนงั 3.ปฏบิ ัตงิ านการฉาบผนัง 4.ตรวจสอบความถูกต้อง และ ความเรียบร้อยของงาน 5.เก็บอปุ กรณ์ และรักษาความสะอาด

แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะหนว่ ยท่ี 6 รหสั วิชา ๒๐๑๐6-1003 ช่อื วชิ าพื้นฐานงานปูน หนว่ ยท่ี 6 ชอ่ื หน่วย ฉาบผนัง หนว่ ยที่ 6 การฉาบผนัง จำนวน 6 ชัว่ โมง ขอ้ เสนอแนะ 1.ความเรยี บร้อยของช้นิ งาน 2.ความสะอาดของบริเวณทป่ี ฏิบัติงาน 3.ความถกู ต้องของการเกบ็ รักษาอุปกรณ์ 4.สง่ งานตรงตามเวลาทีก่ าํ หนด เกณฑ์การพิจารณา 1.ความพรอ้ มในการเตรยี มตัว 2.บคุ ลกิ ลกั ษณะ กิริยา 3.ความถูกต้อง ปฏิภาณในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 4.ปฏบิ ัตงิ านถูกตอ้ งตามขั้นตอน ภาพประกอบ

แบบฝกึ เสรมิ ทักษะหนว่ ยที่ 6 รหัสวิชา ๒๐๑๐6-1003 ชื่อวิชาพื้นฐานงานปูน หน่วยท่ี 6 ช่อื หน่วย การฉาบผนัง หน่วยท่ี 6 การจับเซย้ี ม จำนวน 6 ชัว่ โมง

แบบประเมนิ ใบงาน หนว่ ยท่ี 6 ชื่อหน่วย การจับเซีย้ ม รายการประเมิน ผลการประเมนิ (คะแนน) หมายเหตุ 321 1. ผลจากการปฏบิ ัติตามใบงาน คะแนนการประเมิน 2. ความถูกต้องเรียบร้อยของงาน 3 คะแนน = ดี 3. ความต้ังใจในการทำงาน 2 คะแนน = พอใช้ 4. ชิ้นงานเสรจ็ ตามกำหนดเวลา 1 คะแนน = ปรบั ปรุง 5. ความสะอาดของบริเวณทป่ี ฏิบัติงาน แปลผลคะแนนรวม 11 - 15 คะแนน = ดี 6 - 10 คะแนน = พอใช้ 1 - 5 คะแนน = ปรับปรงุ เกณฑ์การประเมนิ : ครปู ระเมนิ 1. ผลจากการปฏบิ ัตติ ามใบงาน ดี (3 คะแนน) หมายถึง ผลงานแสดงถึงการนำความรูท้ ่ไี ดร้ ับไปใช้ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง ผลงานแสดงถึงการนำความรู้ทไี่ ดร้ ับไปใช้ ปรับปรงุ (1 คะแนน) หมายถึง ผลงานไมแ่ สดงถงึ การนำความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปใช้ 2. ความถกู ต้องเรียบรอ้ ยของงาน ดี (3 คะแนน) หมายถงึ ชิ้นงานถูกตอ้ งเรยี บรอ้ ยตามใบงาน ตามลำดบั ข้ันตอน พอใช้ (2 คะแนน) หมายถงึ ชนิ้ งานถกู ตอ้ งเรยี บรอ้ ยตามใบงาน แตไ่ ม่ตามลำดบั ขัน้ ตอน ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถงึ ชิ้นงานไมถ่ กู ตอ้ งตามใบงาน และขาดขนั้ ตอน 3. ความตั้งใจในการทำงา ดี (3 คะแนน) หมายถงึ มคี วามตงั้ ใจในการทำงาน และใช้ความรู้ทไ่ี ด้รับไปประยุกต์ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง มคี วามต้ังใจในการทำงาน ปรบั ปรงุ (1 คะแนน) หมายถงึ ไมม่ คี วามตง้ั ใจในการทำงาน 4. ช้นิ งานเสรจ็ ตามกำหนดเวลา ดี (3 คะแนน) หมายถงึ ทำงานได้เสร็จตามเวลาที่กำหนด มคี วามประณตี สวยงาม พอใช้ (2 คะแนน) หมายถงึ ทำงานได้เสร็จตามเวลาทกี่ ำหนด ขาดความประณีต สวยงาม ปรบั ปรุง (1 คะแนน) หมายถงึ ทำงานไมเ่ สรจ็ ตามเวลาท่กี ำหนด ขาดความประณีต สวยงาม 5. ความสะอาดของบรเิ วณทปี่ ฏบิ ตั ิงาน ดี (3 คะแนน) หมายถงึ หลังการปฏิบัตงิ าน มกี ารทำความสะอาดของบรเิ วณที่ปฏิบัตงิ าน เรียบร้อย พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง หลังการปฏบิ ัตงิ าน มกี ารทำความสะอาดของบริเวณทีป่ ฏิบตั ิงาน ปรับปรงุ (1 คะแนน) หมายถึง หลงั การปฏบิ ตั ิงาน ไม่มีการทำความสะอาดของบรเิ วณที่ปฏบิ ตั งิ าน

แบบประเมนิ เจตคติตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยท่ี 6 ชื่อหนว่ ย การจับเซยี้ ม ผลการประเมนิ รายการประเมิน (คะแนน) หมายเหตุ 321 มีเหตผุ ล คะแนนการประเมิน 1. เห็นคุณค่าในการเรียนรู้ ทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสร็จเรียบรอ้ ย 3 คะแนน = ดี สมบรู ณ์ 2 คะแนน = พอใช้ 2. สง่ งานตรงเวลาที่กำหนดตามขอ้ ตกลง 1 คะแนน = ปรับปรงุ แปลผลคะแนนรวม มีความพอประมาณ 11 - 15 คะแนน = ดี 3.ใช้วสั ดุอย่างประหยัด โดยนำของเกา่ มาประยุกต์ใช้ใหม่ อย่างรู้ 6 - 10 คะแนน = คณุ ค่า พอใช้ 1 - 5 คะแนน = 4.มีการวางแผนเวลาการทำงานและใชเ้ วลาเรยี นรอู้ ยา่ งคุม้ ค่า ปรับปรงุ มีภูมคิ ุม้ กันทด่ี ี 5. มีนำ้ ใจ เอ้อื เฟ้อื ช่วยเหลอื และแบ่งปนั ความรแู้ กผ่ ู้อน่ื อย่าง ถูกต้อง เกณฑ์การประเมิน : ครปู ระเมนิ 1. เหน็ คณุ ค่าในการเรยี นรู้ ทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จเรยี บรอ้ ยสมบูรณ์ ดี (3 คะแนน) หมายถงึ ทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสรจ็ เรียบร้อย สมบูรณ์ทุกหัวขอ้ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง ทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายเสร็จเรียบรอ้ ย สมบูรณบ์ างหวั ข้อ ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถึง ทำงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายไม่เรยี บร้อย ไมส่ มบรู ณ์ทกุ หัวข้อ 2. สง่ งานตรงเวลาท่กี ำหนดตามขอ้ ตกลง ดี (3 คะแนน) หมายถงึ สง่ งานตรงตามเวลาทรี่ ่วมกันกำหนด ตรงเวลาหรอื ก่อนเวลา พอใช้ (2 คะแนน) หมายถงึ สง่ งานช้ากว่าเวลาทร่ี ่วมกนั กำหนดภายใน 1 ชั่วโมงโดยประมาณ ปรบั ปรงุ (1 คะแนน) หมายถงึ สง่ งานช้ากวา่ เวลาทร่ี ว่ มกนั กำหนดมากกว่า 1 ช่วั โมงโดยประมาณ 3.ใช้วสั ดอุ ยา่ งประหยดั โดยนำของเก่ามาประยุกตใ์ ช้ใหม่ อย่างรูค้ ุณคา่ ดี (3 คะแนน) หมายถึง ใชว้ สั ดุในการเรียนอยา่ งประหยดั นำกระดาษหน้าเดียวมาใช้ใหม่ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถึง ใช้วัสดุในการเรียนอย่างประหยัด ปรบั ปรุง (1 คะแนน) หมายถงึ ใช้วสั ดใุ นการเรียนไมป่ ระหยดั ฟมุ่ เฟือย 4. มกี ารวางแผนเวลาการทำงาน และใช้เวลาเรียนรอู้ ยา่ งคมุ้ ค่า ดี (3 คะแนน) หมายถงึ มกี ารวางแผนในการทำงานเหมาะสมกบั เวลาทก่ี ำหนด อยา่ งคมุ้ คา่ พอใช้ (2 คะแนน) หมายถงึ มกี ารวางแผนในการทำงานไมเ่ หมาะสมกับเวลาท่ีกำหนด ปรับปรุง (1 คะแนน) หมายถงึ ขาดการวางแผนในการทำงานและใช้เวลาไมค่ มุ้ ค่า 5. มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ ช่วยเหลอื และแบ่งปนั ความรแู้ กผ่ อู้ ื่นอย่างถูกตอ้ ง ดี (3 คะแนน) หมายถงึ มีนำ้ ใจ เอ้ือเฟ้ือ ชว่ ยเหลือและแบ่งปนั ความรู้อย่างถูกตอ้ งแกผ่ อู้ ืน่ บ่อยๆคร้ัง พอใช้ (2 คะแนน) หมายถงึ มนี ำ้ ใจ เอ้ือเฟ้ือ ช่วยเหลอื และแบ่งปนั ความรู้แกผ่ อู้ น่ื อยา่ งถูกต้องเป็นบางครัง้ ปรับปรงุ (1 คะแนน) หมายถึง ขาดน้ำใจ เหน็ แกต่ ัว หรอื ชว่ ยเหลือแบง่ ปนั ความรู้แกผ่ ู้อื่นอย่างไมถ่ ูกต้อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook