GEH1101 l Aesthetic Appreciation เนอ้ื หารายวิชาโดย ผศ.ดร.ศันสนีย์ จะสุวรรณ์ จดั วางองคป์ ระกอบโดย อภริ ติ ไตรยาวัฒน์
“2 ความรู้พืน้ ฐานเกีย่ วกบั สนุ ทรียภาพ คาว่า “สนุ ทรียภาพ” ตรงกบั คาในภาษาองั กฤษว่า “Aesthetic” ซ่ึงมีความหมายว่า การรู้สึกสมั ผสั รบั รู้ไดข้ องแต่ละบคุ คล ต่อความงามในธรรมชาติหรือในศิลปะ
3
4
5
6 Space Arts Time Arts Applied Arts • จติ กรรม • ดนตรี • ภาพยนตร์ • ประติมากรรม • นาฏศิลป์ • แฟชนั่ • สถาปั ตยกรรม • ฯลฯ ศิลปการแสดง • วรรณกรรม
7
8 จติ รกรรม สถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม
9 ดนตรีไทย ดนตรีพนื้ บ้าน ดนตรีตะวันตก
10
คาว่า “สนุ ทรียศาสตร”์ “Aesthetic” เปน็ คาทอ่ี ยใู่ นภาษากรีกโบราณ และได้นามาใชใ้ ห้มคี วามหมายในโลกศิลปะตะวนั ตก เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเมื่อ ค.ศ. 1734 อเลกซานแดร์ โกตตล์ บี เบามก์ ารเ์ ตน (Alexander Gottlieb Baumgarten 1714 – 1762) นักปรัชญาชาวเยอรมันเป็นผ้ใู หค้ วามหมายใหม่ โดยให้ความหมายทวี่ า่ ด้วย ความงาม (beauty) และการตอบสนองรับรดู้ ้วยสัมผสั (taste) โดยคาว่า \"taste\" ในภาษาองั กฤษทหี่ มายถงึ การตอบสนองรับรู้ด้วยสมั ผสั น้นั ในภาษาไทยแปลวา่ “รสนิยม” นน่ั เอง 11
คานิยามของศิลปะและความงาม 12 คานยิ ามของศลิ ปะ ศิลปะและความงามเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ นับต้ังแต่ผู้คนเร่ิมรู้จักเลิก ใช้ชีวิตความเป็นอยู่ตามธรรมชาติ หรืออาจเริ่มนับจากการเลิกเข้าป่าล่าสัตว์ หาของป่า เมื่อประมาณ 12,500 ปีท่ีแล้ว ซ่ึงเป็นสมัยวิวัฒนาการ ยุคหินใหม่ หรือสมัยวิวัฒนาการเพาะปลูก เม่ือมนุษย์เข้าสู่ยุคท่ีเจริญรุ่งเรือง มีสังคม วัฒนธรรม มกี ารซ้อื ขาย มนุษย์จึงมีเวลาที่จะคิดในความงดงามจรรโลงใจ เมื่อ ท้องอ่ิมแล้ว งานศิลปะที่จึงเป็นงานที่มนุษย์ สร้างขึ้นเพื่อความเติมเต็มความ งามด้านจิตใจ มใิ ชท่ างร่างกายแต่อย่างเดียว
13
14 คานยิ ามของศิลปะและความงาม คานิยามของความงาม ความงามซ่ึงเป็นนามธรรมกว่าศิลปะ เพราะความเป็นผลท่ีเกิดข้ึนจาก ความรูส้ กึ ซาบซึ้งในงานศิลปะท่ีได้สัมผัส หรือความงามท่ีสัมผัสผ่านธรรมชาติ รอบตวั ที่มนษุ ยไ์ มไ่ ด้เปน็ ผู้สรา้ งขึ้น ทั้งน้ี ความงามในทัศนะของนักปรัชญาชาวกรีกโบราณ อย่าง เพลโท นักปรัชญากรีก (Plato 427 - 347 BC) ยังโยงไปถึงความงามในจิตใจท่ี เก่ยี วกบั จริยธรรม คุณธรรม ความจริง ความดี ความยุติธรรม ความกล้าหาญ ความมีเกียรติ มีศักดศิ์ รี ก็ถือเปน็ ความงาม เชน่ กนั
15 ทฤษฎศี ิลปะ ดา้ นจติ รกรรม ผลงานภาพจติ รกรรม ชอ่ื The Scream ปคี .ศ. 1893 (Fine Art Theory) วาดโดยเอด็ เวริ ์ด มงุ ค์ ( Edvard Munch 1863 – 1944) The Scream ผลงานของเอ็ดเวิร์ด มุงค์ จัดเป็นผลงานจิตรกรรมตามทฤษฎี การแสดงออกทางอารมณ์ (Emotionalism)อันเป็นทฤษฎีที่มุ่งเสนอความรู้สึก อารมณ์ และ ความคิด ผ่านศิลปะแขนงต่างๆ เช่น การเห็น การได้ยิน และการเคลื่อนไหว โดยมีหลักการ สาคัญทีก่ ารมุ่งสร้างอารมณ์ความรู้สึกให้ปะทุขึ้น (a work of art based on its ability to evoke a feeling) หากกล่าวเฉพาะงานจิตรกรรม การแสดงออกทางอารมณ์จะกระทาผ่าน เน้อื หา (subject) การวางองคป์ ระกอบภาพ (composition)
7 องค์ประกอบของศลิ ปะ ไดแ้ ก่ 16 ทฤษฎศี ิลปะ • เนือ้ วสั ดหุ รอื ลกั ษณะผิว (texture) ดา้ นจติ รกรรม • แสงเงาหรือความสว่างความมืดของสี (value) (Fine Art Theory) • เสน้ (line) • พืน้ ทีว่ ่างภายในภาพ (space) • มิติรปู รา่ ง (shape) • มติ ริ ูปทรง (form) • สี (color)
เส้น (Line) 17
มิติรปู รา่ ง (Shape) 18
มิติรูปทรง (Form) 19
สี (Color) วงจรสี colour wheel 20
เนอ้ื วัสดหุ รอื ลักษณะผิว (Texture) 21 พ้ืนผิว หมายถึง ลักษณะของบริเวณผิวหน้าของสิ่งต่างๆ ที่เม่ือ สมั ผัสแล้วสามารถรบั รู้ได้ วา่ มลี ักษณะอยา่ งไร คอื รู้ว่า หยาบ ขรุขระ เรียบ มัน ดา้ น เนียน สาก เป็นต้น ลักษณะท่สี ัมผสั ไดข้ องพนื้ ผิว มี 2 ประเภท คือ 1. พ้ืนผิวที่สัมผัสได้ด้วยมือ หรือกายสัมผัส เป็นลักษณะพ้ืนผิวที่ เ ป็ น อ ยู่ จ ริ ง ๆ ข อ ง ผิ ว ห น้ า ข อ ง วั ส ดุ น้ั น ๆ ซึ่ ง ส า ม า ร ถ สั ม ผั ส ไ ด้ จ า ก ง า น ประติมากรรม งานสถาปตั กรรม และสิง่ ประดิษฐ์อน่ื ๆ 2. พื้นผิวท่ีสัมผัสได้ด้วยสายตาจากการมองเห็นแต่ไม่ใช่ลักษณะ ที่แทจ้ ริงของผิววัสดุนั้นๆ เชน่ การวาดภาพก้อนหินบนกระดาษจะให้ความรู้สึก เปน็ กอ้ นหิน ลกั ษณะเชน่ นถ้ี ือวา่ เปน็ การสร้างพื้นผวิ ลวงตาใหส้ มั ผัสได้ด้วยการ มองเหน็ เทา่ น้นั
แสงเงาหรอื ความสวา่ งความมืดของสี (Value) 22
พ้ืนท่ีว่างภายในภาพ (Space) 23
ทฤษฎีศลิ ปะด้านดนตรี (Music Theory) ดนตรีเกดิ จาก เสยี ง ทานอง ความดงั -เบา (sound) (melody) (dynamic) การประชุมกันของ สีสันของเสยี ง ลีลาจงั หวะ อัตราความชา้ เร็ว เสียงท่ีถูกสร้างข้ึนโดยอุปกรณ์ (tone color) (rhythm) (tempo) ดนตรี หรือเสียงมนุษย์ กล่าว ไ ด้ ว่ า ด น ต รี มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ การประสานเสียง รปู แบบการประสม รปู แบบโครงสรา้ ง (music elements) (harmony) เสียง (texture) ดนตรี (form) 24
ในแต่ละกระบวนของเพลงท่ีแปรเปลี่ยนน้ัน มีลีลาจังหวะ(rhythm) ท่วงทานอง (melody) การประสานเสียง (harmony)และอตั ราช้า-เร็ว (tempo)บอกความหมายแกผ่ ูฟ้ งั โดย ลลี าจังหวะหมายถึง อากัปกิริยาของเพลงที่บอกวา่ เปน็ เพลงแนวไหน ท่วงทานองหมายถึง เสยี งท่ีบอกอารมณห์ รือความรู้สกึ ตา่ งๆ ในเพลง การประสานเสียงหรือเสียงประสานหมายถึง การจัดเสียงหมู่หน่ึงดังขึ้นพร้อมๆ กัน เพื่อสร้างสีสันและความ ไพเราะของเพลง และ อัตราช้า-เร็ว หมายถึง จังหวะเคาะ(beat) ท่ีดาเนินไปสม่าเสมอในหน่ึงห้องเสียง (measure)ซึ่งเปรียบเหมือน จังหวะ การเต้นของหวั ใจ ทั้งน้ี อัตราชา้ -เรว็ สามารถสง่ ผลกระทบตอ่ อารมณ์และความรูส้ ึกของผฟู้ ัง 25
26 Beethoven- Symphony No.6 in F major - Wiener Philharmoni , Christian Thielemann แหลง่ ทีม่ า : https://www.youtube.com/watch?v=s_xS8OLQYI0
27 The End GEH1101 l Aesthetic Appreciation
28 นางสาวอภิรติ ไตรยาวัฒน์ นักวิชาการศึกษา หน่วยงาน ฝา่ ยบรกิ ารการศึกษา สานกั วิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนร้อู ิเล็กทรอนิกส์
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: