Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4.ทักษะการแสดง 1

4.ทักษะการแสดง 1

Published by ticha.kum, 2019-08-27 10:45:06

Description: 4.ทักษะการแสดง 1

Search

Read the Text Version

คาํ นํา โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 จังหวัดเชียงใหม สังกัดสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ไดนํา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ไปใชเปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียน ทักษะภาษาและการส่ือสาร ทักษะการชวยเหลือ ตนเองและสุขอนามัย ทักษะสังคมและการดํารงชีวิต ทักษะวิชาการ และทักษะอาชีพ ใหนักเรียนสามารถ พงึ่ พาตนเอง อยูก ับครอบครัวและสังคมไดอ ยา งมีความสขุ เปาหมายการพัฒนานักเรียน ซึง่ กาํ หนดสมรรถนะทส่ี ําคัญของนักเรียนไว 5 ขอ คือ ความสามารถใน การส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป ญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิตและ ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ดงั นั้น หลักสตู รวิชาทกั ษะการแสดง 1 เปนแนวทางใหนกั เรียนไดเ ลือกเรียน ตามความสามารถและความถนัดของตนเอง การฝกทักษะแกนักเรียนท่ีดอยโอกาสทางการศึกษา เปนกระบวนการการหนึ่งในการเตรียมความ พรอมในการประกอบอาชีพใหแกน ักเรียน ซ่ึงนอกจากนักเรียนจะไดรับทักษะทางดานศิลปะแลวนักเรียนยัง ไดรับการฝกทักษะทางสังคมควบคูไ ปดวย หากนักเรียนไดรับการฝกทกั ษะจนสามารถประกอบอาชพี เองได ก็ จะทาํ ใหเขาสามารถเล้ียงดตู นเองและครอบครวั ได หลักสูตรวิชาทักษะการแสดง 1 เลมนี้ เปน หลักสูตรมุงเนน กระบวนการพฒั นาดานความคิดและการ ปฏิบัติ เพ่ือเปดโอกาสใหนักเรยี นไดเลือกเรียน ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง เพื่อเปนพื้นฐานให นักเรยี นนาํ ไปประกอบอาชพี ในอนาคตไดตามศกั ยภาพ

รหสั วชิ า ศ 31230 คาํ อธิบายรายวชิ า เวลา 40 ช่ัวโมง รายวิชา ทกั ษะการแสดง 1 จาํ นวน 1.0 หนวยกติ มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคู และเปนหมู สรางสรรคละครส้ันในรูปแบบท่ีชื่นชอบสามารถวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและละครที่ตองการสื่อ ความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอการ แสดง วิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมินการแสดงและ สามารถวิเคราะหทา ทางการเคลื่อนไหวของผคู นในชวี ิตประจาํ วนั และนาํ มาประยุกตใชในการแสดง เขาใจวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการ นาฏศิลปและการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตาง ๆ สามารถเปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชในโอกาส ตา ง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนรุ กั ษนาฏศิลปไทย ผลการเรยี นรู 1. รวู วิ ัฒนาการของนาฏศิลปแ ละการละครไทยตั้งแตอ ดีตจนถงึ ปจจบุ นั 2. รปู ระเภทของละครไทยในแตล ะยุคสมัย 3. รรู ูปแบบของการแสดงโขนในแตละประเภท 4. รบู ทบาทของบุคคลสาํ คัญในวงการนาฏศิลปแ ละการละครของประเทศไทยในยุคสมยั ตา งๆ

ผงั มโนทัศน รายวิชา ทักษะการแสดง 1 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 หนว ยการเรียนรูท่ี 1 เรือ่ งววิ ฒั นาการของละคร หนว ยการเรียนรูท่ี 2 เรอื่ งประเภทของละครไทย ไทยตง้ั แตอดตี ถึงปจ จบุ นั จํานวน 24 ชวั่ โมง : 60 คะแนน จํานวน 6 ชัว่ โมง : 15 คะแนน ทกั ษะการแสดง 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 40 ช่ัวโมง หนว ยการเรียนรูที่ 3 เรอ่ื งโขน หนว ยการเรยี นรูท่ี 4 เรื่องประวัตบิ ุคคล จํานวน 4 ช่ัวโมง : 10 คะแนน สําคัญในวงการละครไทย จาํ นวน 6 ช่วั โมง : 15 คะแนน

การบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เง่อื นไข 3 หลกั การ 4 มิติ รายวชิ า ทักษะการแสดง 1 ความรู คณุ ธรรม 1. แสดงความรเู กี่ยวกับหลกั การแสดงละคร 1. ความมีระเบียบ วินยั กจิ นสิ ัยท่ีดีในการเรียน 2. แสดงความรู ความเขา ใจ 2. ความรับผิดชอบ 3. แสดงความรู ความเขาใจในการปฏิบัติการ 3. ความสนใจใฝรู และปฏิบัติงานคํานึงถึงความ ปลอดภัย แสดงละคร ในงานวัตถุไดตามหลักการและ 4. ความมีมนษุ ยสมั พันธ กระบวนการ 5. ความซื่อสัตย 4. เลอื กใชว ัสดุ ใหเหมาะสมกบั งาน 6. ความสะอาด 7. ประณีต และรอบคอบ พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู คิ มุ กนั 1. เรียนรทู ี่จะแบง ปนเวลาในการ 1.สามารถใชความรูเร่อื งการแสดงละครได 1. มีการวางแผนในการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ในการทาํ ชิ้นงานใหส ําเร็จทนั เวลา อยา งสมเหตุผล 2. ดําเนินกจิ กรรม ตามลําดับขั้นตอน 2. เรียนรทู จี่ ะใชว ัสดุ อปุ กรณ 2. นําความรูเ รือ่ งเร่ืองการแสดงละครท่ไี ด 3. มีทักษะในการคดิ การ แกปญหา และการตัดสนิ ใจ และทรัพยากรท่ีมใี นทอ งถิ่นอยา ง เรียนไปประยุกตใ ชในการดาํ เนิน 4. มีความเขาใจในการ เลือกซอื้ หรือเลอื กหาวสั ดุมา คมุ คาและประหยดั โดยการใชว สั ดุ ชวี ติ ประจําวัน ใชใ นชน้ิ งานตางๆ อปุ กรณท ม่ี ใี หเ กิดประโยชน 3.การนําความรูเรื่องการคดิ ตนทนุ การผลิต 3.รจู กั ประเมนิ ความรคู วามสามารถ และการกําหนดราคาขายไปใชใ น ของตนเองและเพื่อนในกลุม ชวี ิตประจําวนั 4.เรียนรจู ะแบงภาระหนา ท่แี ละ แกปญ หาตามความสามารถของ ตนเองและเพอ่ื นในกลมุ

วัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม วฒั นธรรม 1. รหู ลักการใชทรัพยากร 1.รูและเขาใจความ 1.ไมท าํ ลายสิง่ แวดลอม 1. รหู ลักการใช และวสั ดุอยา งคุม คา แตกตา งระหวางบุคคลอยู 2. รูจกั การเลอื กใชวสั ดุ รวมกับคนอ่ืนไดอ ยางมี ใชท รัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรและวสั ดุ อุปกรณใหถูกตอ งตาม ความสขุ หลกั การทางการแสดง 2. รูจ ักกฎ ระเบยี บ อยางเปนมิตร อยา งคมุ คา กติกา หนา ที่ในการอยู รว มกับคนอนื่ 3. ยอมรับความคิดเห็น และเคารพในการตัดสินใจ ของผอู นื่ 4. รูจ กั มารยาทในสงั คม และการแบงปน

โครงสรางหลกั สูตร รายวชิ า ทักษะการแสดง 1 ความสําคญั การฝกทักษะทางดานการแสดงละครแกนักเรียนท่ีดอยโอกาสทางการศึกษา เปน กระบวนการการหนึ่งในการเตรียมความพรอมในการประกอบอาชีพใหแกนักเรียน ซ่ึงนอกจากนักเรียนจะ ไดรับทักษะทางดานการแสดงละครแลวนักเรียนยังไดรับการฝกทักษะทางสังคมควบคูไปดวย หากนักเรียน ไดรับการฝกทักษะทางดานการแสดงละครจนสามารถประกอบอาชีพเองได ก็จะทําใหสามารถเล้ียงดูตนเอง และครอบครัวได การฝกทกั ษะการแสดง 1 ถือเปนงานท่ีมีขั้นตอนการทํางาน และฝกปฏิบัติงานทางดานงาน การแสดงละคร จนเกิดความชํานาญ สราง ผลิตงานท่ีมีคุณภาพ ซึ่งนักเรียนสามารถแสดงผลงาน เพ่ือสราง รายไดใ หก ับตนเองและครอบครวั จุดมงุ หมาย 1. เพ่ือใหนกั เรียนมคี วามรู ความเขาใจ เร่อื งวิวฒั นาการของละครไทยต้งั แตอดีตถงึ ปจจุบนั 2. เพ่อื ใหน กั เรียนมีความรู ความเขาใจเกย่ี วกับประเภทของละครไทย 3. เพ่ือใหนกั เรยี นมีความรู ความเขาใจ เรื่องโขน 4. เพ่อื ใหน กั เรยี นมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับประวัติบคุ คลสําคัญในวงการละครไทย ผลการเรยี นรู 1. รูว วิ ฒั นาการของนาฏศลิ ปแ ละการละครไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจบุ ัน 2. รปู ระเภทของละครไทยในแตล ะยคุ สมัย 3. รูรปู แบบของการแสดงโขนในแตละประเภท 4. รูบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศลิ ปแ ละการละครของประเทศไทยในยคุ สมัยตา งๆ เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบดวยเนือ้ 4 เรอื่ ง ดงั นี้ 1. วิวฒั นาการของนาฏศิลปแ ละการละครไทยตง้ั แตอ ดตี จนถงึ ปจ จบุ นั 2. ประเภทของละครไทยในแตละยุคสมยั 3. รูปแบบของการแสดงโขนในแตละประเภท 4. บทบาทของบคุ คลสําคัญในวงการนาฏศลิ ปแ ละการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ เวลาเรียน ใชเ วลาเรยี นท้งั หมด 40 ช่ัวโมง ภาคทฤษฎี จํานวน 40 ชว่ั โมง แหลงการเรยี นรูและสอื่ ประกอบการเรียน 1. ใบความรู 2. หองสมุดโรงเรียน 3. หอ งสืบคนขอมลู อินเทอรเนตโรงเรยี น 4. ส่อื วดี ีทัศน

การวัดผลประเมนิ ผลการเรียน 1. การประเมนิ ความรภู าคทฤษฎีระหวา งเรียนและจบหลักสูตร 2. การประเมินผลระหวา งเรียนจากการปฏบิ ัติงานท่ีมคี ุณภาพ สวยงาม คงทน สามารถสรา งรายได ใหก บั ตนเอง ความสาํ เรจ็ ของการปฏิบัติและจบหลักสูตร ประโยชนท่คี าดวาจะไดรับ 1. นกั เรียนรวู ิวฒั นาการของนาฏศลิ ปแ ละการละครไทยตัง้ แตอดตี จนถงึ ปจ จบุ ัน 2. นักเรียนรูประเภทของละครไทยในแตล ะยคุ สมยั 3. นักเรยี นรูรปู แบบของการแสดงโขนในแตละประเภท 4. นกั เรยี นรบู ทบาทของบคุ คลสําคัญในวงการนาฏศิลปแ ละการละครของประเทศไทยในยุคสมยั ตา งๆ โครงสรา งเน้ือหาของหลกั สูตร ประกอบดวยเนอ้ื หา 4 เรื่อง ดงั น้ี เรอ่ื งท่ี 1 วิวัฒนาการของละครไทยตงั้ แตอ ดีตถึงปจ จบุ นั จํานวน 6 ชว่ั โมง 1. วิวัฒนาการการละครไทยในแตละยคุ สมยั - สมยั นานเจา - สมยั สุโขทยั - สมยั อยุธยา - สมยั ธนบุรี - สมยั รตั นโกสินทร เรือ่ งท่ี 2 ประเภทของละครไทย จํานวน 24 ช่วั โมง 1. ละครชาตรี 2. ละครนอก 3. ละครใน 4. ละครดึกดําบรรพ 5. ละครพนั ทาง 6 ละครเสภา 7. ละครรอ งลวนๆ 8. ละครรอ งสลบั พูด 9. ละครพดู ลวนๆ 10. ละครพดู สลับลาํ 11. ละครคําฉนั ท 12. ละครสงั คีต เร่ืองท่ี 3 โขน จํานวน 4 ช่ัวโมง 1. โขนกลางแปลง 2. โขนนัง่ ราว 3. โขนหนา จอ 4. โขนโรงใน 5. โขนฉาก

เร่อื งที่ 4 ประวตั บิ คุ คลสาํ คญั ในวงการละครไทย จาํ นวน 6 ช่วั โมง 1. ประวตั ิบคุ คลสาํ คญั ในวงการละครไทย - ครูจาํ เรียง พุธประดับ - ครูศิริวฒั น ดิษยนันทน - ครูสัมพันธ พันธุมณี

แผนการจัดกิจกรรมหลักสูตร วิชาทกั ษะการแสดง 1 จาํ นวน 40 ชวั่ โมง จดุ ประสงค เพอื่ ใหนักเรยี นสามารถปฏบิ ัติงานทางการแสดงละครได ท่ี ผลการเรียนรู เนือ้ หา กิจกรรม ส่อื การ การวัดและ จํานวน 1 รูวิวัฒนาการของ การเรยี นรู เรียนรู ประเมินผล ช่วั โมง 1. ใบ 1. ตรวจใบ 6 นาฏศลิ ปแ ละการ 1. วิวฒั นาการการ 1. ใบงานที่ 1.1 เร่อื งการละคร ความรู งาน ละครไทยตัง้ แต ละครไทยในแตละยคุ สมัยนา นเจาถึงสมยั สโุ ขทัย 2. สอ่ื วดี ี อดตี จนถึงปจ จบุ ัน สมัย 2. ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ งการละคร ทศั น - สมัยนานเจา สมัยอยุธยาถงึ สมยั ธนบรุ ี - สมยั สุโขทัย 3. ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง การละคร - สมยั อยธุ ยา สมัยรตั นโกสินทร - สมัยธนบรุ ี - สมัยรตั นโกสนิ ทร 2 รปู ระเภทของละคร - ละครชาตรี 1. ใบงานที่ 2.1 ละครชาตรี 1. ใบ 1. ตรวจใบ 24 - ละครนอก 2. ใบงานที่ 2.2 ละครนอก ความรู งาน ไทยในแตละยคุ - ละครใน 3. ใบงานท่ี 2.3 ละครใน 2. สอ่ื วดี ี สมยั - ละครดึกดําบรรพ 4. ใบงานท่ี 2.4 ละครดกึ ดาํ ทศั น - ละครพันทาง บรรพ - ละครเสภา 5. ใบงานท่ี 2.5 ละครพนั ทาง - ละครรอ งลวนๆ 6. ใบงานที่ 2.6 ละครเสภา - ละครรองสลบั พูด 7. ใบงานท่ี 2.7 ละครรอ งลวนๆ - ละครพูดลว นๆ 8. ใบงานที่ 2.8 ละครรองสลบั - ละครพดู สลับลาํ พูด - ละครคําฉนั ท 9. ใบงานท่ี 2.9 ละครพูดลวนๆ -ละครสงั คตี 10. ใบงานที่ 2.10 ละครพูด สลบั ลาํ 11. ใบงานท่ี 2.11 ละครคาํ ฉนั ท 12. ใบงานที่ 2.12 ละครสังคีต 3 รูรูปแบบของการ - โขนกลางแปลง 1. ใบงานที่ 3.1 ประเภทของ 1. ใบ 1. ตรวจใบ 4 แสดงโขนในแตละ - โขนนงั่ ราว โขน ความรู งาน -โขนหนา จอ 2. ใบงานที่ 3.2 โขน: 2. สอื่ วดี ี ประเภท -โขนโรงใน ศิลปะการแสดงข้นั สูงของไทย ทัศน - โขนฉาก

4 รูบทบาทของบุคคล 1. ประวตั บิ ุคคล 1. ใบงานที่ 4.1 ครูจําเรยี ง พธุ 1. ใบ 1. ตรวจใบ 6 สําคัญในวงการ สาํ คญั ในวงการละคร ประดบั ความรู งาน ไทย 2. ใบงานท่ี 4.2 ครศู ริ วิ ัฒน 2. สอื่ วีดี นาฏศลิ ปและการ - ครจู าํ เรยี ง พุธ ดษิ ยนันทน ทัศน ละครของประเทศ ประดบั 3. ใบงานท่ี 4.3 ครูสมั พันธ ไทยในยคุ สมยั ตางๆ - ครศู ริ ิวัฒน ดษิ ย พนั ธุมณี นันทน -ครูสัมพันธ พันธุมณี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook