งานมอบหมายคร้ังท่ี 1 03/09/64 ประเดน็ ปญั หาท่ีสนใจ ➢ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของวยั รุ่นช่วงสถานการณ์โควิด-19 ในเขตกรงุ เทพมหานคร ช่ือเรือ่ ง ➢ การสารวจพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของวยั รุน่ ชว่ งสถานการณ์โควดิ -19 ในเขตกรงุ เทพมหานคร คาถามการวจิ ัย ➢ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของวยั รุ่นชว่ งสถานการณ์โควิด-19 ในเขตกรุงเทพมหานครน้ันเปน็ อยา่ งไร วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 1. เพอ่ื ศกึ ษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของวยั รุน่ ชว่ งสถานการณ์โควิด-19 ในเขตกรงุ เทพมหานคร 2. เพือ่ ศึกษาระดบั ดชั นีมวลกายของวยั ร่นุ ชว่ ง ในเขตกรงุ เทพมหานคร 3. เพ่อื เพื่อศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปจั จัยสว่ นบคุ คลกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของวยั รนุ่ ชว่ ง สถานการณ์โควิด-19 ในเขตกรุงเทพมหานคร หลักการและเหตผุ ล สถานการณโ์ ควิด-19 ยงั เป็นเร่ืองทีม่ ีอิทธิพลต่อการใชช้ ีวิตของผู้คนในปัจจุบันเป็นอย่างมาก และเกิดเป็น พฤติกรรมใหม่ๆ ที่เกิดจากการปรับตัวตามสถานการณ์ได้ตลอดเวลา ท้ังในแง่ของการทาธุรกิจ New Normal ท่ี เกิดขึ้น เป็นโอกาสท่ีธุรกิจจะต้องเข้าไปตอบโจทย์ใหม่ๆ ท่ีผู้บริโภคเกิดความต้องการ หรือสามารถกล่าวได้ว่า ดี มานดเ์ ปลย่ี น ยกตัวอย่างเชน่ ในกลุ่มอาหาร ความสะดวกในการรบั ประทานอาหารนับเปน็ เทรนดท์ เี่ กดิ ขึน้ ใหม่ เดมิ คนสว่ นใหญน่ ิยมอาหารพร้อมรับประทานประเภทเรว็ และสะดวก ไมค่ อ่ ยสนใจคุณคา่ ทางอาหารเทา่ ไหร่นกั ขณะที่ปัจจุบันอาหารฟาสต์ฟู้ดทั้งแบบกินอ่ิมและรับประทานเป็นของว่าง ยังต้องมีเร่ืองของสุขภาพ คุณประโยชน์ ของอาหารฟาสต์ฟู้ดเขา้ มาเกีย่ วด้วย ซงึ่ มาพรอ้ มกับโรคโควดิ -19 นั่นก็คือเทรนด์การรับประทานอาหารพร้อมทาน ทม่ี าพร้อมกบั คณุ ประโยชน์สูง สะดวกต่อการปรุงทานเองทบ่ี ้าน และมีอายใุ นการเกบ็ รักษานานพอควร เช่น ชดุ สุก้ี พร้อมทาน ชุดสาหรับทาผดั กระเพา ไกน่ กั เกต็ พิซซ่า เปน็ ต้น ทง้ั น้ีเพ่อื หลีกเลย่ี งการออกไปรับประทานอาหารนอกบ้าน ซงึ่ อาจเสย่ี งตอ่ การสัมผัสกับเช้ือโรคท่ีแฝงตัวอยู่ ท่ัวไปในพื้นท่ีสาธารณะ และการทาอาหารท่ีรับประทานเองท่ีบ้านยังเป็นการเพิ่มความมั่นใจในเร่ืองคุณค่าทาง โภชนาการ ท่ีทาให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการทาอาหารได้ แต่ยังคงต้องการความสะดวก เช่น การเตรียมเครื่องปรุง
งานมอบหมายคร้ังที่ 1 03/09/64 ส่วนผสมต่างๆ ซ่ึงตรงน้ีกลุ่มอาหารพร้อมปรุงนับว่าสามารถทาการตลาดได้ดีกว่าเดิม เพราะด้วยความท่ีง่าย ช่วย ลดขั้นตอนท่ียุ่งยากในการเตรียมวัตถดุ ิบ เปน็ ทพ่ี ึงพอใจของผบู้ ริโภคยคุ สถานการณโ์ ควดิ -19 เปน็ อยา่ งมาก เฉลมิ พล แจ่มจนั ทร์ คณะทางานรายงานสขุ ภาพคนไทย, (2563, ออนไลน์) ผลสารวจเผยวา่ ผู้บริโภคชาว ไทยทเ่ี ปน็ วัยร่นุ กว่าครึ่ง (57%) มีแนวโน้มทจี่ ะลดค่าใชจ้ า่ ยในการรับประทานอาหารท่รี ้านในชว่ ง 6 เดอื นข้างหนา้ ในขณะทเ่ี กอื บ 1 ใน 2 ของผู้บรโิ ภค (47%) มีแนวโนม้ ท่ีจะซอื้ อาหารแบบกลับบ้าน (Takeaway Food) เพ่ิมมาก ยิ่งข้ึนเพราะยังกงั วลเร่ืองของสุขภาพและความปลอดภัยการหนั มาใสใ่ จเรื่องของความยัง่ ยืนและความรู้สึกถงึ หน้าที่ ความรบั ผิดชอบของผบู้ ริโภควัยรนุ่ ในฐานะพลเมืองของสังคมปรบั ตัวเพิ่มข้ึนอยา่ งชดั เจนในชว่ งการแพร่ระบาดของ สถานการณ์โควิด-19 โดย 79% ของผูบ้ รโิ ภคท่ถี ูกสารวจเลอื กซื้อเฉพาะผลติ ภณั ฑ์ท่ยี ่อยสลายไดต้ ามธรรมชาติ ขณะท่ี 77% ต้องการซ้อื สนิ ค้าท่รี ะบุแหล่งท่ีมาอย่างชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้ นอกจากน้ีเกอื บ 3 ใน 4 ของ ผูบ้ ริโภคยังระบุวา่ พวกเขาต้องการซื้อสินคา้ ท่ีมีบรรจุภณั ฑ์ที่เป็นมติ รต่อส่งิ แวดลอ้ ม หรือใช้บรรจุภณั ฑน์ ้อยทส่ี ดุ ซึ่งถึงแม้วา่ เราจะเห็นแนวโนม้ ของพฤติกรรมดา้ นความยงั่ ยืนมาสักระยะหนงึ่ แล้ว แต่การแพรร่ ะบาดของ สถานการณ์โควิด-19 ทร่ี ะบาดครงั้ นย้ี ิง่ กระตุน้ ใหผ้ ้บู ริโภควยั รนุ่ ชาวไทยหันมาให้ความสาคัญกับสิง่ แวดล้อม จากท่ีกล่าวมาในข้างต้น ผู้วิจัยจึงให้ความสาคัญของการวิจัยพฤติกรรมการบริโภคอาหารของวัยรุ่นช่วง สถานการณ์โควิด-19 ในเขตกรุงเทพมหานคร เมื่อทราบประเด็นจากผลการวิจัย จะนาไปสู่การสร้างสุขภาวะให้ กับกลมุ่ วัยรุ่น ซง่ึ ถอื ว่าเปน็ ทรพั ยากรสาคญั ของจงั หวัดและของประเทศใหม้ สี ุขภาพที่ดีลดอัตราสาเหตกุ ารตายจาก โรคท่ีเกิดจากการบรโิ ภค ทฤษฎที ี่เกย่ี วข้องกับการวจิ ัย 1. แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกบั การบรโิ ภคอาหาร (Food Consumption) ประเด็นของรายการอาหารผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิดจากนักวิชาการและกล่าวถึงแนวคิดของ การบริโภค สนิ คา้ เพอื่ สุขภาพและสินค้าบริโภคนยิ ม ซึ่ง อาหารเพอื่ สขุ ภาพ ไดแ้ ก่ ผักปลอดสารพิษ อาหารมังสวริ ัติหรอื อาหาร เจ อาหารเสริมวิตามิน ผลิตภัณฑ์นมที่มีแคลเซ่ียม ผลิตภัณฑ์โสมเกาหลี เห็ดหลินจือ เครื่องด่ืมน้าแร่ เครื่องด่ืมน้า ผลไม้ ผลิตภัณฑ์ตุ๋นยาจีน และประเภทยารักษาโรคอาหาร เสริมวิตามิน และในส่วนของอาหารบริโภคนิยม ได้แก่ อาหารฟาสต์ฟู้ต ได้แก่ ไก่ทอดKFC อาหาร ต่างประเทศ ขนมคบเคี้ยว เครื่องด่ืมประเภทต่างๆ เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ และอาหารดงั ๆ ท่ีมีช่ือเสยี ง นักวชิ าการไดก้ ล่าวถงึ ความหมายของอาหารทั้ง 2 ประเภทดงั น้ี ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2552) ให้ความหมายว่าอาหารดังกล่าว คือ สิ่งที่เรารับประทานเข้าไป แล้วทาให้เกิด ประโยชน์ต่อรา่ งกายในด้านต่างๆ ไม่ท าให้เกดิ โทษ เช่น เนอื้ สตั ว์ ข้าว แปง้ ผกั ผลไม้ นม ฯลฯยกเวน้ ยารกั ษาโรค นน้ั
งานมอบหมายคร้ังที่ 1 03/09/64 สายัณห์ เรืองกิตติกุล (2553) ได้ให้ความหมายจากองค์การอนามัยโรคเร่ืองอาหารสุขภาพว่า การ รับประทานอาหารที่ไม่มีคุณภาพ ร่วมกับการไม่ออกกาลังกายจะเป็นบ่อเกิดโรค โดยองค์การ อนามัยโลก WHO ให้ความหมายว่าสุขภาพหมายถึง ภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจจิต วิญญาณ รวมถึงการดารงชีวิตอยู่ ในสังคมไดอ้ ย่างปกติสุข และมไิ ดห้ มายความเฉพาะเพียงแต่ความ ปราศจากโรคหรอื ความพิการทุพพลภาพเท่านั้น ฉันทนา อุตสาหลักษณ์ (2541) ได้ให้ความหมาย บริโภคนิยม หมายถึง แนวคิดแบบหนึ่งที่ นิยมการ บริโภคเกินความจาเป็นและก่อให้เกิดผลกระทบทั้งกับตัวเองและผู้อ่ืนคิดแต่เพียงว่าตัวเองได้ สนองความต้องการ เพียงคร้ังคราวเท่าน้ันหรือการซ้ือสินค้าตามกระแสนิยมและไม่คิดถึงเงินท่ีต้องเสีย ไปชอบเสพอะไรแปลกๆใหม่ๆ โดยไมค่ ิดว่าจะเกิดผลกระทบอะไรหรือพวกนยิ มความสบายจะเสียเงนิ เทา่ ไหร่ไมว่ า่ ขอใหไ้ ดส้ บายไว้ก่อน ธีรวีร์ วราธรไพบูลย์ (2557) ได้ให้ความหมายว่า การบริโภคอาหารตามค่านิยม หมายถึง อาหารท่ี รบั ประทานตามความต้องการจากสภาวะการณ์ แต่ละบคุ คล แตล่ ะระดบั รายได้ การรบั วัฒนธรรมตะวนั ตกรวมถึง การใช้เทคโนโลยีเป็นองค์ประกอบในการเข้าถึงอาหารโดยอาหารน้ันเป็น อาหารที่ประกอบไปด้วยเน้ือสัตว์เนย ขนมปัง และยังส่งผลต่อความรู้สกึ สะดวกสบายความคลอ่ งตวั และความร่นื เริงตามไปดว้ ย จากแนวคิดดังกล่าวอาจสรุปได้ว่า อาหาร หมายถึง ส่ิงท่ีเรารับประทานแล้วก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อ ร่างกาย นอกเหนือจากสารอาหารหลกั ที่จาเป็นต่อร่างกาย และยังมีส่วนท่ีช่วยลดอัตรา เส่ียงต่อโรคภัยต่างๆ และ อาหารบริโภคนิยม หมายถึง อาหารท่ีผู้บริโภคบริโภคเพื่อตอบสนองความ ต้องการทางด้านจิตใจ อารมณ์และ ความคิดโดยมีพฤตกิ รรมลอกเลยี นแบบหรือเกิดพฤติกรรม สนบั สนุนจากส่ือโฆษณา เช่น การทานอาหารฟาสต์ฟู้ต อาหารจ่านด่วน ทางอาหารในร้านที่หรูหรา กินอาหารไร้ประโยชน์ (ขนมขบเขี้ยว) อาหารนานาชาติที่นิยม หรือ ของกนิ ฟ่มุ เฟอื ย ปจั จัยกาหนดการบรโิ ภคอาหาร ความต้องการบริโภคอาหารของผู้บริโภคแต่ละรายจะมีความแตกต่างกัน แต่ก็พอจะสรุปได้ ว่าตัวกาหนด การบริโภคหรือปัจจัยทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การตดั สนิ ใจเลือกบริโภคอาหารโดยรวมมีดงั นี้ (ธีรวรี ์ วราธรไพบลู ย์, 2557) 1. รายได้ของผู้บริโภค (Income) ระดับรายได้เป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกบริโภค อาหารของ ผู้บริโภค โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน คือผู้บริโภคที่มีรายได้มากจะบริโภคอาหาร มาก ถ้ามีรายได้น้อยก็ จะบริโภคอาหารน้อย เชน่ สมมตวิ า่ เดิมนายหลิ่วมรี ายได้เดือนละ 10,000 บาท และนายหลิ่วจะใชร้ ายได้ไปในการ บรโิ ภคร้อยละ 70 เกบ็ ออมร้อยละ 30 เพราะฉะนัน้ นายหลว่ิ จะใช้ จา่ ยเพื่อการบรโิ ภคเป็นเงนิ เทา่ กับ 7,000 บาท ต่อมาถ้านายหล่ิวมีรายไดเ้ พ่ิมขึ้นเปน็ เดอื นละ 15,000 บาท และนายหลิ่วยังคงรักษาระดับการบริโภคในอัตราเดมิ คือ บริโภคในอัตราร้อยละ 70 ของรายได้ที่ได้รับ นายหลิ่วจะใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มขึ้นเป็น 7,500 บาท ในทาง
งานมอบหมายคร้ังที่ 1 03/09/64 กลบั กัน ถ้านายหล่วิ มรี ายได้ ลดลงเหลือเพยี งเดือนละ 5,000 บาท นายหลิว่ จะใชจ้ า่ ยในการบริโภคเป็นเงนิ 3,500 บาท (ร้อยละ 70 ของรายได้) จะเหน็ ไดว้ ่าระดบั รายไดเ้ ปน็ ปัจจยั ท่ีมผี ลโดยตรงตอ่ ระดบั ของการบริโภค 2. ราคาของอาหาร (Price) เนื่องจากระดับราคาของอาหารเป็นตัวกาหนดอานาจซอื้ ของเงิน ท่ีมีอยู่ในมือ ของผู้บริโภค นั่นคือ ถ้าอาหารสูงข้ึนจะทาให้อานาจซื้อของเงินลดลง ส่งผลให้ผู้บริโภค บริโภคอาหารได้น้อยลง เนื่องจากเงินจานวนเท่าเดิมซื้อหาอาหารได้น้อยลงในทางกลับกัน ถ้าราคา อาหารลดลงอานาจซ้ือของเงินจะ เพม่ิ ข้นึ สง่ ผลใหผ้ ู้บริโภคสามารถบริโภคอาหารได้มากข้นึ ดว้ ยเหตุผล ทานองเดยี วกนั กับขา้ งตน้ 3. ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือ (Cash in Hand) กล่าวคือ ถ้าผู้บริโภคมีเงินหมุนเวียนอยู่ ในมือมาก จะจูงใจใหผ้ บู้ รโิ ภคจะบริโภคอาหารมากขึ้น และถา้ มเี งนิ หมุนเวียนอยูใ่ นมอื น้อยก็จะบริโภค อาหารไดน้ อ้ ยลง 4. ปริมาณอาหารในตลาด (Supply of Food) ถ้าอาหารในท้องตลาดมีปริมาณมาก ผู้บริโภคจะมีโอกาส ในการจบั จา่ ยบริโภคไดม้ าก ในทางกลบั กนั ถ้ามีน้อยกจ็ ะบริโภคได้นอ้ ยตาม 5. การคาดคะเนราคาของอาหารในอนาคต (Expected Price) จะมีผลต่อการตัดสินใจของ ผู้บริโภค กล่าวคือ ถ้าผู้บริโภคคาดว่าในอนาคตราคาของอาหารจะสูงข้ึน ผู้บริโภคจะเพ่ิมการบริโภค ในปัจจุบัน (ลดการ บริโภคในอนาคต) ตรงกนั ข้าม ถา้ คาดวา่ ราคาของอาหารจะลดลงผู้บรโิ ภคจะลด การบรโิ ภคในปัจจุบันลง (เพ่มิ การ บริโภคในอนาคต) จะเห็นไดว้ า่ การคาดคะเนราคาอาหารในอนาคต จะมคี วามสมั พันธใ์ นทิศทางตรงกนั ข้ามกับการ ตัดสินใจเลือกบริโภคหรือระดับการบริโภคในปัจจุบัน และจะมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการตัดสินใจ เลอื กบริโภคหรือระดับการบรโิ ภคในอนาคต 6. ระบบการค้าและการชาระเงิน (Trade and Payment System) เป็นปัจจัยสาคัญปัจจัย หนึ่งท่ี กาหนดการตัดสินใจในการเลือกบริโภคของผู้บริโภค กล่าวคือถ้าเป็นระบบการซ้ือขายด้วยเงิน ผ่อน จะเป็นการ เพิ่มโอกาสในการบริโภคให้กับผู้บริโภคมากข้ึน น่ันคือ ผู้บริโภคสามารถบริโภคโดยไม่ ต้องชาระเงิน โดยเฉพาะ อาหารท่ีราคาสูง เช่น อาหารต่างประเทศนอกจากที่กล่าวข้างต้น ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกมากที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกบริโภคอาหารของผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นเพศ อายุ ระดับ การศึกษา ฤดูกาล เทศกาลรสนิยมหรือความชอบ ส่วนตัวของผู้บริโภค ตัวอย่างเช่นในเทศกาลกินเจถ้า ผู้บริโภครับประทานอาหารเจ ผู้บริโภคจะไม่บริโภคเนื้อสตั ว์ โดยจะหันมาบริโภคพืชผักผลไม้แทนหรือ ในวัยเด็ก ส่วนใหญ่เด็กๆ มักจะชอบบริโภค ลูกอมลูกกวาด ขนม มากกว่าเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ เป็นต้น ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร อาจจะกล่าวได้ว่า เป็นการศึกษา พฤติกรรมในการ ตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร เพื่อให้ได้รับความพอใจสูงสุดจากงบประมาณที่มีอยู่อย่างจากัด ซ่ึง พฤติกรรม การบริโภคอาหารในยุคปัจจุบันน้ันยังส่งผลกระทบต่อท้ังเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงมี ความเสรีมากข้ึน มีการข้ามชาติทางการค้า มีการข้ามชาติทางการใช้ชีวิตคู่ ก็ทาให้เป็นเหตุผลหน่ึงท่ีทาให้เกิดการ เปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร และอาหารนยิ มบรโิ ภคอาหารจงึ มมี ากขึ้นในปจั จุบนั
งานมอบหมายคร้ังที่ 1 03/09/64 2. แนวคดิ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของวยั รุน่ พฤติกรรมการบริโภคเป็นผลมาจากบริโภคนิสัยหรือการบริโภคอาหารท่ีคุ้นเคยอยู่ เป็นประจาท่ีได้ ส่ังสม มาตั้งแตเ่ ยาว์วยั และถกู กล่อมเกลาจากปัจจัยต่างๆ รอบๆ ตวั ต้ังแตเ่ ดก็ จนโต (ศวิ รกั ษ์ กจิ ชนะไพบูลย์, 2555) โดย พฤติกรรมการบริโภคไม่ได้มีมาแต่กาเนิดแต่เกิดจากการเรียนรู้และเลียนแบบจากครอบครัว และส่ิงแวดล้อม จึง สามารถเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการบรโิ ภคได้ ซ่ึงมีผูใ้ ห้ความหมายของพฤติกรรมการ บริโภคไวห้ ลายประการ ดังนี้ A Eertmans, et.al (2001 อ้างถึงใน สุระเดช ไชยตอกเก้ีย, 2558) กล่าวว่า การบริโภคอาหาร หมายถึง พฤติกรรมการกินของมนุษย์ การเลือกอาหารเพื่อการบริโภค ซึ่งมีความเก่ียวข้องกับปัจจัยภายใน บุคคล เช่น ความชอบอาหาร ประสาทสมั ผัส และปจั จยั ภายนอก เชน่ บริบททางสงั คม สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ และการ เรยี นรู้ ซ่งึ ส่งผลให้เกิดการบรโิ ภคอาหารเกิดขนึ้ และมีความเกยี่ วขอ้ งกับการสง่ เสริมสุขภาพ ปวณี ภทั ร นธิ ติ นั ติวัฒน์ (2560) ได้กลา่ ววา่ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของวยั รุ่นในปัจจบุ ัน เปลย่ี นแปลง ไปอย่างมากท้ังน้ีเป็นเพราะสภาพสังคมวัฒนธรรมและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ี่ ทันสมัยขึ้นจากวิถีชีวติ ท่ีเคยรับประทานอาหารพร้อมหน้ากันท้ังครอบครัวในบ้าน โดยเฉพาะอาหารมื้อเช้า แต่ด้วยวิถีชีวิตท่ีเร่งรีบใน ปัจจุบันก็เปลี่ยนเป็นการเลือกรับประทานอาหารนอกบ้านรับประทานอาหารจาน ด่วน (fast food) และเลือกซ้ือ อาหารสาเรจ็ รปู กนั มากข้ึน มัณฑนาวดี เมธาพฒั นะ (2560) ทาการศึกษาปัจจัยท่ีมีความสัมพนั ธ์กับพฤติกรรมการบรโิ ภค อาหารของ นักศกึ ษาพยาบาลโดยไดน้ าแนวคิดพฤติกรรมการส่งเสรมิ สุขภาพเป็นพฤตกิ รรมท่ีบคุ คลปฏบิ ตั ิ เพ่อื ให้เกดิ สุขภาพท่ี ดีของเพนเดอร์ (Pender, Murdaugh.&.Parsons) ซ่ึงได้รับอิทธิพลจาก 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านลักษณะเฉพาะ และประสบการณ์ของบุคคล ได้แก่ อายุ การศึกษา ความเช่ือ และฐานะ ทางเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านความรู้คิด และอารมณ์ต่อพฤตกิ รรมของบุคคล
งานมอบหมายคร้ังท่ี 1 03/09/64 รายชอื่ เอกสาร/หนังสอื /ตารา/บทความวิชาการ/งานวจิ ัย รวม จานวน 5 เล่ม/บทความ 1. รายงานการวจิ ยั ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา Knowledge, Attitudes and Behaviors about Food Consumption of Songkhla Rajabhat University Undergraduate Students โดย ทศั นา ศิริ โชติ 2. บทความวชิ าการ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของวัยรนุ่ ไทย ผลกระทบและแนวทางแก้ไข Food Consumption Behavior among Thai Adolescents, Impacts, and Solutions 3. บทความเจาะพฤตกิ รรมผ้บู ริโภคไทยทเี่ ปลีย่ นไปในยุคโควดิ -19 โดย ชาญชยั ชัยประสทิ ธิ์ จาก เว็บไซต์ https://thestandard.co/thai-consumer-behavior-during-the-covid-19-era/ 4. พฤติกรรมผบู้ รโิ ภคที่เปลี่ยนแปลงไปชว่ งสถานการณ์ COVID-19 ในพืน้ ที่กรุงเทพมหานคร Consumer Behavior during COVID-19 Situation in Bangkok โดย มนัสชนก ไชยรตั น์ 5. บทความพฤติกรรมผ้บู ริโภคหลงั ยคุ COVID จากเวบ็ ไซต์ https://www.ditp.go.th/contents_attach/732403/732403.pdf งานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง สุวรรณา เชียงขุนทด และคณะ (2557) ทาการศึกษา เรื่องความรู้และพฤติกรรม การ บรโิ ภคอาหารของคนภาษเี จริญ มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤตกิ รรมการบริโภค เจตคติ และอิทธิพลจาก สอ่ื สารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร ปจั จยั ท่มี ีผลต่อพฤติกรรม การบรโิ ภค และสอ่ื โฆษณาภายนอกมี ความสัมพนั ธ์กับพฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคในเขต ภาษเี จริญ ผลการศกึ ษา พบว่า พฤตกิ รรมผู้บริโภค สว่ นใหญม่ ี คะแนนความรเู้ กย่ี วกับ การบริโภคอาหารอยูใ่ นระดบั ปานกลาง เดก็ วัยเรยี นมีพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารทีป่ ฏบิ ัติ เป็นประจามากที่สุดคือดื่มนมทีม่ รี สหวาน เชน่ นมหวาน นมช็อกโกแลต และอิทธิพล จากส่ือสารมวลชนในการ บริโภคอาหารอยูใ่ นระดบั มาก บงั อร กล่าสุวรรณ์ (2554) ทาการศึกษา เรื่อง ภาวะสขุ ภาพเด็กวัยเรียนและ การสุขาภบิ าลอาหารและนา้ ในโรงเรยี นพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบศนู ยอ์ นามัยท่ี 6 มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ศกึ ษาภาวะสุขภาพและพฤตกิ รรมสขุ ภาพของ นกั เรียน ปจั จยั ทมี่ คี วามสัมพันธ์กับภาวะ สขุ ภาพของเด็กวยั เรียน และการสุขาภิบาลอาหารและน้าในโรงเรยี น ผล การศกึ ษา พบวา่ สว่ นใหญเ่ จริญเติบโตตามเกณฑ์ โดยมีรูปร่างสมสว่ นรอ้ ยละ 78.0 และส่วนสูงตามเกณฑ์ ข้ึนไป รอ้ ยละ 91.7 พบปัญหาทว้ มเร่ิมอ้วนและอ้วนร้อยละ 14.4 เต้ียและค่อนขา้ งเตี้ยร้อยละ 84 เด็กวัยเรียนมี
งานมอบหมายคร้ังที่ 1 03/09/64 พฤติกรรมการบริโภคที่ไมเ่ หมาะสม สว่ นใหญ่รบั ประทานขนมหวาน และด่ืม เคร่ืองดื่มท่ีมรี สหวาน 4 วัน/สัปดาห์ ข้ึนไป เติมนา้ ตาลในอาหารปรุงสุกมากถึงร้อยละ 90.2 ปจั จัยที่มคี วามสมั พนั ธ์กบั ภาวะสุขภาพ แบง่ เป็น ภาวะ โภชนาการเกนิ ปจั จัยท่มี ี ความสมั พันธ์อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติ ได้แก่ การรบั ประทานอาหารเย็น การ รับประทาน อาหารวา่ ง การรับประทานผักชนิดต่าง ๆ ปัจจยั ทม่ี ีความสมั พนั ธ์กับภาวะคอ่ นข้างเต้ียและ เต้ียคือ การด่มื นมจืด สุขุม พนั ธณุ์ รงคแ์ ละพิมลพรรณ บุญยะเสนา (2553) ทาการศกึ ษาเร่ือง การส่งเสริม การปรบั เปลย่ี น พฤติกรรมการบริโภคของเด็กวยั เรียน มีวัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษาถึง พฤตกิ รรมการบริโภคของเด็กวัยเรยี นในการ เลอื กรบั ประทานอาหาร และสร้างแนวทางใน การส่งเสรมิ การปรับเปลย่ี นพฤติกรรม โดยศึกษาพฤตกิ รรมการ บรโิ ภคของนักเรียนระดับ ประถมศึกษาชนั้ ปีท่ี 4–6 และมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1–6 ในจังหวดั เชยี งใหม่ ผลการศกึ ษา พบวา่ เดก็ วัยเรยี นทกุ ระดบั ชั้นมพี ฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารลอกเลยี นแบบกนั ท่ีระดับนัยสาคญั ทางสถิติท่ี 0.05 รายได้ของครอบครัวมีความสัมพนั ธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ประเภทหมู ไก่ ปลา หรือเนือ้ และการด่ืมนม ทร่ี ะดับนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี 0.05 และมคี วามสัมพันธ์กบั การรับประทานอาหาร 5 หมู่ ท่ีระดับนัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.10 การได้รบั การอบรมเลยี้ งดู อยา่ งใกลช้ ดิ จากผปู้ กครองมคี วามสมั พันธก์ ับพฤติกรรมการบริโภคอาหารครบ 5 หมู่ ที่ระดับนัยสาคญั ทางสถิติที่ 0.10 เจตคติมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ประเภทผกั การ บรโิ ภคอาหารทสี่ ะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และการดม่ื นมที่ระดบั นัยสาคัญ ทางสถติ ิท่ี 0.001 เทา่ กนั และมี ความสมั พนั ธ์กับการบริโภคอาหารครบ 3 ม้อื ท่ีระดบั นยั สาคัญทางสถติ ิที่ 0.05 ปารชิ า นิพพานนทน์ และคณะ (2555) ทาการศึกษาเร่ือง ผลของการปรบั พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร เพื่อป้องกันภาวะนา้ หนักตัวเกินของเด็กวยั เรียน ณ โรงเรยี นใน เขตเทศบาลเมือง จังหวัดนครราชสมี า มี วตั ถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาผลของโปรแกรมการปรบั พฤติกรรมการบรโิ ภค อาหารเพ่ือป้องกันภาวะน้าหนกั ตวั เกินของ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนในเขตเทศบาลเมือง จงั หวดั นครราชสีมา ผลการศึกษา พบวา่ หลังการ ทดลอง การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริโภคอาหารเพือ่ ปกป้องภาวะนา้ หนักตวั เกินมากกวา่ กลุ่มควบคุม อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ ความคาดหวังในผลดขี องการบริโภคอาหาร เพื่อป้องกนั ภาวะน้าหนักตวั เกินมากกวา่ กล่มุ ควบคุมอยา่ งมี นัยสาคญั ทางสถติ ิ พฤตกิ รรม การบรโิ ภคอาหารเพื่อป้องกนั ภาวะน้าหนักตวั เกนิ มากกว่ากล่มุ ควบคุมอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติ ได้รบั พลังงานเฉลยี่ ที่ได้รับจากอาหารใน 1 วนั ลดลงกวา่ กลุม่ ควบคมุ อยา่ งมี นยั สาคัญทางสถิติ
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: