คาํ นํา โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๓๑ จังหวัดเชียงใหม สังกัดสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ไดนําหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไปใชเปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และ จดั การเรียนการสอนเพ่ือพฒั นานักเรยี น ทกั ษะภาษาและการส่ือสาร ทักษะการชว ยเหลือตนเองและสุขอนามยั ทกั ษะ สงั คมและการดํารงชีวิต ทักษะวชิ าการ และทักษะอาชีพ ใหนักเรียนสามารถพ่ึงพาตนเอง อยกู ับครอบครัวและสังคม ไดอ ยางมคี วามสขุ เปาหมายการพัฒนานักเรียน ซึ่งกําหนดสมรรถนะท่ีสําคัญของนักเรียนไว ๕ ขอ คือ ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชวี ิตและความสามารถ ในการใชเทคโนโลยี ดังนั้น หลักทักษะเพลงไทย 5 เปน แนวทางใหนักเรยี นไดเลือกเรียนตามความสามารถและความ ถนัดของตนเอง การฝกทักษะแกนกั เรียนท่ีดอยโอกาสทางการศึกษา เปนกระบวนการการหน่งึ ในการเตรียมความพรอมใน การประกอบอาชีพใหแกนักเรียน ซึ่งนอกจากนักเรียนจะไดรบั ทกั ษะทางดานดนตรแี ลว นกั เรียนยังไดรับการฝกทกั ษะ ทางสังคมควบคูไปดวย หากนักเรียนไดร ับการฝกทักษะจนสามารถประกอบอาชีพเองได ก็จะทาํ ใหเ ขาสามารถเลี้ยงดู ตนเองและครอบครวั ได หลักสูตรทักษะเพลงไทย 5 เลม นี้ เปนหลักสูตรมงุ เนนกระบวนการพัฒนาความสามารถ ความถนดั และการ ฝกปฏิบัติ เพ่ือเปดโอกาสใหนักเรียนไดเลือกเรียน ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง เปนพื้นฐานใหนักเรียน นําไปศกึ ษาตอ หรอื ประกอบอาชีพในอนาคตไดตามศกั ยภาพ
รหัสวชิ า ศ 33228 คําอธิบายรายวชิ า เวลาเรียน 80 ชัว่ โมง รายวิชา ทกั ษะเพลงไทย 5 2.0 หนว ยกิต ศกึ ษา เปรยี บเทยี บ จาํ แนก วเิ คราะห วพิ ากษว จิ ารณ การขับรอ ง การขับรองเดยี่ ว การขับรองหมู หลักการขับรอ งเพลง และเทคนคิ การขับรอ งเพลงไทย โดยใชทักษะกระบวนการคดิ ทกั ษะกระบวนการแกปญ หา ทกั ษะกระบวนการใชช ีวิต ทกั ษะกระบวนการสอื่ สาร และทกั ษะกระบวนการใชเทคโนโลยี เพื่อใหม ีความรูค วาม เขา ใจ กลา คิด กลาแสดงออกทางดนตรอี ยางสรา งสรรค เห็นคุณคา ซ่ือสัตยสุจริต มวี ินยั ใฝเ รยี นรู อยอู ยางพอเพยี ง มงุ มน่ั ในการทาํ งาน รักชาติ ศาสน กษัตรยิ รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ และสามารถประยุกตใชใ นชีวิตประจาํ วัน ผลการเรยี นรู 1. รแู ละเขาใจเก่ียวกบั การขบั รอ ง 2. รแู ละเขา ใจเกี่ยวกบั หลักการขับรอ งเพลงไทย 3. รูและเขา ใจเกี่ยวกบั เทคนิคการขับรอ งเพลงไทย 4. รแู ละเขา ใจเกีย่ วกบั ประเภทของวงดนตรไี ทย
ผงั มโนทัศน วิชา ทกั ษะเพลงไทย 5 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 การขบั รอ ง หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 หลักการขบั รองเพลงไทย จํานวน 20 ชั่วโมง จาํ นวน 20 ช่ัวโมง รายวชิ า ทักษะเพลงไทย 5 ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 80 ชว่ั โมง หนว ยการเรยี นรทู ี่ 3 เทคนคิ การขบั รองเพลงไทย หนว ยการเรยี นรทู ่ี 4 ประเภทวงดนตรไี ทย จํานวน 20 ชั่วโมง จาํ นวน 20 ช่ัวโมง
การบูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ รายวชิ า ทักษะเพลงไทย 5 ความรู คณุ ธรรม 1. แสดงความรเู ก่ียวกับทักษะเพลงไทย 1. ความมรี ะเบียบ วนิ ยั กิจนิสยั ที่ดีในการเรยี นทาง 2. แสดงความรู ความเขา ใจ จิตกรรม 3. แสดงความรู ความเขาใจในการปฏิบัติการ 2. ความรบั ผิดชอบ 3. ความสนใจใฝร ู และปฏิบตั งิ านคาํ นึงถงึ ความ ท า ง เพ ล ง ไ ท ย ไ ด ต า ม ห ลั ก ก า ร แ ล ะ ปลอดภัย กระบวนการ 4. ความมีมนษุ ยส ัมพันธ 4. เลือกใชเ ครอื่ งคนตรี ใหเหมาะสมกับงาน 5. ความซื่อสตั ย 6. ความสะอาด 7. ประณีต และรอบคอบ พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู คิ มุ กนั 1. เรียนรูทจี่ ะแบง ปน เวลาในการ 1.สามารถใชความรู เร่อื งทกั ษะเพลงไทย 1. มกี ารวางแผนในการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ในฝกซอมอยางเหมาะสม มาใชไดอ ยา งสมเหตผุ ล 2. ดําเนินกิจกรรม ตามลําดบั ขั้นตอน 2. เรยี นรทู ่ีจะใชวสั ดุ อุปกรณ 2. นําความรูเร่อื งทักษะเพลงไทยทไี่ ดเรยี น 3. มีทักษะในการคิด การ แกปญ หา และการตดั สนิ ใจ และทรพั ยากรท่ีมใี นทองถิน่ อยาง ไปประยุกตใ ชในการดาํ เนินชวี ิตประจาํ วนั 4. มคี วามเขาใจในการ เลอื กใชเคร่อื งดนตรี คมุ คา และประหยดั โดยการใชว สั ดุ 3.การนาํ ความรูเรื่องทกั ษะเพลงไทยมาใช อุปกรณท มี่ ีใหเกิดประโยชน ในชีวิตประจาํ วนั 3.รจู กั ประเมินความรูค วามสามารถ ของตนเองและเพ่อื นในกลมุ 4.เรียนรูจะแบงภาระหนาท่แี ละ แกปญหาตามความสามารถของ ตนเองและเพอื่ นในกลมุ
วัตถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ ม วฒั นธรรม 1. รหู ลกั การใชทรัพยากร 1.รูและเขาใจความ 1.ไมท ําลายสิ่งแวดลอม 1. รูหลักการใช และเคร่อื งดนตรอี ยา งรู แตกตา งระหวางบุคคลอยู คุณคาคุมคา รวมกับคนอื่นไดอ ยา งมี ใชท รัพยากรธรรมชาติ เคร่ืองดนตรอี ยา ง 2. รจู กั การใชเ ครือ่ งดนตรี ความสุข ตามหลักการท่ีถูกตอง อยางเปน มิตร รูคณุ คมุ คา 2. รูจ กั กฎ ระเบยี บ กติกา หนา ที่ในการอยู รว มกับคนอืน่ 3.ยอมรบั ความคดิ เห็น และเคารพในการตัดสนิ ใจ ของผอู ่นื 4. รจู ักมารยาทใน สงั คมและการแบง ปน
โครงสรา งหลักสตู ร รายวิชา ทกั ษะเพลงไทย 5 ความสาํ คญั การฝกทักษะทางดานทักษะเพลงไทยแกนักเรียนท่ีดอยโอกาสทางการศึกษา เปน กระบวนการการหนึ่งในการเตรียมความพรอ มในการพัฒนาความสามารถ และประกอบอาชีพใหแกนักเรียน ซึ่งนอกจากนักเรียนจะไดรับทักษะทางดานทักษะเพลงไทย แลวนักเรียนยังไดรับการฝก ทกั ษะทางสังคมควบคู ไปดวย หากนกั เรยี นไดรับการฝกทักษะทางดา นเพลงไทย จนสามารถประกอบอาชีพเองได ก็จะทําใหสามารถ เลีย้ งดตู นเองและครอบครวั ได การฝกทักษะเพลงไทย 5 ถือเปนงานที่ใชเคร่ืองมือ วัสดุอุปกรณ ตองศึกษาข้ันตอนการ ทํางาน เคร่ืองมือ อุปกรณ การบํารุงรักษาวัสดุ อุปกรณท่ีปฏิบัติ ข้ันตอนการทํางาน และฝกปฏิบัติงาน ทางดานดนตรี จนเกิดความชํานาญ สราง ผลิตงานท่ีมีคุณภาพ สวยงามและคงทน ซ่ึงนักเรียนสามารถจัด แสดงผลงาน เพอื่ สรางรายไดใ หกบั ตนเองและครอบครัว จุดมงุ หมาย 1. เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกยี่ วกบั การขับรอง 2. เพอื่ ใหน ักเรียนมีความรู ความเขาใจ หลักการขับรองเพลงไทย 3. เพือ่ ใหน กั เรยี นรแู ละเขาใจเก่ยี วกบั เทคนคิ การขับรอ งเพลงไทย 4. เพอื่ ใหนักเรียนรูและเขา ใจเกี่ยวกบั ประเภทของวงดนตรไี ทย ผลการเรยี นรู 1. รแู ละเขา ใจเกย่ี วกบั การขับรอง 2. รูและเขาใจเกี่ยวกับหลักการขับรอ งเพลงไทย 3 .รูแ ละเขา ใจเก่ยี วกับเทคนิคการขบั รองเพลงไทย 4. รูและเขา ใจเก่ยี วกับประเภทของวงดนตรไี ทย เนอ้ื หาของหลักสตู ร ประกอบดว ยเนื้อ 4 เรือ่ ง ดงั นี้ 1. การขับรอง 2. หลักการขับรอ งเพลงไทย 3. เทคนิคการขับรองเพลงไทย 4. ประเภทวงดนตรีไทย เวลาเรยี น ใชเ วลาเรียนทั้งหมด 80 ช่วั โมง ภาคทฤษฎี จาํ นวน 20 ชว่ั โมง ภาคปฏิบตั ิ จํานวน 60 ชว่ั โมง
แหลง การเรยี นรแู ละสอ่ื ประกอบการเรียน 1. ใบความรู 2. หอ งสบื คนขอ มลู อินเตอรเนตโรงเรียน 3. วสั ดอุ ุปกรณใ นการปฏิบตั ิงาน 4. สอ่ื วดี ที ศั น การวัดผลประเมินผลการเรียน 1. การประเมนิ ความรูภาคทฤษฎีระหวางเรยี นและจบหลกั สูตร 2. การประเมินผลระหวางเรยี นจากการปฏบิ ตั งิ านไดถ ูกตองตามหลกั การ ขั้นตอน ความสาํ เร็จ ของการปฏิบตั ิและจบหลักสตู ร ประโยชนทคี่ าดวาจะไดร บั 1. นกั เรยี นรแู ละเขา ใจเกยี่ วกบั การขับรอง 2. นกั เรียนรูและเขาใจเก่ียวกบั หลกั การขับรองเพลงไทย 3. นักเรียนรูและเขา ใจเก่ยี วกับเทคนิคการขบั รองเพลงไทย 4. นกั เรยี นรูและเขา ใจเก่ียวกบั ประเภทของวงดนตรไี ทย โครงสรางเนือ้ หาของหลกั สูตร ประกอบดวยเน้ือหา 4 เรอ่ื ง ดงั นี้ เรือ่ งท่ี 1 การขับรอง จาํ นวน 20 ชวั่ โมง 1. การขบั รอ งเพลงเด่ยี ว 2. การขับรองเพลงหมู เรือ่ งท่ี 2 หลักการขบั รอ งเพลงไทย จาํ นวน 20 ชว่ั โมง 1. การขับรอ งอิสระ 2. การขับรองประกอบดนตรี 3. การขับรองประกอบการแสดง 4. การขบั รอ งหมู เรอ่ื งท่ี 3 เทคนิคการขับรอ งเพลงไทย จํานวน 20 ชวั่ โมง 1. การใชเ สียงพิเศษ 2. การแสดงออกถึงอารมณในการขบั รอ ง 3. การแสดงออกทางบุคลิกภาพ เรื่องที่ ประเภทวงคนตรี จาํ นวน 20 ชั่วโมง ๑. วงปพ าทย ๒. วงเครอื่ งสายไทย ๓. วงมโหรี
แผนการจัดกจิ กรรมหลกั สูตร รายวิชาทกั ษะเพลงไทย 5 จาํ นวน 80 ช่วั โมง จุดประสงค เพือ่ ใหน กั เรยี นสามารถปฏิบตั งิ านทกั ษะเพลงไทย และสรางสรรคผ ลงานทางดานดนตรีได ที่ ผลการเรยี นรู เน้อื หา กจิ กรรม สอ่ื การ การวดั และ จาํ นวน การเรยี นรู เรียนรู ประเมนิ ผล ชั่วโมง 1 1.รูและเขาใจเกย่ี วกับ 1.การขบั รอ งเพลง เปน 1. นักเรียนศกึ ษา 1.วิดที ัศน การขับรอ ง กจิ กรรมสรา งสรรคทาง ลกั ษณะ และ การขบั รอง 1.ประเมนิ 20 ดนตรีวธิ ีหนึง่ ที่ทําใหเกิด ขั้นตอนการขบั รอง เพลง จากผลการ ความสนกุ สนาน เดย่ี วและการขบั ปฏบิ ัติ เพลดิ เพลนิ แกผูรอ งและ รอ งหมู 2.แบบ ผฟู ง ซึง่ การขับรองอาจจะ แบง ออกเปน 2 ประเภท 2.ครูอธบิ าย ประเมินการ คอื การขบั รอ งเด่ยี วและ เพิม่ เตมิ การขับรองหมู ขับรอ ง 3.นักเรยี นปฏบิ ัติ 2.การขับรองเด่ียว ตามข้ันตอน หมายถึง การรองเพลงโดย บคุ คลเพยี งคนเดียว อาจมี 4.ครูใหค ําแนะนํา ดนตรีประกอบหรอื ไมมกี ็ นักเรียน ได 3.การขับรอ งหมู หมายถงึ การรองเพลงโดย บุคคลตงั้ แต 2 คนข้ึนไป อาจมดี นตรีประกอบ หรือไมมีกไ็ ด ซ่งึ การขับ รอ งแบบหมนู ้ีอาจจะรอง แบบเปนทาํ นองเดียวกนั หรอื รองแบบประสานเสียง กันก็ได
ท่ี ผลการเรียนรู เนอื้ หา กจิ กรรม สือ่ การ การวดั และ จํานวน การเรยี นรู เรียนรู ประเมินผล ชว่ั โมง 1.ใบความรู 1.ประเมนิ 20 2 รแู ละเขาใจ การขบั รอ งเปน การสรางสรรค 1. นักเรยี น หลกั การขบั จากผลการ เกีย่ วกับ ทางดนตรวี ิธีหน่ึง ซ่งึ ใชว ิธีเปลง ศกึ ษาหลกั การขับ รอ งเพลง ปฏบิ ัติ หลกั การขับรอง เสียงออกมาใหเ ปน เพลงตาง ๆ รองเพลงไทย ไทย 2.แบบ เพลงไทย โดยอาศยั องคประกอบทางดนตรี ประเมนิ การ เพ่อื ทาํ ใหเ พลงท่รี องมคี วาม 2.ครูอธิบาย 2. วิดีทศั น ขับรอง ไพเราะข้ึน เพ่ิมเติม หลกั การขบั รอ งเพลง 1. ประเภทของการขบั รอ ง 3.นักเรยี นฝก ไทย แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก ปฏิบัตติ ามข้นั ตอน 1. การขับรอ งอิสระ คือ การขับรองท่ัวไป โดยไมมีดนตรี 4.ครูให ประกอบผขู บั รองสามารถขบั รอ ง คําแนะนาํ กบั ตามท่ีตนเองถนัดหรอื ตองการ นกั เรยี น โดยไมค ํานงึ ถึงระดับเสยี งของ เคร่อื งดนตรี 2. การขับรองประกอบ ดนตรี คือ การขบั รอ งใหเ ขากบั การบรรเลงเคร่ืองดนตรี โดย คํานึงถงึ ทาํ นอง จงั หวะ และ รปู แบบของเพลง 3. การขับรอง ประกอบการแสดง คือ การขับ รอ งเพ่ือบรรยายเนื้อเร่อื งหรอื เนื้อ เพลงประกอบการแสดงตา ง ๆ 4. การขับรองหมู คอื การขบั รอ งพรอมกันตง้ั แต 2 คน ขนึ้ ไป แบงเปน 2 ลักษณะ คอื การขบั รองทาํ นองเดียวกนั และ การรอ งประสานเสยี ง 2. การขบั รอ งเพลงไทย การ ขับรองเพลงไทย ควรเร่มิ จาก ทา ทางการรอง เน่ืองจากเพลง ไทยมีลักษณะเฉพาะ ผูขับรอ งจะ น่ังรอ งเปน สวนใหญแ ละมยี นื รอ ง บา งตามโอกาส ซึง่ ผูขับรอ งควร จะแสดงทาทางใหเ หมาะสม ดงั นี้ 1. ทานัง่ ผูขับรองสวน
ใหญจะนั่งราบกบั พืน้ เวที เชน เดียวกับนักดนตรีซึง่ จะตอง นั่งพบั เพียบใหเ รียบรอย สาํ รวม กิริยา นั่งตวั ตรงไมกระดกุ กระดิก หรือเคล่ือนไหวมากเกนิ ไป ขณะ รอ งใหห ันหนาไปทางผชู มเสมอ 2. ทา ยืน ในบางโอกาส ผขู ับรอ งอาจจะไดย นื รอ ง ซึ่งผูข ับ รอ งควรยนื รอง ซึง่ ผขู ับรอ งควร ยนื อยางสาํ รวมกิรยิ าทา ทาง และ ระวงั การเคลือ่ นไหวมือ เทา และ ลาํ ตัว การขบั รอ งเพลงไทย มี หลกั การปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. รองใหม รี ะดบั เสียง สอดคลอ งกบั เสยี งดนตรี 2. หายใจเขา -ออก ให สอดคลองกับชวงจงั หวะ ทาํ นอง และเนื้อเพลง 3. ออกเสียงพยญั ชนะ สระ คําควบกลาํ้ ตามอกั ขรวธิ ี 4. รอ งใหถ กู ตองตาม วรรคตอนของเน้ือเพลง เพราะ หากรองไมถูกวรรคตอน อาจทาํ ใหความหมายคลาดเคล่ือนได 5. เนอ่ื งจากเพลงไทยมี การเอือ้ น ใหระมัดระวังในเร่ือง การออกเสยี งควรเอ้ือนใหม ี น้าํ เสยี งสมํา่ เสมอตามจงั หวะและ ทํานองเพลง
ที่ ผลการเรยี นรู เน้อื หา กจิ กรรม ส่ือการ การวัดและ จาํ นวน การเรยี นรู เรยี นรู ประเมนิ ผล ช่วั โมง 1.ใบความรู 1.ประเมิน 20 3 รูและเขา ใจ 1.การใชเ สยี งพเิ ศษ 1. นักเรยี น เทคนิคการ จากผลการ ศกึ ษาเทคนิคขบั ขับรอ งเพลง ปฏบิ ัติ เก่ียวกบั เทคนิค -เสียงพเิ ศษที่ใชในการขับรอ งเปน รอ งเพลงไทย ไทย 2.แบบ การขบั รอง เทคนิคทนี่ ักรอ งในสมยั โบราณ 2. วดิ ีทศั น ประเมนิ การ เพลงไทย นิยมใชกันมากและนกั รอ งทกุ ๆ 2.ครูอธิบาย เทคนคิ การ ขับรอ ง คนจะพยายามฝกฝนเสยี งตาง ๆ เพิ่มเติม ขับรองเพลง ไทย เหลาน้ี เพ่อื ใหการขับรองเพลงได 3.นักเรยี นฝก ไพเราะยิ่งขนึ้ แตก ารใชเสยี งพเิ ศษ ปฏิบตั ติ ามเทคนิค นี้ไมใชจะทําไดท ุกคน นกั รองท่ี การขบั รอ งเพลง ไมไดฝก ฝนไมส ามารถจะทาํ ได ไทย เพราะเปนสงิ่ ทย่ี ากพอสมควร 4.ครูให คําแนะนํากับ 2.การแสดงออกถึงอารมณใ น นกั เรยี น การขบั รอง -การขับรอ งเพลงไทยใหไ ดค วาม ไพเราะซาบซ้งึ เกิดจากผูขบั รอง ใสอ ารมณแ ละความรูสึกในบท เพลง การใสอารมณในการขบั รอ งเปนเร่ืองทค่ี อ นขา งยาก ผูข ับ รองท่ีจะรอ งเพลงใหไดอารมณน นั้ 3.การแสดงออกทางบคุ ลกิ ภาพ -บุคลกิ ภาพของนกั เรียนและนัก ดนตรีมคี วามสาํ คญั มาก ผบู รรเลง และผูข ับรองจะอยูในอาการที่ สงบเสงย่ี ม เรียนรอ ย นมุ นวล ออ นโยน ไมกระดาง ลกั ษณะของผูท ่ีจะฝกขับรอ ง เพลง ผูท่ีจะสามารถขับรอ งเพลงให ไพเราะไดนนั้ ตอ งมีคณุ สมบตั ิ
เฉพาะตวั หลายประการซงึ่ โดยทว่ั ไปแลว ผูท่มี ีความสามารถ ในการฝกหัดขับรอ งเพลง ควรมี ลกั ษณะ ดังนี้ 1. มีความสุขพลานามยั สมบรูณ 2. บคุ ลิกภาพท่ดี ี 3. มเี สียงกงั วานแจม ใส 4. ออกเสยี งใหถ ูกตอ งตาม อกั ขระวธิ ี 5. เปนผรู จู งั หวะ 6. เปนผชู อบการแสดง 7. เปน ผทู ี่มีความจําอยูในเกณฑ ดี 8. เปน ผมู ีสมองปราดเปรอ่ื ง รูปแบบการขับรอง 1. การขบั รองเดยี ว คอื การขบั รอ งเพลงเดยี ว จะมดี นตรี ประกอบหรอื ไมมกี ไ็ ด ผทู ี่ สามารถทําการขับรอ งเดี่ยวได จะตอ งมีความสามารถในการขับ รองเปนอยางมาก 2. การขับรองหมู คอื การขับ รอ งเพลงตง้ั แต ๒ คนขน้ึ ไป จะมี ดนตรีหรอื ไมม กี ็ได การขับรอ งหมู สามารถแบง ไดเปน ๒ ลักษณะ คอื 2.1 การขับรอ งหมแู บบธรรมดา 2.2การขบั รองหมแู บบประสาน เสียง
ท่ี ผลการเรยี นรู เนือ้ หา กจิ กรรม สอ่ื การ การวัดและ จาํ นวน 4 รแู ละเขาใจ การเรียนรู เรยี นรู ประเมินผล ชั่วโมง 1.หนงั สือ เกี่ยวกับ วงดนตรีไทย ในปจ จุบนั ได 1. นักเรียน เรยี น 1.ประเมนิ 20 ประเภทของวง จัดรูปแบบการบรรเลง มคี วาม ศึกษาประเภทของ 2.ใบความรู จากการ ดนตรีไทย เปน ระเบยี บแบบแผน มี วงดนตรีไทย ตรวจใบงาน มาตรฐานถกู ตอ งตามหลักการ ประสมวง มกี ารพัฒนารูปแบบ 2.ครูอธบิ าย การบรรเลงเปน ระยะ ซงึ่ แบง ได เพิม่ เตมิ เปน ๓ ประเภท คือ 3.นกั เรียนทาํ ใบ ๑.๑ วงปพ าทย งานตามทค่ี รู วงปพ าทย หมายถึง วง กําหนด ดนตรที ่ีเกดิ จากการประสมวงกนั 4.ครูและนกั เรยี น ระหวางเคร่ืองดนตรปี ระเภท รว มกันสรปุ เคร่ืองเปา และเคร่ืองดนตรี เกี่ยวกบั ประเภท ประเภทเครอ่ื งตีเปน หลกั แบง ออกเปน ๓ ขนาด ดงั น้ี ของวงดนตรไี ทย วงปพ าทยเ ครือ่ งหา ๑.) วงปพาทยเคร่ืองหา วงดนตรี ประเภทนี้มีการประสมวงมา ตั้งแตสมัยสโุ ขทัยเปนราชธานี ประกอบดว ย ปใน ระนาดเอก ฆองวงใหญ ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง วงปพ าทยเครอื่ งคู ๒.) วงปพ าทยเ ครอื่ งคู วงดนตรี ประเภทนเ้ี กดิ การประสมวงครงั้ แรกในสมยั รัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจาอยูหวั ประกอบดว ย ปใน ปนอก ระนาดเอก ระนาดทุม ฆอ งวงใหญ ฆองวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉ่ิง ฉาบ เล็ก ฉาบใหญ กรบั และ โหมง วงปพ าทยเครอ่ื งใหญ ๓.) วงปพาทยเครือ่ งใหญ วง
ดนตรปี ระเภทนีเ้ กิดการประสม วงคร้ังแรกในสมยั รชั กาล พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห วั ประกอบดว ย ปใ น ปนอก ระนาดเอก ระนาดทมุ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทมุ เหลก็ ฆองวงใหญ ฆอ งวงเลก็ ตะโพน กลองทดั ฉ่ิง ฉาบ เลก็ ฉาบใหญ กรับ และ โหมง ๑.๒ วงเครอื่ งสายไทย วงเครอ่ื งสายไทยเปน วง ดนตรีทีป่ ระกอบดว ยเคร่ืองดนตรี ประเภททีม่ ีสายเปนหลัก สวน เครอ่ื งดนตรชี นิดอน่ื ๆทปี่ ระสมใน วงเครือ่ งสาย นยิ มใชเ ครอ่ื ง ดนตรีที่มีระดบั เสยี งทม่ี คี วาม กลมกลืนสอดคลองกบั เครอ่ื ง ดนตรีอื่นๆในวง แบง ออกเปน ๒ ชนิด ดังน้ี วงเคร่ืองสายเครอ่ื งเด่ยี ว ๑.) วงเครือ่ งสายเคร่อื งเด่ียวหรอื วงเครอ่ื งสายวงเล็ก เคร่ือง ดนตรีประกอบดวยซอดวง ๑ คัน ซออู ๑ คัน จะเข ๑ ตวั ขลยุ เพียงออ ๑ เลา โทน-ราํ มะนา ๑ สํารบั ฉิ่ง ๑ คู และฉาบเล็ก ๑ คู วงเครอ่ื งสายเครื่องคู ๒.) วงเครือ่ งสายเครื่องคู เครอื่ ง ดนตรีประกอบดวย ซอดว ง ๒ คัน ซออู ๒ คนั จะเข ๒ ตวั ขลยุ เพยี งออ ๑ เลา ขลุยหลบี ๑ เลา โทน-ราํ มะนา ๑ สาํ รบั ฉ่ิง ๑ คู ฉาบเลก็ ๑ คู กรบั ๑ คู และโหมง ๑ ใบ
๑.๓ วงมโหรี วงมโหรีเปน วงท่มี ีเครือ่ ง ดนตรปี ระสมวงครบทุกกลมุ คอื เครือ่ งดดี สี ตี และเปา ลกั ษณะเดน ของวง ดนตรีประเภทน้ี คอื ความ กลมกลืนของระบบเสยี งทใ่ี ช เคร่อื งดนตรีประเภทเครอ่ื งตีท่ถี กู ยอ สดั สว น สาํ หรบั ฆองวงท่ี ประสมในวงดนตรปี ระเภทนเ้ี รียก อกี ช่อื หนงึ่ วาฆอ งมโหรี การ ปรบั ลดขนาดเครอื่ งดนตรี ประเภทเครือ่ งตีเพราะตองการให ระบบเสียงมคี วามดงั ที่เขากันได กบั เครอ่ื งดนตรีประเภท เครื่องสาย วงมโหรมี ีการ ประสมวงและถอื เปน แบบแผนมา ตง้ั แตสมยั รชั กาลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจา อยหู วั จําแนก ออกเปน ๓ ขนาด ดงั นี้ วงมโหรเี ครอื่ งเดี่ยว ๑.) วงมโหรีเครื่องเด่ียว เครอื่ ง ดนตรีประกอบดวย ซอสามสาย ๑ คนั ขลุยเพยี งออ ๑ เลา ระนาดเอก ๑ รางฆอ งวงใหญ ๑ วง จะเข ๑ ตัว ซอดว ง ๑ คัน ซออู ๑ คัน โทน-รํามะนา ๑ สํารับ ฉงิ่ ๑ คู วงมโหรีเครอื่ งคู ๒.) วงมโหรเี ครื่องคู เครอ่ื ง ดนตรปี ระกอบดว ยซอสามสาย ๑ คนั ซอสามสายหลีบ ๑ คนั ขลุย เพยี งออ ๑ เลา ขลุยหลีบ ๑ เลา ระนาดเอก ๑ ราง ระนาดทมุ ๑ ราง ฆอ งวงใหญ
๑ วง ฆองวงเล็ก ๑ วง จะเข ๒ ตวั ซอดวง ๒ คัน ซออู ๒ คัน โทน-รํามะนา๑สํารบั ฉิง่ ๑ คู ฉาบเล็ก๑คู กรบั ๑คู โหมง๑ ใบ วงมโหรเี ครื่องใหญ ๓.) วงมโหรีเครอื่ งใหญ เครือ่ ง ดนตรปี ระกอบดวยซอสามสาย ๑ คนั ซอสามสายหลบี ๑ คัน ขลุย เพยี งออ ๑ เลา ขลุยหลีบ ๑ เลา ระนาดเอกมโหรี ๑ ราง ระนาดทุมมโหรี ๑ ราง ระนาด เอกเหล็กมโหรี ๑ ราง ระนาด ทมุ เหลก็ มโหรี ๑ ราง ฆอ งวง ใหญ ๑ วง ฆองวงเลก็ ๑ วง จะเข ๒ ตวั ซอดวง ๒ คนั ซอ อู ๒ คัน โทน-รํามะนา ๑ สํารบั ฉ่งิ ๑ คู ฉาบเลก็ ๑ คู กรับ ๑ คู โหมง ๑ ใบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: