Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การออกแบบภาพล้อและภาพประกอบเรื่อง

การออกแบบภาพล้อและภาพประกอบเรื่อง

Published by jantanuch, 2020-08-20 05:33:24

Description: การออกแบบภาพล้อและภาพประกอบเรื่อง

Search

Read the Text Version

3. ความสำคัญของภาพประกอบเรื่อง ในปัจจุบัน การสรา้ งสรรค์งานภาพประกอบเรื่องน้ันถือว่าเป็นงานศิลปะประยุกต์ (applied art) ประเภทหนึ่งที่เอื้อ ประโยชน์ต่องานศิลปะประยุกต์ประเภทอ่นื ๆ เช่น เปน็ ประโยชน์ต่อสือ่ โฆษณาประเภทสง่ิ พมิ พ์ในฐานะเป็นภาพประกอบ ในแผ่นพับ (folder) ใบปะปิดโฆษณา (poster) นิตยสาร (magazine) หนังสือนิทาน (fable book) หนังสือวิชาการ (academic book) รวมทั้ง สื่อโฆษณาประเภทบรรจุภัณฑ์(packaging) และงานภาพต้นแบบก่อนการถ่ายทำภาพยนตร์ โฆษณา หรือสตอรี่บอร์ด (story board) การสร้างภาพ ประกอบนั้นมีหลักสำคัญคือ ต้องเป็นภาพที่ สอดคล้องและ ส่งเสรมิ เน้ือหา เรอื่ งราว หรือ ขอ้ ความท่ีต้องการนำไปประกอบ นอกจากน้ีต้องเป็นภาพที่มีความคมชัดมากพอที่จะเป็น ตน้ ฉบับในกระบวนการทางการพิมพ์ ภาพและส่วนประกอบตกแต่งภาพบนหน้าส่ิงพมิ พน์ นั้ ก่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม และการถ่ายทอดจินตนาการความคิดให้เปน็ รูปธรรมที่ชัดเจนเพ่ือต้องการให้เกิดประสิทธิภาพผลในการส่ือสารมากที่สุด ดงั นั้นภาพประกอบในสิง่ พิมพ์จึงมีความสำคญั ดังน้ี 1. ใช้สรา้ งความสวยงามทางด้านศิลปะความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการนำเสนอภาพ มุ่งทจ่ี ะใช้ภาพเพ่ือ การเสนอเนื้อหา และสร้างความสวยงาม ความคิด ความรู้สึก ตลอดจนก่อให้เกิดความงามทางจิตใจ ทั้งนี้การนำ ภาพประกอบลงพมิ พ์ช่วยตกแต่งหน้าส่ิงพิมพ์ให้สวยงาม นา่ อา่ น ด้วยการพมิ พภ์ าพประกอบปัจจุบันทท่ี ันสมัย 2. ใช้ดึงดูดความสนใจแก่ผู้พบเห็นไม่ว่าจะเป็นรูปแบบภาพ การจัดวางเนื้อหาภายในภาพตลอดจนสีสันในภาพที่ กระตุ้นใหเ้ กิดความสนใจสื่อสิง่ พิมพน์ นั้ ๆ 3. ใช้สร้างความเข้าใจ บางครั้งการอธิบายเรื่องใดอาจยากต่อการบรรยายให้เกิดความเข้าใจแต่เมื่ออธิบายและใช้ ภาพประกอบด้วยก็จะช่วยให้เข้าใจได้ดี รวดเรว็ และถกู ตอ้ งกว่าการไม่มีภาพประกอบ 4. ใช้เสริมความเข้าใจ ในกรณีที่ข้อความสร้างความเข้าใจในระดับหนึ่งแล้ว แต่ก็ยังอาจจะไม่ชัดเจนหรอื ไขวเ้ ขว จำเป็นต้องมีภาพประกอบเพอื่ เสรมิ ความเข้าใจใหช้ ดั เจน 5. ใช้นำเสนอข้อมูลเพื่อให้เกิดความง่ายต่อการจดจำ รูปภาพและแนวทางการออกแบบนั้นจะทำให้เกิดความ ชัดเจนของเนอื้ หา ภาพจะทำให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจง่ายขน้ึ บุคลิกของการออกแบบจะช่วยเนน้ ความทรงจำได้ดยี ่ิงข้ึน 6. ใช้เป็นหลกั ฐานเพือ่ บง่ บอกบุคคล เชน่ เมอื่ มีการนำเสนอภาพของบุคคลใด ไม่อาจใช้ข้อความอธิบายให้ เห็นไดอ้ ย่างชดั เจนว่าบุคคลน้เี ปน็ ใคร แตเ่ ม่ือลงพมิ พ์ภาพแลว้ บอกช่อื ผเู้ ห็นกจ็ ะรจู้ ักบคุ คลนี้ได้ในทนั ที 7. ใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อความหมาย การออกแบบและการใช้ภาพที่เหมาะสมจะช่วยให้การส่ือ ความหมายได้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเข้าใจง่าย ใช้เวลานอ้ ย และเพ่มิ ความชัดเจนของเนอ้ื หาสาระไดม้ ากยิ่งขึ้น 4. ประเภทของภาพประกอบเร่ือง ภาพประกอบเรอื่ งแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ 1. ภาพเขยี น ระบายสี ทส่ี ร้างสรรคผ์ ลงานตามแนวทางของ งานจติ รกรรม (painting) โดยใชเ้ สน้ และสีเป็น หลัก ภาพเขียนระบายสีเป็นที่นิยมในการนำไปใช้เป็นภาพประกอบหนังสือที่ต้องการภาพที่มีลักษณะเป็น ธรรมชาติ หรอื ต้องการภาพทสี่ บายตา เช่น หนงั สอื กลอน หนังสือนิทาน สมดุ บนั ทกึ

2. ภาพเขียนลายเส้น ซึง่ หมายถึงภาพท่เี นน้ การใช้เส้น โดยสขี องภาพ มกั เป็นขาวดำ ภาพประกอบประเภท นี้ จะให้ ความร้สู กึ ที่จริงคงั กไ็ ตถ้ ้าภาพนั้นใชเ้ สน้ ท่ี หนาและหนัก หรอื ให้ความร้สู ึกเบาสบายกไ็ ต้ หากภาพน้ันใช้ เสน้ พร้ิวเบา ตวั อยา่ งเชน่ ภาพ ประกอบเรือ่ งสนั้ แบบลึกลับ ภาพประกอบกจ็ ะมี เสน้ หนัก มีการแรเงาหนักเพื่อ ส่ือถึงความลกึ ลบั ตามเนอ้ื เรอ่ื ง หรือภาพประกอบในหนังสือนยิ าย รกั แบบเพ้อฝัน กจ็ ะเปน็ ภาพประกอบท่ีมีลาย เส้นเบาเพื่อชว่ ยสรา้ งบรรยากาศตามเน้อื เร่ืองน้นั รปู แบบของภาพประกอบเรือ่ ง ทัง้ 2 ประเภทนนั้ สามารถแบง่ รปู แบบการสรา้ งภาพประกอบดงั น้ี 1.รูปแบบเหมือนจรงิ (Realistic Style) เป็นรูปแบบท่ีต้องการความเป็นธรรมชาติ ความถูกต้อง และบรรยากาศของความเป็นจริงขณะนั้น นิยมใช้กับภาพถ่าย ใช้ภาพประกอบปกหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ประกอบหนงั สือวิชาการตา่ งๆ ท่ีต้องการความถูกตอ้ ง เพราะตอ้ งการความเข้าใจ ง่ายต่อการรับรู้ของคนทั่วไป http://thanakornkarages.blog https://twitter.com/_blueler/status/891825 https://shop.trekkingthai.com spot.com/2016/02/blog- 552046174208 /product/%E0%B8%AB%E0% post.html B8%99%E0%B8%B1%E0%B8 %87%E0%B8%AA%E0%B8% B7%E0%B8%AD%E0%B8%9 4%E0%B8%B9%E0%B8%99% E0%B8%81/ https://sites.google.com/site/ https://www.chaipat.or.th/3 http://oknation.nationtv.tv/blo visuadesignit16/kar-srang- 0thanniversary/8illustrators g/silpa/2009/12/14/entry-1 phaph-prakxb-mi-xari-bang /theduang.html

2.รปู แบบดัดแปลงธรรมชาติ (Modulation Style) เป็นรูปแบบทสี่ ร้างขน้ึ เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับ เรื่องราว เน้อื หา ซงึ่ ไมม่ ีในธรรมชาติ เช่นภาพการ์ตูน https://th.lovepik.com/image-401173614/cartoon-labor-day-illustration.html https://www.kalyanamitra.org/th/Aesop_list.php 3.รูปแบบอิสระ (Free Style) เป็นรูปแบบที่ไม่แสดงเรื่องราวเนื้อหา อาจจะเป็นเพียงลวดลาย รูปทรงแปลก หรอื ต้องการความสวยงามของสีสันมากกวา่ เนอ้ื หา เป็นตน้ https://www.pinterest.com/pin/799459371331389086/ https://www.shutterstock.com/th/image- vector/doodle-black-white-abstract-hand- drawn-365118377

3.ภาพจากการ ถ่ายภาพ ภาพประกอบประเภทนี้ เป็นภาพท่ีบันทึก เรื่องราวที่เป็นจริงเอาไว้ ในปัจจุบันมีท้ัง ภาพถ่าย ขาวดำและภาพถ่ายสี ภาพประกอบประเภทนี้ เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งของการออกแบบ งาน กราฟิก และการออกแบบงานโฆษณา เน่ืองจากปัจจุบนั เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพ สามารถสร้างภาพถ่ายให้แปลก และเกินจรงิ ซึง่ เป็นไปตามความต้องการท่ไี รข้ อบขดี จำกัด https://susupa89.wordpress.com/about/ http://www.naibann.com/20-awesome-tricks-to-take-photographs/ 4. ภาพจากเทคนิคสร้างสรรค์ ภาพประกอบประเภทน้ี ไม่เน้นความเหมือนจรงิ แต่เนน้ ความแปลกใหม่ และ ความตื่นตาตื่นใจเทคนิคที่นำมาใช้มีมากมาย เช่น เทคนิคการสร้างภาพ ด้วยการปะติด (collage technique) ภาพ 3 มติ ิ (Pop-Up) http://us.personal-art.com/product-detail/art- https://www.poppaganda.net/2018/06/ shop/make-your-portrait/photo-collage- 03/bangkok-pop-up-book/ portrait/photo-collage-portrait-1/

5. ข้นั ตอนการวาดภาพภาพสอ่ื ความหมาย ภาพวาดที่ผู้วาดจะวาดออกมานั้นนอกจากจะสวยงามแล้วยังส่ือถึงความหมายและเรื่องราวต่างๆท่ี เกิดขึ้น ซึ่งผู้วาดภาพจะเข้าใจดี คือ การวาดภาพนั้นไมใ่ ช่วาดเพื่อความสวยงามแต่ต้องสามารถเล่าถึงเร่ืองราว ต่างๆจากภาพได้ ขั้นตอนการวาดภาพภาพสื่อความหมายและเรื่องราวผู้วาดจะต้องมกี ารวางแผน ออกแบบไป ตามข้ันตอนด้งน้ี 1. ข้ันกำหนดกรอบแนวคดิ คอื เปน็ การกระชบั ขอบเขตการทำงานไมใ่ ห้กว้างจนเกนิ ไป คอื กำหนดวา่ จะ วาดอะไร เพอื่ สอ่ื ความหมายและเร่อื งราวใด น่าจะใช้เทคนิคการวาดภาพแบบใด 2. ขน้ั กำหนดช่อื เร่อื ง เปน็ การต้ังชือ่ เรอื่ งให้มีความสัมพนั ธก์ บั ภาพที่เราวาดออกมาหรือก่อนจะวาดภาพนัน้ 3. ข้ันร่างภาพ หลังจากตกผลึกแนวคิดในการวาดภาพแล้ว ก็ทำการรา่ งภาพดว้ ยดินสอเบาๆ โดยคำนึงถึง การจัดวาง รูปทรง ใหเ้ ป็นเอกภาพ 4. ขั้นระบายสี เปน็ ข้นั ตอนสุดท้ายของการสรา้ งสรรค์ผลงาน ตอ้ งใชเ้ ทคนิคและวธิ ีการทแ่ี ตกต่างกันไปของ การลงสแี ต่ละชนดิ 6. สง่ิ สำคญั สำหรบั การวาดภาพประกอบเรื่อง 1. จนิ ตนาการ คอื การสร้างภาพข้ึนในใจ ซงึ่ เป็นผลงานมาจาก ประสบการณ์ในการสมั ผสั รบั รูจ้ ากธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ ม ไดร้ บั แรงบันดาลจากภายนอกและ ภายในไปสู่การสร้างสรรค์ การมีจนิ ตนาการที่ดชี ่วย ใหเ้ ราสามารถวาดเรือ่ งราวตา่ งๆสอ่ื ความหมายได้ดีเช่นกนั การจินตนาการมี 3 ประเภท 1.1 จินตนาการจากประสบการณต์ รง คอื สมั ผัสโดยตรงกับ สภาพสังคมแวดลอ้ มอยู่ 1.2 จินตนาการประสบการณ์ทางออ้ มคือ ไดร้ ับคำถา่ ยทอด จากการบอกเล่า จากวรรณกรรมและสื่อต่างๆ 1.3 จินตนาการจากการสร้างสรรค์คือเกดิ ความสรา้ งสรรค์ ใหม่ของศลิ ปนิ เอง โดยคดิ ไม่ซา้ แบบใคร 2.แรงบันดาลใจ คือ สิ่งเร้าท่ีมีอานาจกระตุ้นให้เกดิ ความปารถนาที่จะสรา้ งงานศิลปะ เช่น ได้พบเจอหรือ รบั ฟังเรื่องราวมา ทำให้เราอยากถา่ ยทอดออกมาเป็นผลงานศิลปะ 3. การวาดใหส้ อ่ื ถงึ เรอ่ื งราวได้ดี คอื ผูว้ าดตอ้ งเขา้ ใจในเรื่องๆน้นั ก่อน จงึ จะสามรถถา่ ยทอดออกมาใหผ้ ู้อน่ื รับรู้ได้ อาจจะอ่านเรอ่ื งราวน้นั หรือฟงั ใหห้ ลายๆครัง้ และสรปุ เหตุการณทื ส่ี ำคัญหรอื เหตกุ ารณท์ นี่ า่ สนใจในเรือ่ ง 4. การวาดภาพประกอบเรอื่ งไมจ่ ำเป็นตอ้ งใส่รายละเอียดเยอะ ผวู้ าดต้องรูจ้ ักตดั ทอนหรอื ตัดสิ่งไม่จำเป็นใน ภาพออกไปบ้างเพอ่ื ให้เหตุการณ์ในภาพดูไม่อึดอัด และเรือ่ งราวดูกลมกลืนเปน็ เร่ืองเดยี วกัน 7.หลักการใชภ้ าพประกอบเรอื่ ง ภาพประกอบของสื่อเป็นสิ่งที่ช่วยเร้าความสนใจ และทำให้สิ่งพิมพ์หน้าสนใจมากยิ่งขึ้น เพราะผู้ดูจะให้ ความสนใจในเบื้องแรกต่อภาพมากกว่าข้อความที่ต้องอ่านเพราะใช้เวลาในการทำความเข้าใจน้อยกว่า ฉะน้ัน หากภาพทใ่ี ช้ประกอบในการออกแบบมีคุณภาพ สามารถสอื่ คามหมายได้ดี และมีความเหมาะสมกับเน้ือหาและ วัตถุประสงคข์ องการใช้สือ่ สิง่ พิมพ์นัน้ ๆแลว้ จะทำใหส้ ง่ิ พิมพ์ไดป้ ระโยชน์ตรงตามความต้องการย่ิงขน้ึ

1. ภาพมีความเหมาะสมเพื่อใช้ในการประกอบแบบนน้ั ต้องพจิ ารณาถงึ เน้ือหา ข่าวสาร เนือ้ ความ เนอื้ เรื่องที่จะ ช่วยใหเ้ กิดการรับรู้ของผู้อ่านไดด้ ีขน้ึ เพราะการฝืนเลือกใช้ภาพท่ีไมม่ ีความเหมาะสมจะทำให้สิง่ พิมพ์นั้นลดคุณค่าลง ไปภาพท่ีตรงกับเรื่องและสามารถอธิบายหรอื เสรมิ เนอ้ื เร่ืองได้จะเป็นภาพท่ีเหมาะสมในการนำมาใช้มากท่ีสุด https://sites.google.com/site/tharikaart2018/home/sisan-si-na 2. ภาพทคี่ มชดั สวยงาม ควรเป็นภาพที่คมชดั เหมาะสมเข้ากับเนื้อหา เน้ือเรอ่ื ง https://108topic.com/tale/132.html 3. ภาพคุณภาพต่ำ บางคร้งั อาจมีความจำเปน็ ท่ีจะตอ้ งใช้ภาพทม่ี ีคุณภาพต่ำอย่างหลกี เล่ียงไม่ได้ ก็อาจใชเ้ ทคนิค การออกแบบมาช่วยโดยการจัดให้ภาพนั้นอยู่ทางด้านข้างของหน้าและไม่พยายามเน้นหรือทำให้เป็นจุดสนใจมาก เกนิ ไป และใช้ตวั อักษรพาดหัวทม่ี ีขนาดใหญเ่ พอื่ หนั เหความสนใจออกไป จะทำภาพให้ดูแปลกตามากขึ้น https://www.grappik.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0 %B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A

4. การบังภาพ (cropping) ในบางกรณภี าพถ่ายที่ได้มาเป็นภาพที่ถ่ายในระยะไกลเกนิ ไป ทำให้ครอบคลุม ส่วนอื่นๆที่ไม่ตอ้ งการติดตามมาด้วย ฉะนั้นจงึ จำเป็นต้องปิดหรอื บงั ส่วนที่ไม่ตอ้ งการออกไป แล้วนำภาพนัน้ มา ขยายเฉพาะส่วนท่ีต้องการเทา่ นั้น ซง่ึ เป็นความจำเป็นที่จำตอ้ งทำเช่นนเี้ พราะส่วนอ่ืนทไี่ ม่เกี่ยวข้องน้ัน บางคร้ัง กลายเป็นสิ่งที่ลดความสนใจของผู้อ่านลงไปเพราะเม่ือดูภาพนัน้ แลว้ หาจุดท่ีเป้นจุดเด่นของภาพไม่ได้ ถึงแม้ว่า การบงั ภาพจะทำใหข้ นาดของภาพเล็กลงแตจ่ ะไดร้ ายละเอียดของภาพมากข้นึ https://blog.breathingcolor.com/art-of-cropping/ 5. การจัดภาพขนาดเล็กให้รวมกันเป็นกลุ่ม การใช้ ภาพขนาดเล็กสอดแทรกอยู่ในเนื้อความทั่วไป อาจไม่ เป็นที่น่าสนใจเท่าที่ควร จึงอาจพิจารณาจัดให้ภาพเหล่านั้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ในรูปทรงที่น่าสนใจ จะทำให้ เรียกความสนใจได้มากกว่า https://www.gotoknow.org/posts/107865

6. การเร้าความสนใจโดยการทำภาพให้มีความต่อเนื่อง บ่อยครั้งการใช้ภาพเพียงภาพเดียวไม่สามารถ อธิบายเรอ่ื งราวได้ท้งั หมด ไม่วา่ ภาพทใ่ี ช้จะเปน็ ภาพท่ีดีเพียงใดก็ตาม จึงจำเป็นตอ้ งใช้ภาพหลายภาพมาจัดเรียง ไว้ในลักษณะคล้ายกับการจัดลำดับเป็นระยะๆแต่ไม่ต่อเนื่องบนหน้าเดียวกัน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ให้ เกิดขึ้น และพฒั นาความคดิ ของผูอ้ ่านตามลำดบั ซึง่ ในการพิจารณาใช้ภาพมาประกอบมาสร้างความคิดให้เกิดเป็น ลำดับ จะต้องพจิ าณาภาพให้ดแี ละตอ้ งอธิบายเหตผุ ลของการใชภ้ าพแต่ละภาพได้เสมอว่า ทำไมถงึ ไดใ้ ชภ้ าพนน้ั ๆ ต้องแนใ่ จวา่ มีความสอดคล้องและสร้างเสริมความเข้าใจเน้ือหาได้มากกว่า และทส่ี ำคญั ตอ้ งไม่ใชภ่ าพมากเกินไป ควรใชภ้ าพให้มากท่สี ดุ เท่าทจี่ ะน้อยได้ https://www.adsoftheworld.com/taxonomy/brand/fortis 8. หลักศลิ ปะ ท่ีใช้ในการสร้างสรรค์ภาพประกอบเรื่อง งานสร้างภาพประกอบ เปน็ งานศิลปะประเภทหนงึ่ ทกี่ ระบวนการสร้างสรรค์ ต้องอาศยั หลกั การและทฤษฎี ทางศิลปะ จึงจะทำให้งานสร้างสรรค์ภาพประกอบมีคุณค่า ความงาม ความสะเทือนอารมณ์แก่ผู้ดู แม้ว่าจะ ถ่ายทอดด้วยเทคนิควิธกี ารใดๆ กต็ าม กระบวนการสรา้ งสรรคใ์ นทุกๆ แขนง หลกั การและทฤษฎตี า่ งๆ ท่ีใช้ย่อม มีความประสานสัมพนั ธก์ นั เพยี งแต่วา่ การสรา้ งสรรค์งานในบางประเภท อาจจะเนน้ หลกั การทฤษฎีบางเร่อื งท่จี ะ ชว่ ยส่งเสริมผลงานใหโ้ ดดเดน่ หลักการและทฤษฎีทใ่ี ชเ้ ป็นพ้ืนฐานในการสร้างสรรคภ์ าพประกอบมีดงั น้ี สว่ นประกอบศลิ ปะ (Art Elements) นับว่าเป็นพื้นฐานสำคัญที่นักสร้างสรรค์ภาพประกอบควรจะรู้และเข้าใจเพื่อจะใช้เป็นมูลฐานในการสรา้ งสรรค์ งาน ไดแ้ ก่

1. เส้น (Line) เส้นเป็นสิ่งที่แสดงระยะทาง และแสดงขอบเขตเมื่อปลายของเส้นที่เราลากมาบรรจบกัน เส้นมี หลายลักษณะและแต่ละลักษณะก็ให้ความร้สู ึกที่แตกต่างกันออกไป เชน่ เสน้ ตรงใหค้ วามรสู้ ึกม่นั คง แข็งแรง เสน้ นอน ให้ความรู้สึกสงบ ราบเรียบ แสดงพื้นระนาบ เส้นโค้งให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว นุ่มนวล อ่อนหวาน ขณะที่เส้นหยักให้ ความรู้สึกรุนแรง เคลื่อนไหวฉับพลัน และเส้นขดให้ความรู้สึกหมุนเวียน วกวน เป็นต้น นอกจากนี้ เส้นยังสามารถ แสดงออกถึงบุคลิกภาพลักษณะความแตกต่างของบุคคลและวัตถุต่างๆ ที่ใช้ การใช้เส้นให้ประสานกลมกลืนกันจะ ช่วยให้แลดูมีระเบียบ แต่การใช้เส้นให้มีทิศทางขัดแย้งกันจะทำให้เกิดความสับสนและความไม่มีระเบียบ ในทำนอง เดยี วกนั การใชเ้ ส้นโค้งในงานศิลปะหรือการออกแบบโดยใหม้ ีความประสานสัมพนั ธ์กัน จะชว่ ยให้เกิดความรู้สึกผ่อน คลาย ความสงบ และอ่อนโยน ผู้สร้างงานศิลปะทุกๆ แขนง ต้องสามารถนำเอาลักษณะเด่นของเส้นต่างๆ มาใช้ ประโยชน์ในการสร้างสรรคง์ านจะต้องสามารถเลือกใช้เส้นในโอกาสอนั เหมาะสมทจึงจะช่วยส่งเสรมิ คุณค่าของผลงาน ทง้ั ลักษณะวจิ ติ รศิลป์ และประยุกต์ศิลป์ ดังเชน่ การสรา้ งสรรค์ภาพประกอบวาดเส้น ศิลปนิ จะตอ้ งมีทักษะการใช้เส้น สร้างสรรค์ เรื่องราว รปู ภาพ และก่อให้เกิดพลังในการส่ือสาร 2. รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form) รูปร่างและรูปทรงเป็นสิ่งที่เกิดจากการใช้เส้นในรูปแบบต่างๆ ถ้าหากเพียงลากเส้นให้เกิดขอบเขตของภาพมีแต่ความกวา้ ง ความยาว เราเรียกรูปที่เกิดขึ้นว่า รูปร่าง แต่เม่ือ เพมิ่ เตมิ เส้นให้เกิดเป็นรปู ทรงปรมิ าตร หรอื มีความหนาเกดิ ขึ้น เราเรียกวา่ รูปทรง รูปรา่ งจึงมลี กั ษณะเป็น 2 มิติ ส่วนรูปทรงเป็น 3 มติ ิ ศิลปนิ ผูส้ ร้างสรรค์ภาพประกอบจำเปน็ ต้องเขา้ ใจในเร่ืองรูปรา่ งรปู ทรง เพ่อื จะใช้ในการส่ือ ความหมายได้ตรงตามเรือ่ งราว และบรรยากาศของภาพท่จี ะให้เกิดขึน้ รปู ร่างรูปทรงจะเปลีย่ นแปลงความรู้สึกได้ ถ้าอยู่ในพื้นที่ ทิศทาง และองค์ประกอบแวดล้อมแตกต่างกัน เช่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสให้ ความรสู้ ึกคงทส่ี งบ แต่ถา้ จัดใหรปู ร่างน้ันวางเอียงหรือวางตรงมมุ ความรู้สึกสมดุล ความสงบกจ็ ะเปล่ียนไปทันที ในงานศิลปะชิ้นหนึ่งๆ นั้น จะประกอบด้วยรูปร่างรูปทรงที่หลากหลายมาจัดวางเข้าด้วยกันในพื้นภาพ ศิลปิน จะต้องแก้ปัญหาขนาดและสัดสว่ นของรูปร่าง รูปทรงใหเ้ กดิ ภาพและความรู้สึกตามที่ตอ้ งการ ในงานสร้างสรรค์ ภาพประกอบสิ่งที่ปรากฏในกรอบภาพก็จะมีรูปร่างรูปทรางหลากหลาย ต่างขนาดซึ่งเพิ่มความมีชีวิตชีวาของ ภาพ

3. พื้นผิว (Texture) หมายถึง ลักษณะความแตกต่างที่ปรากฎบนระนาบหรือบนพ้ืนผิวใดๆ อาจจะเป็นผิว เรียบ หยาบ มัน ขรุขระ พื้นผิวถอื เป็นส่วนประกอบศิลปะทีส่ ำคัญที่จะช่วยบอกความแตกตา่ งของวัตถุ บอกถงึ บรรยากาศกอ่ ใหเ้ กิดอารมณ์สุนทรยี ์แก่ผู้พบเห็น ในงานสร้างสรรค์ภาพประกอบจำนวนมากนิยมให้คุณลักษณะ ของพื้นผิวเน้นเรื่องราวของภาพให้โดดเด่นน่าสนใจ อาจจะกระทำขึ้นด้วยการระบายสี การพิมพ์ การวาดเส้น หรอื การปะติดด้วยวัสดตุ า่ งๆ https://sites.google.com/site/thsanathat/home/phun-phiw 4. สี (Color) สเี กิดจากแสงท่สี ่องกระทบผวิ วตั ถุ และสะท้อนแสงค่าของสอี กมาสู่สายตา สที ่ีปรากฏในวงจร สีธรรมชาติมีมากมายหลายสี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีฟ้า สีม่วง สีแสด สีดำ ฯลฯ สีต่างๆ เหล่านี้ช่วยให้งาน สร้างสรรค์ศิลปะมีความน่าสนใจ และยังบอกเรื่องราวของปรากฏการณ์ วัตถุ ได้ใกล้เคียงความเป็นจริง นัก สรา้ งสรรคภ์ าพประกอบตอ้ งมีความรอบรูเ้ รือ่ งสีซงึ่ มีผคู้ ิดค้นไวห้ ลายทฤษฎีประเภทของสี ทง้ั นเี้ พอ่ื จะสามารถใช้ สใี นการสร้างสรรคง์ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ มีความหมาย และเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจแก่ผู้ชมภาพ สี แบง่ วงสอี อกเป็น 3 กลมุ่ ซง่ึ มีความแตกตา่ งกันคือ ทฤษฎีสีบนพ้นื ฐานของเน้ือสี 3 สี คอื สแี ดง สีเหลือง สีน้ำ เงิน เมื่อจับคู่ผสมกันก็จะได้สีแท้อื่นๆ เพิ่มขึ้น และถ้านำสีพื้นฐานทั้ง 3 สีผสมกันก็จะได้สีดำ หรือสีน้ำตาลเข้ม สีแดง เหลือง น้ำเงิน ในวงสีเรียกว่า สีหลักหรือสีขั้นที่หนึ่ง (Primary Colors) ซึ่งเชื่อกันว่าสีเหล่านี้ไม่สามารถ ผสมจากสีอื่นได้ แต่เมื่อนำสีคู่ใดคู่หนึ่งของสีหลักผสมกันก็จะได้สีขั้นที่สอง (Secondary Colors) คือสีเหลือง ผสมกบั สนี ้ำเงิน เกิดเปน็ สีเขียว สเี หลอื งผสมสแี ดง เกดิ เปน็ สสี ้ม สีแดงผสมกับสีนำ้ เงนิ เกิดเปน็ สีมว่ ง และถ้าผสม สีขั้นที่หน่ึงและสอง ซึง่ อยู่ใกลก้ นั ในวงสีก็จะได้สีขัน้ ที่สาม (Tertiaries) คอื สเี หลอื งส้ม ส้มแดง ม่วงแดง ม่วงน้ำ เงนิ น้ำเงินเขียว เขียวเหลือง

https://goterrestrial.com/2019/08/08/color-of-wheel-for-clothing/ สำหรับคณุ สมบัตขิ องสี (Color Property) ทฤษฎหี ลายทฤษฎีได้แบ่งคุณสมบัติของสไี ว้ 3 ลักษณะคอื สีแท้ (Hue) นำ้ หนักสี (Value) และความเข้มของสี (Intensity) สีแท้ คอื สเี ดน่ หรือสีบริสทุ ธิ์สใี ดสีหนึ่ง ซง่ึ ยังมิไดผ้ สมให้เกดิ ค่าสตี า่ งออกไป สแี ดงแท้ หมายถึงสแี ดงบริสุทธ์ิ ทปี่ ราศจากสีดำ สขี าว หรือสอี ื่นใด และเปน็ พน้ื ฐาน ซ่งึ กอ่ ใหเ้ กิดคณุ สมบตั อิ ื่นๆ ตามมา น้ำหนักสี น้ำหนักสีคอื สีซึ่งสัมพันธก์ บั ความเบา – หนัก หรืออ่อน – แก่ (Lightness or Darkness) ของสี ใดสีหน่ึง น้ำหนักสมี ีความสัมพันธ์กับระดับสีเทา (Gray Scale) ซ่ึงไลน่ ้ำหนักจากสขี าวไปสู่สีดำหลายน้ำหนกั อาจ เป็น 5, 7 หรือ 9 น้ำหนัก (หรือนับด้วยสิบหรือร้อยน้ำหนักก็ได้) ผู้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องสี เช่นนักออกแบบ หรือจติ รกร เมอื่ เห็นสีแทส้ ีใดสีหนึ่ง ย่อมมองเหน็ นำ้ หนกั สีของสแี ท้น้นั ไปพร้อมกนั นำ้ หนกั สซี ่งึ เบากว่าน้ำหนักสี ปกติ เรียกวา่ สีค่าอ่อน (Tint) สซี ึ่งมนี ำ้ หนักสีหนักกวา่ น้ำหนกั สปี กติของสนี นั้ เรียกว่า สีค่าแก่ (Shade) https://nextlady.ru/th/coloring/the-principles-of-combining-colors-in-clothes-the-harmony-of-shades-color- science.html

ความเข้มของสี ความเข้มของสี (Intensity) มีความหมายคล้ายกับค่าสี (Chroma) หรือสภาพอิ่มตัวของสี (Saturation) ซงึ่ เป็นสภาพบรสิ ุทธิ์ของสีแต่ละสี เป็นสที ีไมม่ ีคา่ ของสีเทาเจือปน ถ้ามีคา่ สเี ทาเจอื ปนอยู่กถ็ ือว่าเป็นสีท่ี มีความเข้มต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าสีเทาหรือสีเทากลาง (Neutral Gray) ที่เกิดจากการผสมกับสีตรงข้ามผสมกับ สี เทา สีขาวหรอื สดี ำ และสีความเขม้ ต่ำเหล่านี้เรียกวา่ สีคล้ำ (Tone) ซง่ึ ถ้าหากพจิ ารณาสีท่ีใชอ้ ยู่ในชวี ิตประจำวัน เช่น สนี ำ้ ตาล สนี ำ้ ตาลเขม้ สเี น้อื (Tan) ล้วนเปน็ สที ม่ี ีความเขม้ ต่ำ จติ วิทยาเก่ียวกับสกี ็เป็นเรอื่ งที่ควรศึกษาเรียนรู้ โดยเฉพาะศิลปนิ ด้านทัศนศิลป์และประยกุ ต์ศิลป์ เพราะสีแต่ละ สีมีพลังปลุกเร้าการตอบสนองของอารมณ์อกจากคุณภาพด้านอื่นๆ แล้ว ยังมีอุณหภูมิเชิงจิตวิทยาอยู่ในตัวของมัน เช่น สแี ดง สีส้ม สเี หลอื ง ให้ความรู้สึกอุ่น และสัมพันธก์ ับแสงอาทิตย์ หรอื ไฟ สีนำ้ เงนิ หรือสีเขียว สัมพนั ธ์กับป่า น้ำ ท้องฟ้า และให้ความรู้สึกเย็น เป็นต้น นักออกแบบและนักสร้างสรรค์ ย่อมต้องเรียนรู้และเข้าใจในเรื่องจิตวิทยา เกีย่ วกบั สี ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสีกับปฏิกริ ิยาตอบสนองของมนษุ ย์ และนำประโยชน์จากการเรียนรแู้ ละประสบการณ์ ไปสร้างสรรค์งานศิลปะหรืองานออกแบบ สีจึงเปรียบประดุจองค์ประกอบหลักที่สามารถควบคุมและเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบอื่น ทั้งนี้เพราะสีมีส่วนเกีย่ วพันกับองคป์ ระกอบทุกอยา่ งทีป่ ระกอบเป็นภาพ และมีอิทธิพลเหนือจิตใจ และก่อให้เกิดความรู้สึกในด้านต่างๆ ได้ การใชส้ อี าจใช้สี ๆ เดียวหรอื หลายสี สีทกุ สจี งึ มีความหมายและมีสัญลักษณ์ เฉพาะตัว ซ่ึงจะให้ความรู้สกึ ทางด้านที่ดีและไม่ดีไปตามลักษณะของสี ซึ่งอาจจะเปล่ียนแปลงไปตามวฒั นธรรมของแต่ ละสังคมด้วย เช่น สีแดง สำหรับชาวตะวันออกเป็นสีแห่งความสุขสมบูรณ์ สัญลักษณ์ของชีวติ และแสดงถึงความปิติ ยินดี ร่าเรงิ แตใ่ นประเทศทางตะวนั ตก สีแดงกลบั มคี วามหมายไปในทางตรงกนั ข้ามกับชาวตะวันออก คือ มีความรู้สึก ว่าเป็นสีที่แสดงถึงความไม่ปลอดภัย น่ากลัว และมักจะมีความหมายไปในทำนองก่อกวนอารมณ์ เป็นต้น ในการ สรา้ งสรรค์งานภาพประกอบศิลปินท่ีมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสีเปน็ อย่างดี ยอ่ มสร้างสรรค์บรรยากาศของภาพวาดได้ อยา่ งสมจรงิ สมจัง ตอบสนองอารมณ์ของผู้อ่าน 5. แสงและเงา (Light & Shade) แสงและเงา คอื ค่าความเข้มของแสง เมื่อแสงกระทบวัตถุ สว่ นท่ีรับแสงจะ มคี วามสว่าง สว่ นดา้ นตรงขา้ มท่ีแสงส่องจะเปน็ เงาค่าของแสงและเงาช่วยให้การรับร็ของวัตถุ เกิดมติ ิ ต้ืนลึก ใน งานจิตรกรรมแสงและเงาเกิดจากการระบายน้ำหนักอ่อนแก่ของสี สว่ นงานประติมากรรมและสถาปัตยกรรมน้ัน ค่าแสงเงาเกิดจากการที่แสงไปกระทบพื้นผิวประติมากรรม หรือสถาปัตยกรรม การสร้างสรรค์ศิลปะในแขนง อ่นื ๆ ก็เชน่ เดยี วกนั ก็ตอ้ งคำนึงถงึ คา่ ของแสงและเงาด้วย เช่น การสรา้ งฉากละคร การสร้างภาพยนตร์ การสร้า ศิลปะสมัยใหม่ รวมทัง้ การใชแ้ สงและเงาในงานประยกุ ตศ์ ิลป์อนื่ ๆ แสงและเงามผี ลตอ่ ความรู้สึกและการรับรู้ จึง เป็นเรื่องที่ผู้สร้างสรรค์งานศิลปะจำเป็นต้องศึกษา ทั้งในด้านความงามในธรรมชาติ และในการสร้างสรรค์งาน ศิลปะ ปริมาณและช นิดของแสงทตี่ กลงกระทบบนวัตถุ จะกอ่ ให้เกิดอารมณ์และความรู้สึกท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น แสงยามเยน็ ทพี่ ระอาทติ ย์กำลงั จะลับขอบฟา้ จะทำให้รู้สึกหม่นหมอง สงบเงียบ แต่แสงยามรุง่ อรุณทเ่ี ร่ิมทอ แสงทองสว่างกจ็ ะทำให้รสู้ ึกสดชนื่ มพี ลังแหง่ ความหวัง

หลักการใช้แสงและเงา แบง่ คา่ ออกเป็น 6 ค่า ดงั น้ี 1. แสงสว่างที่สุด (High Light) เป็นส่วนของวัตถุที่กระทบแสงโดยตรงจึงทำให้บริเวณทีม่ ีแสงสว่างที่สุด มี ลักษณะมนั วาว ในการวาดเสน้ แรเงาบรเิ วณนี้ จะมีน้ำหนกั อ่อนท่ีสดุ ซง่ึ อาจทำขนึ้ ไดโ้ ดยใช้วิธลี บดว้ ยยางลบ 2. แสงสว่าง (Light) เป็นสว่ นของวัตถทุ ไี่ ม่ได้ปะทะแสงโดยตรง แต่อย่ใู นพ้นื ทีท่ ี่ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากแสงนน้ั ใน การแรเงาน้ำหนกั บริเวณน้จี ะต้องทำใหน้ ้ำหนักอ่อนจาง แตก่ ็ยังมีน้ำหนกั แกบ่ ริเวณท่ีเป็นแสงสว่างท่สี ุดเลก็ น้อย 3. เงา (Shadow) เป็นส่วนของวัตถุที่ได้รับอิทธิพลของแสงเพียงเล็กน้อยการแรเงาน้ำหนักนี้จะต้องให่มี นำ้ หนกั แกก่ ว่าบรเิ วณแสงสวา่ งพอสมควร 4. เงามดื (Core of Shadow) เปน็ สว่ นของวตั ถุที่ไม่มอี ิทธิพลของแสงเลย จงึ เปน็ บริเวณที่จะต้องแรนำ้ หนัก เขม้ ทส่ี ดุ ยิ่งกวา่ สว่ นอ่ืนๆ ทั้งหมด 5. แสงสะท้อน (Reflected Light) เป็นสว่ นของวตั ถทุ ่ีไมไ่ ด้กระทบแสงโดยตรง แต่เป็นบรเิ วณท่ีกระทบแสง สะทอ้ นจากวตั ถุอน่ื ทอ่ี ยใู่ กล้ ๆ นนั้ นำ้ หนักบรเิ วณนี้จะอ่อนกวา่ บริเวณเงามดื ค่าของแสงสะทอ้ นจะให้ความรู้สึก เหมอื นจรงิ และมีอากาศอยู่โดยรอบ 6. เงาตกทอด (Cast Shadow) เป็นบรเิ วณทีเ่ ป็นเงาของวัตถุชน้ิ น้นั ทอดไปตามพื้นทร่ี องรบั ซึง่ มนี ้ำหนกั แก่ กว่าบริเวณที่เป็นแสงสะท้อน ขนาดและรูปร่างของเงาตกทอดจะเป็นอย่างไร ย่อมขึ้นอยู่กับรูปร่างของวัตถุ ตำแหน่งและต้นกำเนิดแสงทำมมุ กับพ้นื ระนาบ ประมาณ 45 องศา อย่างไรก็ตามในการวาดภาพภาพๆ หนึ่งย่อมประกอบด้วยรูปทรงหลากหลายลักษณะพ้ืนผิวตา่ งๆ ดังนั้นการแร เงาจะตอ้ งบูรณาการวธิ ีการแรนำ้ หนักหลายวธิ ีด้วยกนั เพ่อื ความเหมาะสมและความสมบรู ณ์ของงาน ส่วนการแร เงาในลกั ษณะแสงและเงากลมกลนื กัน โดยปกตกิ ารเกล่ียระยะน้ำหนักแสงเงาสามารถแบง่ ระยะน้ำหนกั ออ่ นแก่ ได้ 7 – 9 ระยะน้ำหนัก นับจากระยะขาวสุดจนถึงเขม้ สุด การแรเงาในภาพโดยวธิ ีการเกล่ียน้ำหนักให้เกิดความ กลมกลืน จงึ ทำให้ไดภ้ าพทใ่ี กลเ้ คียงกบั ธรรมชาตมิ ากท่ีสุด แต่การแรเงาในลักษณะแสงและเงาตัดกัน วธิ ดี งั กล่าว จะแสดงถงึ การใชแ้ สงเงาอย่างเด่นชัด ดังนัน้ ภาพทีไ่ ดจ้ ึงให้แสงจัดเงาเข้ม งานสร้างภาพประกอบทร่ี ้จู กั ใช้แสง และเงา จะช่วยให้ภาพดูมชี ีวติ ชีวามีบรรยากาศของภาพตามเจตนารมณ์ของ ศลิ ปนิ ผสู้ ร้างสรรค์ ทั้งน้ีเพราะภาพทีส่ ร้างสรรคข์ นึ้ มาดไู ม่จดื ชืด หรือใหเ้ กิดความรูส้ ึกแบนเรยี บจนเกนิ ไป https://pookanart2014.files.wordpress.com/2014/05/shadow.jpg

6. บริเวณว่าง (Space) คือพื้นที่ปรากฏ และยังรวมไปถึงมิติหรือความต้ืนลึกของสิง่ ที่ปรากฎในความรู้สึก ทางการเหน็ ในงานทศั นศิลป์ มีบริเวณว่าง 2 มิติ และบริเวณว่างท่ีเป็นจรงิ แบบ 3 มิติ ที่สามารถสัมผัสความตืน้ ลึกได้เช่น บริเวณว่างของประตมิ ากรรม เครื่องปั้นดินเผา สถาปัตยกรรม ส่วนบริเวณว่าง 2 มิติ คือความกว้าง และความยาว แต่อาจจะมีมิติที่ 3 ซึ่งเป็นมิติลวงตา ศิลปินที่มีความสามารถจะใช้บริเวณว่างเสริมคุณค่าการ สร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศลิ ป์ ทัง้ ดา้ นเนือ้ ที่ใช้สอยและความงาม ข้อมลู จากhttp://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.2space/space.htm ข้อมูลจากhttp://pannipakunlapong.blogspot.com/2012/09/blog-post.html 9. การจัดองค์ประกอบภาพ มี 10 ลกั ษณะ คอื 1. เนื้อเรื่อง (Content) ในกรอบรูป/ภาพจะต้องแสดงรายละเอียดที่เป็นเนื้อเรื่องเพียงประเด็นเดียวที่จะ บอกหรอื การส่อื ความหมายออกมาสู่ผดู้ ู/ผรู้ ับ ใหเ้ ขา้ ใจได้ตามวัตถปุ ระสงค์ของการนําเสนอ 2. รูปทรง (Form) คือ มีการจัดวางโครงสร้างให้ได้รูปทรงที่สวยงาม สิ่งนั้นประกอบด้วย คน วัตถุสิ่งของ โดยจดั วางใหเ้ กิดเปน็ รูปทรงต่างๆ เช่น รปู ทรง สามเหล่ยี มทรงกลม รปู ทรงตัวที(T) หรือตวั เอส (S) ให้ความรู้สึก สงา่ งาม ม่ันคง เหมาะสําหรับการถ่ายภาพ ทางสถาปตั ยกรรม การถา่ ยภาพวตั ถุหรือถา่ ยภาพสิ่งต่างๆ เนน้ ให้เห็น ความกว้างความสูง ความลึก โดยให้เห็นทั้งด้านหน้าและด้านข้าง และความลึก หรือที่เรียกว่าให้เห็น Perspective หรือภาพ 3 มติ ิ

3. มิติ รูปรา่ งลักษณะ มกี ารจัดองค์ประกอบภาพตรงขา้ มกับรปู ทรง คอื เนน้ ให้เห็นเป็นภาพ 2 มิตคิ อื ความ กวา้ งกบั ความยาว ไมใ่ หเ้ ห็นรายละเอยี ดของภาพ หรอื ท่เี รียกวา่ ภาพเงาดํา ภาพลักษณะนเ้ี ป็นภาพท่ีดูแปลกตา นา่ สนใจ ลึกลบั ใหอ้ ารมณ์และสร้างจนิ ตนาการ ในการในการดูภาพได้ดนี ยิ มถา่ ยภาพในลกั ษณะยอ้ นแสงข้อควร ระวงั ในการถา่ ยภาพลักษณะนคี้ ือ วตั ถทุ ่ถี ่ายตอ้ งมคี วามเรยี บง่าย เด่นชัด ส่อื ความหมาย ไดช้ ัดเจน ฉากหลงั ต้อง ไม่มารบกวนทาํ ให้ภาพนัน้ หมดความงามไป 4.ความสมดุลทเ่ี ท่ากัน เปน็ การจัดองคป์ ระกอบภาพเพ่ือให้ภาพดนู ่ิง สงา่ งาม นา่ ศรัทธาเน้นการให้น้ำหนัก รูป รูปทรงซา้ ยขวาเท่ากัน แตจ่ ะแสดงออกถึงความสมดลุ น่งิ ปลอดภยั ภาพลกั ษณะนอ้ี าจจะดูธรรมดา ไมส่ ะดดุ ตาเท่าใดนกั แตก่ ม็ เี สน่หแ์ ละความงามในตวั 5. ความสมดลทีไ่ มเ่ ทา่ กนั การจัดภาพแบบนีจ้ ะใหค้ วามรสู้ ึกทสี่ มดลุ เช่นเดียวกับแบบท่แี ลว้ แต่จะต่างกนั อยู่ ท่ี วตั ถุท้ังสองข้าง มีขนาดและรปู รา่ งท่ีแตกตา่ งกนั แต่สมดุลดว้ ยปจั จยั ต่าง ๆ กัน เชน่ สรี ูปทรง ท่าทาง ฉากหนา้ ฉากหลงั ฯลฯ ภาพดนู ่าสนใจกว่าแบบสมดลุ ท่ีเทา่ กนั แตค่ วามรสู้ กึ ท่ีมั่นคงจะนอ้ ยกวา่

6.ฉากหน้า ส่วนใหญ่จะใช้ในการถา่ ยภาพทิวทัศน์หรอื ภาพอ่ืน ๆฉากหน้า เรามักใช้ฉากหน้าเป็นตัวชว่ ยให้ เกิดระยะ ใกล้ ไกล หรอื มีมตขิ นึ้ ทําใหภ้ าพดูนา่ สนใจ บางครงั้ อาจใช้กง่ิ ไมว้ ัตถุ หรือสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีอยู่ใกล้กับกล้อง มาบังเพื่อช่วยเน้นจุดสนใจ ดูเดนข่ ึ้น และไม่ให้ภาพมีช่องว่างเกินไปข้อควรระวัง อย่าให้ฉากหน้าเด่นจนแย่ง ความสนใจจากส่ิงท่ีต้องการเนน้ จะทาํ ให้ภาพลดความงามลง 7. ฉากหลัง พื้นหลังของภาพก็มีความสําคัญหากเลือกที่น่าสนใจ กลมกลืนหรือช่วยให้สิ่งที่ต้องการเน้นเด่น ขน้ึ มา ควรเลือกฉากหลังท่ีกลมกลืน ไมท่ าํ ใหจ้ ดุ เด่นของภาพด้อยลง หรือมารบกวนทําให้ภาพนัน้ ขาดความงามไป 8.กฏสามส่วน เป็นการจัดภาพทนี่ ิยมมากทส่ี ุด ภาพดมู ชี วี ิตชีวา ไมจ่ ืดชืด การจัดภาพโดยใช้เสน้ ตรง 4 เส้นตัด กันในแนวต้ังและแนวนอน จะเกิดจุดตัด 4 จุดหรือแบ่งเปน็ 3 สว่ น ทัง้ แนวตงั้ และแนวนอน การวางจุดสนใจของภาพ จะเลอื กวางใกล้ๆ หรือ ตรงจดุ 4 จุดนีจ้ ุดใดจดุ หนึง่ โดยหันหนา้ ของวตั ถุไปในทิศทางที่มพี ืน้ ท่ีว่างมากกวา่ ทาํ ให้ภาพ ดเู ดน่ ไม่อึดอัด ไม่แนน่ หรือหลวมจนเกนิ ไป นกั ถ่ายภาพทั้งมอื อาชีพ และมอื สมัครเลน่ นยิ มจัดภาพแบบน้มี าก (ทีม่ า http://www.montfort.ac.th/newweb/vichakarn/viewDetail.php?sid=41)

9 เสน้ นำสายตาเป็นการจัดภาพท่ีใชเ้ ส้นท่ีเกดิ จากวัตถุ หรือส่งิ อื่น ๆ ทม่ี รี ูปรา่ งลกั ษณะใกลเ้ คียงกัน เรียงตัว กันเป็นทิศทางไปสูจ่ ุดสนใจ ช่วยใหว้ ัตถทุ ี่ต้องการเน้นมีความ เด่นชดั และน่าสนใจยิ่งขน้ึ 10.เน้นดว้ ยกรอบภาพ แม้วา่ ภาพถ่ายจะสามารถนํามาประดับ ตกแตง่ ดว้ ยกรอบภาพอยู่แล้ว แต่การจดั ให้ฉากหน้า หรือสวนประกอบอื่นล้อมกรอบจุดเดน่ เพ่อื ลดพืน้ ทวี่ า่ ง หรือทําใหส้ ายตาพงุ่ สู่จุดสนใจน้ัน ทาํ ใหภ้ าพกระชับ น่าสนใจ 10 .เน้นรูปแบบซ้ำซ้อน หรือแบบ Pattern เปน็ การจัดภาพท่ีมรี ูปร่าง ลักษณะ ที่คลา้ ย ๆ กนั วางเป็นกลุ่มทําให้ ภาพดูสนุก สดชนื่ และมเี สนห่ ์แปลกตา (ท่มี าภาพ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=381857 )

หน่วย 7 โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ทีใ่ ชในงานเขียนภาพลอและภาพประกอบเรอ่ื ง เป็นสุดยอดโปรแกรม ๆ หนึ่งทางด้านกราฟิก เป็นหนึ่งในโปรแกรมตระกูล Adobe ซึ่งถูกพัฒนามาอย่าง ต่อเนื่องและยาวนาน Photoshop ถูก1. โปรแกรม Adobe Photoshop ออกแบบมาเพื่อใช้ งานทางด้าน กราฟิก, การตกแต่งภาพ, สร้างภาพ 3 มิติ, ภาพพาโนรามา, สร้างสรรค์งาน โปสเตอร์, โฆษณา, สื่อสิ่งพิมพ์, ปกนติ ยสาร, ออกแบบสนิ ค้า, การออกแบบเคร่ืองหมายและสญั ลกั ษณ์ รูปภาพตา่ ง ๆ ความสามารถพ้นื ฐานของ Adobe Photoshop - ตกแต่งหรือแกไ้ ขรูปภาพ - ตดั ตอ่ ภาพบางสว่ น หรอื ท่ีเรียกว่า crop ภาพ - เปล่ียนแปลงสีของภาพ จากสหี นง่ึ เปน็ อกี สหี น่งึ ได้ - สามารถลากเสน้ แบบฟรีสไตล์ หรือใสร่ ูปภาพ ส่ีเหลี่ยม วงกลม หรอื สร้างภาพได้อยา่ งอสิ ระ - มีการแบ่งช้นั ของภาพเป็น Layer สามารถเคล่ือนย้ายภาพไดเ้ ปน็ อสิ ระต่อกนั - การทำ cloning ภาพ หรอื การทำภาพซา้ ในรูปภาพเดียวกนั - เพิม่ เติมข้อความ ใส่ effect ของข้อความได้ - Brush หรอื แปรงทาสี ทส่ี ามารถเลอื กรปู แบบสาเร็จรปู ในการสรา้ งภาพได้และอื่นๆ อีกมากมาย

มสี ่วนสำคัญหลกั ทีท่ ่ตี ้องรู้ดังนี้ 1. เมนูของโปรแกรม Application menu หรือ Menu bar ประกอบดว้ ย 1. File หมายถงึ รวมคำส่งั ที่ใช้จัดการกับไฟล์รูปภาพ เช่น สรา้ งไฟลใ์ หม่, เปดิ , ปดิ , บนั ทึกไฟล์, นำเข้า ไฟล์, ส่งออกไฟล์ และอื่น ๆ ท่เี กยี่ วกับไฟล์ 2. Edit หมายถึง รวมคำสั่งที่ใช้สาหรับแก้ไขภาพ และปรับแต่งการทำงานของโปรแกรมเบื้องต้น เช่น ก๊อปป,้ี วาง, ยกเลิกคาส่ัง, แกไ้ ขเครอื่ งมือ และอ่นื ๆ 3. Image หมายถึง รวมคำสั่งที่ใช้ปรับแต่งภาพ เช่น สี, แสง, ขนาดของภาพ (image size), ขนาดของ เอกสาร (canvas), โหมดสีของภาพ, หมนุ ภาพ และอ่นื ๆ 4. Layer หมายถึง รวมคำสั่งทีใ่ ช้จัดการกับเลเยอร์ ทั้งการสร้างเลเยอร์, แปลงเลเยอร์ และการจัดการ กับเลเยอรใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ 5. Select รวม คำสั่งเกี่ยวกับการเลือกวัตถหุ รือพื้นที่บนรูปภาพ (Selection) เพื่อนาไปใช้งานร่วมกบั คำสงั่ อืน่ ๆ เช่น เลือกเพอ่ื เปล่ยี นสี, ลบ หรอื ใชเ้ อฟเฟ็กต์ต่าง ๆ กบั รปู ภาพ 6. Filter เป็นคำส่ังการเล่น Effects ตา่ งๆสาหรบั รูปภาพและวัตถุ 7. View เป็นคำสั่งเกี่ยวกับมุมมองของภาพและวัตถุในลักษณะต่างๆ เช่น การขยายภาพและย่อ ภาพให้ดูเลก็ 8. Window เป็นส่วนคำส่ังในการเลือกใช้อปุ กรณเ์ สรมิ ตา่ งๆท่ีจาเปน็ ในการใช้สร้าง Effects ต่างๆ 9. Help เปน็ คำส่งั เพ่ือแนะนำเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม และจะมลี ายละเอียดของโปรแกรมอยู่ในน้นั 2. เมนขู องพน้ื ท่ีทำงาน Panel menu Panel (พาเนล) เป็นวนิ โดว์ย่อย ๆ ทใ่ี ช้เลอื กรายละเอียด หรอื คำสั่ง ควบคุมการทำงานตา่ ง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มพี าเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เชน่ พาเนล Color ใช้ สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตาแหน่งที่ ชเี้ มาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพ้นื ท่ีที่เลือกไว้ 3. พน้ื ทท่ี ำงาน Stage หรอื Panel เป็นพน้ื ทว่ี า่ งสำหรับแสดงงานท่ีกำลังทำอยู่

เครือ่ งมือแตล่ ะช้ินมคี ุณสมบัติดงั น้ี Move ใช้สำหรบั เลอื กพนื้ ท่ีบนภาพเปน็ รปู สเ่ี หลยี่ ม วงกลม วงรี Marquee ใช้สำหรับย้ายพนื้ ทท่ี ีเ่ ลอื กไวข้ องภาพ หรอื ยา้ ยภาพในเลเยอร์หรอื ยา้ ยเสน้ ไกด์ Lasso ใช้เลือกพนื้ ท่บี นภาพเปน็ แนวเขตแบบอิสระ Magic Wand ใช้เลอื กพน้ื ทดี่ ้วยวิธีระบายบนภาพ หรือเลอื กจากสีทใี่ กลเ้ คยี งกนั Crop ใชต้ ดั ขอบภาพ Slice ใช้ตัดแบ่งภาพเพื่อบนั ทกึ ไฟลภ์ าพย่อย ๆ ที่เรียกวา่ สไลซ์ (Slice) สำหรับนำไปสร้างเว็บเพจ Eyedropper ใช้เลอื กสจี ากสีต่าง ๆ บนภาพสำหรับนาไปสรา้ งเวบ็ เพจ Healing Brush ใช้ตกแตง่ ลบรอยตำหนิในภาพ Brush ใช้ระบายลงบนภาพ Clone Stamp ใช้ทำสำเนาภาพ โดย Copy ภาพจากบริเวณอนื่ มาระบาย หรือระบายด้วยลวดลาย History Brush ใชร้ ะบายภาพดว้ ยภาพของขน้ั ตอนเดิมทีผ่ า่ นมา หรือภาพของสถานะเดมิ ทบี่ ันทกึ ไว้ Eraser ใช้ลบภาพบางส่วนท่ีไม่ตอ้ งการ Gradient ใช้เติมสีแบบไลร่ ะดับโทนสีหรอื ความทึบ Blur ใช้ระบายภาพให้เบลอ Bern ใช้ระบายเพื่อใหภ้ าพมดื ลง Dodge ใช้ระบายเพือ่ ใหภ้ าพสว่างข้นึ Pen ใชว้ าดเส้นพาธ (Path) Horizontal Type ใช้พิมพต์ ัวอกั ษรหรอื ขอ้ ความลงบนภาพ Path Selection ใช้เลอื กและปรับแตง่ รูปทรงของเสน้ พาธ Rectangle ใชว้ าดรูปทรงเรขาคณิตหรอื รูปทรงสำเรจ็ รปู Hand ใชเ้ ลอื่ นดูสว่ นตา่ ง ๆ ของภาพ Zoom ใช้ย่อหรอื ขยายมุมมองภาพ Set Foreground Color, Set Background Color ใช้สาหรบั กาหนดสี - Foreground Color และ Background Color เปดิ แสดงหนา้ กระดาษ แบบ Full screen

ความหมายและความสาคัญของเลเยอร์ Layer เลเยอร์ Layer ชิ้นงานยอ่ ย หรือเรยี กใหเ้ ข้าใจงา่ ยคอื ชน้ั ของชิน้ งานใหญ่ เป็นหลักการทำงานของ โปรแกรม Photoshop นั่นคอื การนำช้ันต่างๆ มาผสมกนั เพอ่ื ปรบั แต่งใหเ้ กิดความสวยงามมากขึ้น เลเยอร์สารมารถแสดงหรือซอ่ น (Show or Hide Layer) การคลกิ ทร่ี ปู ดวงตาแตล่ ะครัง้ จะเปน็ การเปิด เพ่อื แสดง หรอื ปิดเพ่ือซอ่ นสง่ิ ทอ่ี ยู่ในเลเยอร์ เช่น ถา้ เราไมต่ ้องการใหแ้ สดงภาพของเลเยอร์ใด ก็ทำการปิด หรือ ซ่อนไป คัดลอก และ ทำซ้ำเลเยอร์ (Copy and Duplicate Layer) แบ่งเป็น การคัดลอกเเลเยอร์จากชิ้นงาน หน่ึงไปยังอีกชนิ้ งานหน่งึ ทำได้หลายวธิ ี - คลิกเลเยอร์ท่ีต้องการทำการคดั ลอก ใช้โปรแกรมเมนู Edit เลือก Copy หรือกดปุ่ม Ctrl Cคลิก Tab ของช้นิ งานที่เราต้องการจะให้เลเยอร์น้นั มาวางไวแ้ ลว้ คลิก Edit เลอื ก Paste หรอื กดปมุ่ Ctrl V - คลกิ เลเยอร์ที่ต้องการทำการคดั ลอก คลิกขวาทีเ่ มา้ ส์ เลือก Duplicate Layer จะไดห้ นา้ ตา่ งตามภาพ ดา้ นล่าง ใสช่ ่ือในชอ่ ง Destination ใหเ้ ปน็ ช่อื ชิน้ งานทีเ่ ราต้องการนำเลเยอรน์ ้ไี ปไว้ - คลิกเลเยอรท์ ีต่ ้องการทำการคดั ลอกคา้ งไว้ แลว้ ลากไปยังอีก Tab ของอกี ชิ้นหนงึ่ โดยตรง

ตั้งชอื่ เลเยอร์ (Name Layer) วิธีตั้งชื่อให้กับเลเยอร์ ทำโดยดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อบนเลเยอร์นั้น และพิมพ์ชื่อ เสร็จแล้ว Enter สำหรับ Photoshop CS6 เม่อื พิมพ์ชอื่ เลเยอร์หนงึ่ เสร็จแลว้ สามารถกด Tab เพ่ือเล่ือนไปยังเลเยอร์อน่ื เพื่อทำการพิมพ์ ชื่อได้เลย ไมต่ อ้ งมาทำซำ้ ขน้ั ตอนเดิม ทำใหป้ ระหยดั เวลาได้มาก คลปิ ปง้ิ เลเยอร์ (Clipping Layer) หมายถึงการทำให้เลเยอร์หนึ่งมีผลกับอีกเลเยอร์หนึ่งเท่านั้น ไม่ไปกระทบเลเยอร์อื่นซึ่งอยู่ถดั ลงไป จาก ภาพจะเห็นเลเยอร์ Wood Gain ซง่ึ เป็นลายไม้ ตอ้ งการให้ลายไม้น้มี ีผลกับกรอบภาพซึง่ เป็นเลเยอร์ Frame ที่อยู่ ถัดลงไปดา้ นล่างเท่านั้น จึงใชก้ าร Clipping ซึง่ จะเห็นลูกศรอย่ทู ี่ด้านหน้านของเลเยอร์ Wood Gain การทำเช่นน้ี จะทำใหไ้ ด้กรอบภาพท่มี ีลายไม้สวยงามขึ้นมาแทนกรอบสีแดงเหลือง ในเลเยอร์ Frame การทำ Clipping โดยการ ใช้คยี ์ลดั ให้กดปมุ่ Alt แลว้ วางเม้าส์ไวร้ ะหว่างท้ังสองเลเยอร์ จากนนั้ คลิก หรอื ถา้ จะใช้คำส่ังโปรแกรมเมนู Layer เลือก Create Clipping Mask (คีย์ลัด Alt + Ctrl + G) ถ้าต้องการยกเลิกก็เพียงแค่ทำซ้ำวิธีเดิม โปรแกรมเมนู Layer เลือก Release Clipping Mask หรอื กดปมุ่ Alt แลว้ คลิกเม้าส์ท่ีเดิมอกี ครง้ั การนำภาพเข้าใช้งาน วธิ ีการคอื ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี ไปท่ี File (1) > Open (2) เลอื ก Folder ท่มี ีรปู ที่เราตอ้ งการ เลอื กรปู น้นั แล้วกด Open

เลือกไฟล์รูปทตี่ อ้ งการแลวา้ จากนั้นกด Open จะไดร้ ูปมาปรากฏอยทู่ ี่ Stage หรือพ้นื ทีก่ ารทางานดงั รูป ตามตัวอย่างด้านล่าง การบนั ทึกงาน เมื่อไดแ้ ตง่ รูปเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว เราต้องการบนั ทึกการทำงาน ทำตามขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี 1. ไปที่ File > Save as จะปรากฏหน้าต่างดงั รปู ดา้ นล่าง

- ช่อง File name คอื ให้เราตั้งชอ่ื งาน - ช่อง Format คอื การบันทึกไฟล์งานประเภทตา่ งๆ เช่น PSD, JPEG , TIFF และอน่ื ๆ - เม่ือเลือกเสร็จเรียบร้อยแล้ว กด Save ก็จะทำการบันทึกสำเร็จ - เมอ่ื นักเรยี นบนั ทึกเสรจ็ แลว้ จะปรากฏ icon ไฟล์ PSD 2. การใชง้ านโปแกรม Illustrator โปรแกรม Adobe Illustrator เปน็ โปรแกรมที่ใช้ สำหรับการวาดภาพในแบบที่เป็นภาพลายเส้น ซง่ึ จะ แตกตา่ งจากโปรแกรม Adobe Photoshop ที่เนน้ ในเรื่อง ของการแต่งภาพ ดังนน้ั ในหวั ข้อนจ้ี งึ เนน้ หนักไปท่ี การใช้ เคร่อื งมอื ทเ่ี ป็น Pen tool เปน็ ส่วนใหญ่ ซ่งึ โปรแกรม Adobe Illustrator นีจ้ ะนิยมใชใ้ นงานออกแบบ ต่างๆเชน่ เครอื่ งหมายและสัญลักษณ์ นามบัตร ออกแบบปกหนังสือ ฉลากสินคา้ ฯลฯ เป็นตน้

สว่ นสำคญั 1. Shortcut หลกั ๆ (ควรใช้มือซา้ ยกด มอื ขวาจะไดไ้ มต่ ้องปลอ่ ยจากเมาส์) 1.1 zoom in = Ctrl + [+] 1.2 zoom out = Ctrl + [-] 1.3 fit on screen = Ctrl+0 (เลขศูนย์) 1.4 Hand Tool = spacebar 1.5 Undo = Ctrl+Z 1.6 Redo = Ctrl+Shift+Z ชุดอุปกรณ์ในการแก้ไข 2. ลกู ศรดำ = แกไ้ ขวตั ถุท้ังกอ้ น (เคล่อื นยา้ ย, ลบทิ้ง, ย่อขยาย, จับหมนุ ) 3. ลูกศรขาว = แกไ้ ขโครงสรา้ งวตั ถุ (ศัพทค์ ำว่า จดุ anchor, เส้นpath) 3.1 จดุ สีขาว จงึ จะทำการขยบั ปรบั โครงสร้างได้ 3.2 จดุ สีน้าเงิน เป็นการยา้ ยท้งั รูป (สามารถแก้ไขได้โดยการคลกิ ที่จดุ ๆ นน้ั อกี ครัง้ แล้วปล่อย) 4. Magic Wand (ไม่เหมอื นในPhotoshopซะทีเดยี ว) 4.1 ใชเ้ ลอื กวตั ถทุ ี่เป็นสเี ดยี วกันทกุ วัตถุในงานเลย 5. Lasso Tool ใชเ้ ลือกเฉพาะจุด anchor ตามทีเ่ ราลากครอบ (สามารถใช้ลูกศรขาวลากครอบได้ เหมือนกนั ) ชดุ อปุ กรณ์ในการวาด กลอ่ งอุปกรณ์ สามารถดึงเคร่อื งมือย่อยออกมาเป็นหนา้ ตา่ งข้างนอกได้ โดยการคลิกเครื่องมือยอ่ ยน้ัน ค้างไว้ แลว้ เอาเมาส์มาปล่อยตรงจดุ สามเหล่ยี มขวามือ 6. สีเ่ หลี่ยม ใชว้ าดรปู สี่เหล่ยี ม โดยการคลิกเลอื กเคร่อื งมอื จากนนั้ คลิกคา้ งที่งานแล้วลากเมาสต์ ามรูปที่ ต้องการ หากตอ้ งการให้เป็นสเ่ี หลย่ี มจัตุรัสให้กดปุ่ม Shift ค้างไว้ดว้ ย โดยจะมจี ุด anchor ทัง้ รูปจำนวน 4 จดุ การวาดวตั ถโุ ดยการกำหนดค่าเป็นตัวเลข โดยใชเ้ คร่ืองมอื วาดรูปส่เี หล่ียม/วงกลม ฯลฯ แลว้ คลิกที่งาน 1 ครั้ง ก็ จะข้นึ หนา้ ต่างใหพ้ มิ พค์ า่ ตัวเลข

7. สีเ่ หล่ยี มขอบมน ทงั้ นต้ี รงมุมจะมจี ุด anchor 2 จุด (ตา่ งจากส่ีเหล่ยี มขอบปกติ ซ่งึ มจี ุดเดียว)ส่ีเหล่ยี ม ขอบมน สามารถตัง้ คา่ ความมนได้ขณะวาด โดยการวาดแบบปกติแตใ่ ห้กดเมาส์คา้ งไว้แลว้ กดปรบั มุมโดยใชป้ มุ่ ลูกศรขนึ้ หรอื ลูกศรลง 8. วงกลม/วงลี ใช้วางรปู วงกรม โดยตอ้ งกด Shift คา้ งไวด้ ว้ ยขณะวาด แต่หากตอ้ งการวงลกี ็ไม่ตอ้ งกด Shift 9. Polygon รูปหลายเหล่ยี ม ปกตจิ ะเป็น 6 เหล่ียม (เลือกจำนวนเหลี่ยมได้โดยการใช้ลกู ศรขึ้น/ลง ขณะ คลิกเมาสว์ าด) 10. Star Tool การทำแสงสะท้อน (ต้องมีสีพ้ืนดา้ นหลังก่อน) และการวาดจะมี 2 ขนั้ ตอน 10.1 วาดครงั้ แรกเป็นการเลือกจุดพระอาทติ ย์ 10.2 วาดคร้ังทีส่ องเปน็ การเลือกเส้นทางของแสงสอ่ ง (เม่ือวาดเสร็จใช้ลูกศรดำเลอื กปรบั ขนาดได้ ถ้าอยากเห็นผลงานใช้ลกู ศรดาคลกิ ทบี่ ริเวณวา่ งๆ ก่อน) ชุดในการวาดเส้น การวาดเส้นคือมแี ต่สี Stroke ดงั นัน้ ปิดสี Fill ได้เลย 11. เส้นตรง (กด Shift เสน้ จะตรง 180 องศา) 12. เสน้ โคง้ (กดลูกศรขน้ึ /ลง เพอ่ื ปรับความโคง้ ได้) (การวาดวัตถโุ ดยใช้เสน้ ตอ่ ๆ กัน ไม่สามารถใส่สี Fill ไดเ้ นอ่ื งจากเส้นแต่ละเส้นเป็นคนละวตั ถกุ ัน) 13. Spiral เส้นก้นหอย 14.1 กดลกู ศรขึน้ /ลง เพอ่ื ปรบั จานวนขดของกน้ หอย 14.2 กด Ctrl เพื่อปรับระยะของขด 14.3 หากต้องการวาดขดกลับอีกด้าน ให้ใช้วธิ วี าดโดยการตั้งค่า (คลกิ 1 ที ในพ้นื ทที่ างาน) 14. Rectangular grid สามารถกด ปมุ่ ลกู ศรขึน้ /ลง/ซ้าย/ขวา เพื่อปรบั จานวนช่องได้ 15. Polar Grid สามารถกด ปมุ่ ลกู ศรข้นึ /ลง/ซ้าย/ขวา เพอื่ ปรับจานวนชอ่ งได้ *หมายเหตุ (ข้อท่ี 16 – 17) สามารถใสส่ ี Fill ไดด้ ้วย) 16. Pen Tool ปากกา (สำคญั ) ถ้าใชไ้ ดค้ ลอ่ งกจ็ ะสามารถวาดได้ทุกอยา่ ง (พยายามใช้จดุ ให้นอ้ ยทส่ี ุด)

16.1 หลักการวาด 16.1.1 ก่อนอน่ื ปดิ สี Fill ไปกอ่ น เพ่อื จะได้ไมส่ บั สน วาดเสร็จแล้วค่อยใส่ (ปอ้ งกนั ความ สับสน) 16.1.2 คลิก 1 ครั้งคือการใส่จุด anchor 1 จุด 16.1.3 วาดเสร็จจะปรับดัดวตั ถุก็ใช้ลกู ศรขาว 16.2 การวาดวงกลมโดยใชป้ ากกา 16.2.1 ริ่มต้นจากครึง่ วงกลมดา้ นบนก่อน โดยการคลกิ จดุ เริม่ ต้น 1 จุดปกตกิ ่อน 16.2.2 จากนนั้ ทาจดุ ที่ 2 แต่ใหค้ ลิกคา้ งไว้แล้วปรับขยับเมาส์ไปทางขวา (จะไดเ้ ส้นโคง้ ) จะได้ เสน้ Handle มาด้วย เปน็ เสน้ ท่ีจะกำหนดทิศทางของการโคง้ เสน้ จะโคง้ ตรงกันขา้ มกับการดึง 16.3 การหกั ขา anchor โดยการคลิกทจี่ ุด anchor ซำ้ อีกที 16.4 กรณีใช้ Pen Tool วาดรูปที่ไม่ใชเ่ สน้ ปดิ ให้กด Enter เพอ่ื ปิดการทำงาน 16.5 Add Anchor เพิ่มจุด แลว้ ใช้ลกู ศรขาวปรบั มุมได้ 16.6 Delete Anchor ลบจุดออก (ต่างจากการใชล้ ูกศรขาวเลือกแล้วกด Delete เพราะจะลบ เส้นไปดว้ ย) 16.7 Convert Anchor Point เปล่ยี นจากเส้นตรงเปน็ เส้นโค้ง และเสน้ โค้งเป็นเสน้ ตรง 17. พกู่ ัน จะปรับเส้นให้ Smooth ข้ึน 18. ดินสอ วาดอยา่ งไรเป็นอยา่ งนนั้ *หมายเหตุ ทั้งพูก่ นั และดินสอ เราสามารถปรับแก้เสน้ ได้ โดยการใช้ลูกศรดาเลือกก่อน แล้วใชพ้ กู่ ัน/ ดนิ สอ วาดเส้นแก้ไข โปรแกรมจะปรับเส้นเดมิ ใหเ้ ปน็ เสน้ ใหมเ่ ลย หากกดปมุ่ Alt ค้างไว้แล้วปลอ่ ยมือ จะเปน็ ภาพปิดใหโ้ ดยอัตโนมัติ 19. Blob Brush จะเป็นการลงสี Fill 20.1 แตอ่ าจมปี ญั หาเร่ืองการเลอื กสี Fill กับสี Stroke เพราะจะสลบั กันทำให้สบั สน 20.2 กด “ล” หรือ “บ” ค้างไว้ จะเปน็ การเลอื กขนาดของ Blob Brush 20.3 ถ้าระบายสีเดียวกนั วตั ถุจะเชื่อมกันให้ดว้ ย 20. ยางลบ (เพมิ่ /ลดขนาดหวั ยางลบ โดยกด “ล” หรือ “บ”) 21.1 หากต้องการลบวัตถุเพียงบางสว่ น ทาได้โดยคลกิ ค้างแลว้ ลากเพอื่ ลบ 21.2 หากตอ้ งการลบแบบส่เี หลีย่ ม ใหก้ ด Alt คา้ งไว้ แล้วลากครอบ 21. กรรไกร สามารถตดั ตามโครงสรา้ งของวัตถุ โดยใชก้ ารกำหนดจดุ เริ่มต้น กับจุดสนิ้ สุด แล้วใชล้ ูกศร

22. มีด เหมือนการใช้คตั เตอรต์ ัดวตั ถุโดยการคลิก (จากดา้ นนอก) แล้วลากผา่ น (ไปด้านนอกเลย) ปอ้ งกัน การตดั ไม่ขาด 22.1 ปกติจะเป็นเสน้ โค้ง หากต้องการให้เป็นเส้นตรงให้กด Alt ค้างไวแ้ ลว้ ลาก 23. การจดั ลำดบั ช้นั 23.1 Object >> Arrange (หรอื คลิกขวาที่วัตถ)ุ โดยมคี ำสั่ง 4 คำส่งั คอื 234.1.1 Bring to Front สง่ มาหนา้ สุด 23.1.2 Bring Forward ส่งมาด้านหนา้ 1 ช้นั 23.1.3 Send Backward ส่งมาดา้ นหลงั 1 ชั้น 23.1.4 Send to Back สง่ ไปด้านหลงั สุด คนลงทนุ ตัดหนา้ ไปแลว้ ด้วย คุณจึงตอ้ งออกแบบเคร่อื งหมายและสัญลักษณเ์ พอ่ื มกี ารย่อขยายตา่ ง ๆ ดว้ ย เพอ่ื ให้ 23.2 กรณมี วี ัตถุเยอะมาก หลายชน้ั 23.2.1 สั่ง Cut วัตถุที่ต้องการยา้ ยลาดับชนั้ 23.2.2 เลือกวตั ถุที่ตอ้ งการให้ไปว่างในตำแหน่งใกล้เคียง 23.2.3 สัง่ Paste in Back กรณใี ห้อยูด่ ้านหลังวัตถุทเี่ ลือก 24. Group การส่งั รวมกลุ่มวัตถุ Object >> Group (หรอื คลิกขวากไ็ ด้) เวลาจบั ขยับกจ็ ะไปด้วยกนั ทง้ั หมดท่สี ั่ง จดั กลุ่ม

25. Ungroup การยกเลิกคำสง่ั Group เวลาวาดภาพเสร็จพยายามจัดกลมุ่ ให้เรียบร้อย เวลาแกไ้ ขจะได้แกไ้ ด้ ง่ายข้นึ การแก้ไขวัตถใุ น Group ให้ดับเบิ้ลคลกิ เข้าไป เพ่อื เข้าไปในกลุม่ กอ่ น (ไมต่ อ้ ง Ungroup ก็ได้) และอยา่ ลืมออกมาข้างนอกกอ่ นทำงานอืน่ ไม่อยา่ งนนั้ วัตถอุ น่ื ทว่ี าดจะรวมอยใู่ นกลุ่มนั้น ๆ 26. การพลิกภาพ Object >> Transform >> Reflect (หรือคลิกขวาทวี่ ัตถุท่ีตอ้ งการกลบั ดา้ น) 26.1 เลอื กแนวต้ัง แนวนอนได้ 26.2 เลอื กแบบ Copy ได้ 27. Art Board Tool ใช้ปรับขนาดพื้นทก่ี ารทำงาน 28. Rotate Tool (ต่างจากลกู ศรดาตรงที่ ลกู ศรดาเวลาหมนุ จะหมนุ โดยยดึ จดุ ก่ึงกลางเปน็ จดุ หมุน แต่ Rotate จะสามารถย้ายจุดหมุนได)้ การทำงานเป็น 2 ขนั้ ตอนคอื 1) กำหนดจุดหมนุ 2) ทำการหมุน 28.1 วาดรูปวงลี 1 วง 28.2 ใชล้ ูกศรดำเลอื กทวี่ ัตถกุ ่อน 28.3 คลกิ คร้ังแรกเปน็ การกำหนดจดุ หมนุ 28.4 คลิกค้างคร้ังทสี่ องเป็นการหมนุ (คลิกค้างแล้วลากโดยกดปมุ่ Alt ค้างไวด้ ้วยเพื่อเป็นการ Copy) โดยทาการหมนุ 1 กลีบดอกก่อน 28.5 กด Ctrl+D (Object>>Transform>>Transform Again) เพื่อทำซำ้ คำสั่งสุดท้าย จะไดด้ อกไม้ ตามภาพ 29. แต่หากต้องการวาดรูปเปน็ แนววงกลมทีเ่ รยี งเปน็ มมุ มอี งศาเทา่ ๆ กนั อาจใชว้ ธิ กี ารกำหนดค่าได้ โดยการ 29.1 ตอนกำหนดจดุ หมนุ ใหก้ ดปุม่ Alt คา้ งไวด้ ้วย จะไดห้ นา้ ต่าง Rotate ขึ้นมา ใหก้ ำหนดค่าองศา 29.2 กดเลือก Copy (หากตอบ OK จะเปน็ การหมนุ ท่ีวัตถุเดิม) 30. Reflect Tool ใช้พลกิ ด้านของวตั ถุ 31. Scale Tool 31.1 วาดวัตถุ 1 ช้ิน กำหนดเส้นขอบหนา ๆ 10 Point 31.2 คลกิ สองครัง้ ที่ เคร่อื งมอื Scale 31.3 พมิ พ์ขนาด 50% 31.4 เลือก Copy ** ตรง Scale Strokes & Effect ใชก่ ำหนดใหเ้ ส้นขอบย่อตามรปู (ควรติก๊ ถกู เลือกไว้ดว้ ย)**

32. Shear Tool ใชบ้ ิดวัตถุให้เอียง โดยทำงาน 2 ขน้ั ตอน คือ 32.1 คลิกครั้งแรกเพ่ือกำหนดจดุ หมุน 32.2 คลกิ ค้างเพือ่ ปรับเอียง 33. Reshape Tool ใช้คูก่ ับลกู ศรขาวโดยคลิกเลือกท่ีเสน้ ขอบจะเกิดจุดโปร่งๆ ท่ีเสน้ ขอบ (ถ้าคลกิ ทส่ี ี Fill จะไม่เกดิ ผล) โดยมีวธิ กี ารดังน้ี 33.1 ใชล้ กู ศรขาวเลอื กคลิกทเ่ี สน้ ขอบ (ถา้ คลิกที่สี Fill จะเปน็ การเลือกท้งั หมด) 33.2 เลอื ก Reshape แล้วคลกิ ค้างทเี่ สน้ จับดดั โคง้ 34. Free Transform Tool 34.1 ใช้ Free Transform คลกิ คา้ งไวท้ ี่มมุ แล้วกด Ctrl คา้ งไว้ จะเปน็ คาส่ัง Distort (บดิ , เบ้) 34.2 ใช้ Free Transform คลกิ ค้างไวท้ ม่ี ุม แลว้ กด Alt ค้างไว้ จะเปน็ คำสงั่ Shear (ตัด) 34.3 ใช้ Free Transform คลกิ คา้ งไวท้ ่ีมมุ แล้วกด Ctrl+Alt+Shift ค้างไว้ จะเปน็ คำส่งั Perspective *ใชป้ ระโยชนใ์ นการปรับขนาดวตั ถุทีละหลาย ๆ วัตถุ 35. Perspective Grid Tool 35.1 เมือ่ คลิกเลือกเคร่ืองมอื นี้ จะขน้ึ ตารางไว้ให้ (ปดิ โดยการคลกิ ท่ีป่มุ controller ) 35.2 วาดรปู สเี หล่ยี ม วงกลม ลงไป รูปทวี่ าดจะเป็นแบบ Perspective 35.3 หากต้องการวาดดา้ นอ่ืน ๆ ใหเ้ ลอื กด้านกอ่ น จากปุ่ม controller ด้านซ้ายมอื บน 36. Perspective Selection Tool ใช้จบั ขยับ ขยายวตั ถเุ หมือนลูกศรดา แต่จะปรับให้เข้า Perspective ใหด้ ้วย

37. การนำรูปที่วาดนอก Perspective มาใส่ใน Perspective 37.1 วาดรปู อะไรก็ได้ โดยปิด Perspective กอ่ น 37.2 ส่ัง Group วัตถุทว่ี าด 37.3 ก่อนนำมาว่างใน Perspective ใหใ้ ชว้ ธิ ี Copy เสมอ (ไม่อยา่ งนน้ั จะไมส่ ามารถกลับมาใชว้ ตั ถุเดิมได้) 37.4 เปิด Perspective ก่อนวางวัตถใุ ห้เลือกด้านทจ่ี ะวางกอ่ น แลว้ ใช้ Perspective Selection Tool จบั วัตถุมาวาง ตามตำแหน่งท่ตี ้องการ กลุม่ เครอ่ื งมือปรบั แต่งเสน้ Stroke 38. Width Tool มใี น cs5 ข้ึนไป 38.1 วาดรูปอะไรกไ็ ด้ ใส่ขอบให้หนา ๆ หน่อย 38.2 ใช้เครื่องมือ Width Tool ปรับเส้นขอบลองใชก้ ับ Spiral Tool ดแู ล้วปรับหัวกับท้ายให้แหลม 39. Warp Tool ใชด้ ัดเสน้ ใหง้ อ บิดเบยี้ ว ** การปรับคา่ อปุ กรณ์ โดยการดบั เบ้ิลคลกิ ทอ่ี ุปกรณ์ไดเ้ ลย ** หรือ กด Shift + Alt คา้ งไว้ จากนน้ั คลกิ เมาส์ซ้ายคา้ งไวแ้ ล้วขยบั เมาส์ (ขยับเป็นมุมเฉยี งๆ จะเหน็ ไดช้ ัดเจน)

40. การวาดวตั ถุทีต่ ้องการให้สมมาตร เช่นแจกนั ดอกไม้ 40.1 ใช้ Pen Tool วาด ปดิ สี Fill ไปก่อน วาดฝั่งเดยี วกอ่ น 40.2 คลกิ ขวาทีว่ ัตถใุ ชค้ าสง่ั Transform >> Reflect 40.3 ขยบั ใหไ้ ด้ตำแหนง่ โดยใช้ลูกศรซา้ ยขวา (ถ้าต้องการเรว็ กดป่มุ Shift ค้างไวด้ ้วย) 40.4 เช่อื มจดุ 2 จุดเข้าด้วยกนั โดยใช้ลกู ศรขาวลากครอบให้โดน 2 จดุ แลว้ คลกิ ขวาสั่ง Join 40.5 เชื่อมท้ังบนและล่าง จากนน้ั ใส่สี Fill 41. การใสล่ ายให้แจกัน (Make Clipping Mask) 41.1 วาดลวดลายกอ่ น 41.2 Copy แจกันมาวางไวด้ า้ นบน 41.3 ใช้ลูกศรดำเลือกวตั ถุทงั้ สอง แลว้ คลิกขวาเลือกคาส่ัง Make Clipping Mask * เวลาต้องการแก้ไข ใหด้ ับเบิ้ลคลิกเข้าไปในชัน้ งานก่อน แล้วสามารถปรบั ขยับ ใส่สี เพม่ิ เติมได้ .42. Window>>Pathfinder ใช้ประกอบการวาดภาพแบบพเิ ศษ (รวม/ตัดวัตถุ) โดยแบง่ เปน็ 2 หมวดคือ 1) คำส่งั ชดุ Shape Mode ใช้ในการรวมวตั ถุ 2) คำสั่งชุด Pathfinder ใช้ในการตดั วัตถุ หรอื ซอยให้เปน็ ชิน้ ย่อย ๆ (หากต้องการยา้ ยต้อง Ungroup ก่อน) ทดลองสรา้ งวัตถุ 3 ชนิ้ วางซอ้ นกัน ใชล้ กู ศรดำเลือกท้งั หมดแล้วทดลองแตล่ ะคำสง่ั

อปุ กรณเ์ กย่ี วกบั สี การไลเ่ ฉดสี 43. Gradient Tool 43.1 วาดวตั ถขุ น้ึ มา 1 ชิน้ 43.2 เลือก Gradient Tool แตต่ อ้ งต้งั ค่าสกี อ่ น จากนั้นลากเส้นไลโ่ ทนสี 43.3 เวลาปรับค่าให้ปรบั ในหนา้ ตา่ ง Gradient 43.3.1 Type: มี 2 แบบ คอื Linear และ Radial 43.3.2 การไลส่ ี ดับเบ้ลิ คลิกท่ีหมุดสี ปรบั โหมดสเี ป็น CMYK ก่อน 43.3.3 สามารถเพิม่ หมุดสีได้ โดยการคลกิ ที่สไลด์บารข์ องสี (การเอาหมุดสอี อกให้คลกิ ท่หี มดุ สี ค้างไว้แลว้ ลากออกมาดา้ นนอก) 43.3.4 สามารถปรบั คา่ Opacity เพ่ือให้มองทะลุดา้ นหลังไดด้ ้วย 43.4 การตกแตง่ เพมิ่ เติม (มีใน cs6) พาเลทต่าง ๆ ดา้ นขวามือของโปรแกรม 44. Color Guide ชว่ ยในการเลือกสไี ด้ 44.1 วาดรูปวงกลมหลาย ๆ วง แล้วลองใส่สจี าก Color Guide 44.2 ปุ่ม Edit and Apply Color ชว่ ยในการปรับโทนสีต่าง ๆ ใหไ้ ปด้วยกัน ลองปรบั สรี ูป โทรศพั ท์ 44.3 ดงึ ค่าสเี ดมิ โดยใช้ Get Colors from… 44.4 ปรับคา่ วงล้อสโี ดยคลิกท่ี Edit 44.5 หากตอ้ งการปรบั สที ั้งหมดให้ไปดว้ ยกันใหต้ ๊ิกที่ “โซ่” ดว้ ยเสมอ

45. Swatches ใชเ้ ก็บสีที่ใช้งานบ่อย ๆ เราสามารถกำหนดสีที่ใชบ่ อ่ ย ๆ เพม่ิ เตมิ ได้ ดงั น้ี 45.1 เลือกท่ีวตั ถุทต่ี อ้ งการเก็บค่าสี (หากอยู่ในGroup ใหเ้ ข้าไปใน Group กอ่ น) 45.2 จากน้ันกดทกี่ ระดาษพบั มมุ แล้วตั้งชือ่ 46. หนา้ ตา่ ง Transparency ใช้ปรบั ค่าความโปรงใส 46.1 ปรับตรงคา่ Opacity (ทำให้โปรงใส) 46.2 ตรง Normal Mode ใหล้ องปรบั แต่งดู (เหมอื น Blend Mode) 47. Mesh Tool (อยู่ตรง Tool Box ด้านซ้ายมือ) ใช้ไล่เฉดสีตามรปู ทรง 47.1 สรา้ งวตั ถดุ าวข้ึนมา โดยสีตอ้ งเป็นสีเดยี ว ไม่สามารถใช้ร่วมกับ Gradient ได้ 47.2 ใช้ Mesh Tool แลว้ คลิก 1 ครงั้ ในดาว จะเกิดเสน้ ตดั สามารถใส่สีไดเ้ ลย (ปรบั สีตรงสไลดบ์ าร์) 47.3 เมอ่ื เกดิ เส้นตัดครบทัง้ รปู แลว้ สามารถใช้ลกู ศรขาวเลอื กจุด แลว้ ใส่สีไดเ้ ลย * จดุ ดา้ นในสามารถลบทง้ิ ได้ โดยใชล้ กู ศรขาว 48. Blend Tool (อยู่ตรง Tool Box ดา้ นซา้ ยมือ) 48.1 วาดวตั ถุดาว 4 ช้นิ วางห่าง ๆ กันหนอ่ ย และใส่เฉพาะสี Fill สี Stroke ไม่เอา 48.2 ใชเ้ ครอื่ งมือ Blend แล้วคลิกที่รปู แรก 1 ครั้ง จากน้ันคลิกทร่ี ูปท่ี 2 อีก 1 คร้งั * หากต้องการแก้ไข ให้เขา้ ไปใน Group ก่อน * หากต้องการปรบั โคง้ ใหใ้ ช้ Convert Anchor Point Tool ดดั ตรงหัวมมุ 48.3 การปรับแต่งค่าใน Blend Tool โดยการดับเบิ้ลคลิกทีเ่ คร่อื งมอื ได้เลย 48.4 เลอื กตรง Spacing เปน็ Specified Steps ระบุจานวนชนิ้ ตามต้องการ อปุ กรณใ์ สต่ ัวอกั ษร (ปกติมี 6 แบบ แต่หลัก ๆ จะใช้เพียงแค่ 3 รปู แบบแรกเทา่ น้ัน) 49. Type Tool 49.1 คลิกทง่ี านแค่ทเี ดยี ว แลว้ พมิ พ์ 49.2 ใชล้ กู ศรดำเลือกเพือ่ แกไ้ ข จบั ขยับย่อ-ขยายไดเ้ ลย

49.3 ใช้ลกู ศรดำคลกิ ขวาที่ตวั อกั ษร เพื่อเลือกตัวอักษรท่มี ีอย่ใู นเคร่อื ง 49.4 ทำเงาให้ตวั หนงั สือ โดยการ Copy แลว้ สง่ ไปดา้ นหลงั 49.5 ทำขอบให้ตวั อกั ษร โดยการ Copy แล้วสั่ง Stroke หนาๆ แลว้ นาไปวางไวด้ ้านหลงั (เหตทุ ไ่ี ม่ส่ัง Stroke เพราะเส้นขอบจะกนิ พ้นื ท่ดี า้ นใน ทำใหท้ ับตัวอักษรเดมิ ) 49.6 ลองพิมพต์ ัวอกั ษร AVN เลือกตวั หนาๆ เหลี่ยมๆ แลว้ ใส่ Stroke หนาๆ เลย จะเกิดขอบแหลมๆ ย่นื ออกมาก ให้ปรบั ตรง Stroke Option ตรงค่า Limit ปรบั ประมาณ 2-3 50. Object>>Envelope Distort 50.1 Make with Warp ปรบั โค้งตามรูปแบบสำเร็จรปู 50.2 Make with Mash จะสร้างตารางขนึ้ มาให้ 50.3 Make with Top Object (แนะนำให้พมิ พอ์ ักษรเปน็ ตัวใหญ่ทัง้ หมดก่อน) ใช้ปรับตัวอกั ษรใสใ่ น รปู ทรงทอี่ ยูช่ ั้นบน 50.3.1 ใส่ตวั อกั ษร (ตัวใหญห่ มด) 50.3.2 วาดรปู ทรงอะไรกไ็ ด้ (ยกเวน้ สเ่ี หล่ียม) 50.3.3 นำรปู ทรงมาวางไวด้ ้านบน แล้วสงั่ Object>>Envelope Distort>> Make with Top Object (ใชต้ วั พมิ พใ์ หญข่ อบด้านบนและดา้ นล่างจะเท่ากนั จะทำให้ดผู ลงานไดช้ ัดเจนขนึ้ ) **หากตอ้ งการแกไ้ ขใหใ้ ชค้ ำสัง่ แยกวัตถุ Object>>Envelope Distort>>Release

51. Create Outlines ใชแ้ กไ้ ข Type ให้สามารถจัดดัดได้ แปลงจาก Text เป็น Object 51.1 เลอื กตวั อกั ษร เลอื ก Type>> Create Outlines หรือ 51.2 คลิกขวาท่ีตวั อักษร เลือก Create Outlines เมื่อสงั่ Create Outlines แลว้ จะไม่สามารถแก้ไข ตัวอกั ษรไดแ้ ล้ว ปกติเวลาทำงานเสร็จแลว้ ตัวอกั ษรมกั จะส่งั Create Outlines เสมอ เพอื่ เวลาไป เปดิ ที่เคร่อื งอื่นๆ จะไดไ้ มม่ ีปญั หาเร่อื ง font 52. Area Type Tool การพมิ พข์ ้อความในรูปทรงทต่ี ้องการ 52.1 วาดรปู ทรงกลมขึ้นมาก่อน 52.2 ใช้เครื่องมอื Area Type คลกิ ที่ขอบของรปู (คลกิ ท่ีสี Fill ไมไ่ ด)้ 53. Type on a Path การพิมพข์ อ้ ความบนเส้นขอบของวตั ถุ 53.1 วาดรปู ทรงกลมขนึ้ มากอ่ น 53.2 ใช้เครือ่ งมอื Area Type คลกิ ทขี่ อบของรปู (คลิกที่สี Fill ไม่ได)้ 53.3 พมิ พ์ข้อความตามตอ้ งการ 53.4 เม่อื ใช้ลูกศรขาวเลือก จะปรากฏเสน้ 3 เสน้ คือ กน้ั หนา้ ก้ันกลาง และกนั้ หลัง (ให้คลิกท่ีเส้น อย่าไปคลกิ ท่ปี ุม่ ขาว) 53.5 แรกเรม่ิ กัน้ หน้ากั้นหลังจะอยู่ใกล้ชิดกัน ให้จับเสน้ กั้นหลงั ไปไว้ท้ายตวั อักษร 53.6 เสน้ กั้นกลาง สามารถใช้จบั มาวางไวใ้ นเส้นได้ เพอื่ ให้ตัวอกั ษรวางอยู่ในเสน้ (ฝงั่ ตรงขา้ ม)

หนว่ ย 8 การเขียนภาพลอและภาพประกอบเรื่องดว้ ยโปรแกรมสำเรจ็ รปู เทคนคิ ทำภาพการต์ นู หวั โต ดว้ ย โปรแกรม Adobe Photoshop หลายๆคนอาจจะคล้ายเห็นโฆษณาหรือป้ายโฆษณาที่ทำรูปคนหรือสัตว์ขยายใหญ่เป็นส่วนๆใช่ไหม เช่น หัวโต มือใหญ่ คล้ายแบรนด์ น้องหมา Thedog ยงั ง้ันและ เทคนิคสร้างภาพหวั โตน้นั มีวธิ ีการใช้จากเคร่ืองมือท่ีชื่อว่า Magnetic Lesso Tool ใน โปรแกรม Adobe Photoshop Magnetic Lesso Tool เป็นเครื่องมือที่ช่วยลากเส้นในส่วนท่ีเราเลือก แบบอัตโนมัติ ลากตามหัวสุนัขตามรูป ตวั อย่าง ใช้เมา้ สไลด์ไปเร่ือยๆ เครือ่ งมือจะลากเสน้ ให้เองแต่ถ้าไมต่ รง กดคลกิ ซา้ ยที่เม้าส์เพื่อทำการกำหนดจุดที่ ตอ้ งการใหล้ ากจนครบรอบ ใหบ้ รรจบกนั ก็จะไดเ้ ส้นรอบส่วนทต่ี อ้ งการ จากนั้น เลอื กที่ Edit>Free Transfrom หรือกดปุ่มลัด Crtl+T จะขน้ึ กรอบสี่เหลยี่ มใหเ้ ราสามารถยอ่ หรอื ขยาย ขนาดจากสว่ นทเ่ี ราเลือกมาได้ แตถ่ ้าอยากให้สมดลุ กนั ควรกด ปุม่ shift คา้ งเวลายอ่ หรือขยายดว้ ยเราก็ปรับ ขนาดใหไ้ ด้สัดส่วนตามที่เราต้องการ

ข้นั ตอนการเปลี่ยนภาพถ่ายใหเ้ ปน็ ภาพการต์ ูน 1.หลังจากเปดิ โปรแกรม Photoshop เรยี บรอ้ ยแล้ว เปดิ ไฟล์ภาพท่ตี อ้ งการทำเปน็ ภาพการต์ ูน โดยเลือกเมนู File เลือก Open จากนั้นเลือกไฟลภ์ าพ เปิดไฟล์ภาพท่ีตอ้ งการทำเป็นภาพการต์ ูน แสดงไฟลภ์ าพ 2.คลกิ ท่ีเมนู Filter เลือก Filter Gallery... ใส่ Filter ให้ภาพ

3.ปรับมมุ มองของภาพให้เลก็ ลง เพ่อื ใหเ้ หน็ ภาพท้ังหมด 4.คลิกเลือกหมวด Artistic 5.คลิกเลือก Poster Edges

6.ปรับคา่ Edges ตามความเหมาะสม 7.หลังจากปรับค่าเรียบร้อยแล้ว คลกิ ปมุ่ OK 8.Save ภาพทีใ่ ส่ Filter เสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ โดยการคลกิ ที่เมนู File เลือก Save As...

ภาพถ่ายก่อนใส่ Filter ภาพถา่ ยหลงั ใส่ Filter ใหก้ ลายเปน็ ภาพการต์ นู

วาดการ์ตูนดว้ ยโปรแกรม Adobe Illustrator บางคร้งั ในการทำงาน เราอาจจะต้องการภาพการ์ตูนสวยๆ ทีอ่ ย่ตู ามเวบ็ ไซต์ แต่เน่อื งจากภาพท่ีได้มานั้นเป็น ภาพทีม่ ีขนาดเล็กมากไม่สามารถท่ีจะนำมาใช้ งานได้ทนั ที เมือ่ เราเอาไปทำสอ่ื สิ่งพิมพ์ท่ีมกี ารขยายขนาดมากๆ อาจจะทำให้รูปภาพน้ันแตกจนไมส่ ามารถใชง้ านได้ ดงั นน้ั ถ้าเราใช้การคัดลอกการ์ตนู ออกมาเปน็ Vector ด้วย โปรแกรม illustrator จะทำใหภ้ าพการ์ตูนน้นั ขนาดขนาดได้ไมจ่ ำกัด สามารถเอาไปใชก้ ับสื่อสงิ่ พิมพช์ ้นิ ใหญ่ได้ โดยไม่ต้องกลัวภาพแตก มีวิธกี ารดงั นี้ 1.เปิดโปรแกรมขึน้ มานำภาพต้นฉบบั ที่เราตอ้ งการที่จะใช้มาเปิดในโปรแกรม Illustrator ตวั อยา่ งจะขอใช้ภาพ นกฮกู 2. เรามาเร่มิ วาดให้เปน็ ลายเสน้ โดยเร่มิ จากลำตัวกอ่ นนะคะ เราก็วาดวงกลมขนึ้ มา

3. จากนนั้ ใช้เครือ่ งมอื Pen tool โดยเรมิ่ จากการวาดตาของนกก่อน ในการวาดนนั้ เราเปิด layers ของภาพ ต้นฉบับดว้ ยนะคะ เพ่ือที่จะเปน็ การง่ายต่อการวาด 4. ต่อไปวาดรายละเอยี ดสว่ นที่เหลือให้ครบก็จะไดด้ งั ภาพตวั อยา่ ง 5. ต่อไปก็ทำการลงสีให้กับนกฮกู โดยใช้สีจาก Swatches หรอื จะกำหนดสีเองก็ได้ ก็จะได้ภาพทส่ี ำเรจ็ ตามรปู

วาดรูปการต์ ูนคน ด้วยโปรแกรม Adobe Illustrator รปู การ์ตูนเลียบแบบหนา้ คน ตัวคน โดยใช้เสน้ เป็นหลกั 1. เปดิ โปรแกรม Adobe Illustrator ข้ึนมา - สร้างชน้ิ งานมาใหม่ แลว้ เอารูปที่เราต้องการ Place ลงมา หรือลากจาก Folder มาลงเลยกไ็ ด้ - ใช้ Pen Tool เป็นหลักในการสร้างเส้น วาดเสน้ ตา่ งๆ - กำหนดเสน้ เป็นสดี ำก่อน

2. วาดเส้นใบหนา้ หู ตา จมูก ปาก ผม ตามทมี่ ใี นองค์ประกอบของรูป **ตรงตา ใหล้ ืมวาดแววตาด้วย กลมๆ เล็กๆ 3. ลงสี ไปทีแ่ ถบ Window > Color - คลิ๊กเลือกช้นิ ที่ตอ้ งการลงสี แลว้ เลอื กสเี สน้ สพี ื้นตามท่ตี ้องการ

4. ลงสีเสร็จแล้ว 5. การซ้อนของชน้ิ งาน ตอนเราวาดเสน้ อาจจะไม่ได้วาดใหผ้ มอยขู่ ้างบนใบหน้า เมอ่ื ลงสแี ลว้ อาจทำใหใ้ บหน้าอยู่ เหนอื ผม ถา้ เราตอ้ งการใหผ้ มอยบู่ นสุด ใหค้ ลกิ เลือกที่ช้นิ งาน แลว้ คลกิ ขวา เลือก Arrange > Bring to Front (ไปบนสดุ ) / Bring Forward (ไปบน 1 ขั้น) / Send Backwards (ไปลา่ ง 1 ขนั้ ) / Send to Back (ไปลา่ งสุด)

6. การใช้เส้น (ที่ผมใชก้ ม็ ีอยู่ 2 อย่าง คือ ขนาดเส้น และ ชนิดเส้น) อาจจะปรับขนาดเสน้ ให้หน้าขึน้ ถา้ ตอ้ งการ เนน้ 7. ชนดิ ของเสน้ สว่ นนี้สำคญั นะครับ เพราะจะทำใหเ้ ส้นมคี วามพร้ิวไหวมากขนึ้ เสน้ จะไม่เทา่ กนั ไปตลอด จะมี บางบา้ งหนาบ้าง โดยเลอื กที่ Profile

8. สว่ นตา ดวงตาของคนในรูปจะตาเลก็ เลยทำใหด้ วงตาสดี ำเลยออกมาข้างนอก เราจะใช้ Make Clipping Mask ช่วย - ส่วนของลกู ตาเราจะมี 2 ชิ้น คือ ตาดำ กบั แววตาสขี าว ใหจ้ ับกล่มุ กันกอ่ น โดยเลอื ก 2 ชน้ิ นี้ (กด Shift คา้ งไว้ แลว้ เลือกทลี ะช้ิน) แลว้ คลิกขวาเลือก Group หรือกด Ctrl+G จะเป็นการรวมกลุ่ม (* ถ้าต้องการแยกกลุม่ กด Ctrl+Shift+G) - เมอ่ื จับกล่มุ เสร็จแล้วใหค้ ลิก เลือกท่ีตาขาว แล้ว Copy (Ctrl+C) แลว้ วางจดุ เดิม (Ctrl+F) แต่เรา ตอ้ งเอาตวั ตาขาวไวบ้ นสดุ ให้กด Ctrl+Shift+] ตาขาวอย่บู นสดุ แล้ว ให้เราเลอื กตวั ตาขาว กับ ตาดำทมี่ นั เกนิ ขอบออกมา 2 ชน้ิ (อยา่ ลมื กด Shift ค้างไว้ตอนเลือกช้นิ งาน) เลือก 2 ช้ินแล้วคลิกขวา > Make Clipping Mask

9. เมื่อได้ใบหนา้ แล้วก็มาวาดเสน้ ให้ส่วนของตัวต่อครบั 10. เสร็จแลว้ กล็ งสีตามแบบ หรอื สตี ามตอ้ งการ เติมคอ ย่อสว่ นของลำตวั ให้เลก็ ลงเพอ่ื ใหด้ ูเหมือนการ์ตูนมาก ขึ้น แลว้ เอารูปท่ีเรานำมาเป็นตัวอย่างออก คลมุ ชิ้นงานทุกชนิ้ แลว้ รวมกลมุ่ ด้วย เพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้าย

บรรณานุกรม เกรก ยนุ้ พนั ธ.์ (2539). การเล่านิทาน (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: เกริก ยุ้นพันธ.์ . (2543). การออกแบบและการเขียนภาพประกอบสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: ภาควิชา บรรณารกั ษศาสตร์ สาขาวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. ประเสรฐิ ศีลรตั นา. (2528). จิตรกรรม. กรุงเทพฯ: โอเคียนสโตร์ ผดุง พรมมูล. (2547). ศิลปะการสร้างสรรค์ภาพประกอบ. กรงุ เทพฯ: มลู นิธเิ ด็ก. มณเฑยี ร สุขสวสั ดิ์. (2548). ค่มู ือการเขียนภาพลอ้ เลียนด้วยสีโปสเตอร์. กรงุ เทพฯ:สิปประภา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สกนธ์ ภู่งามดี . งานภาพประกอบเรื่อง (Illustration)กับความสัมพันธ์ไนงานนิเทศ ศาสตร.์ https://www.chonburi.spu.ac.th/journal/booksearch/upload/76-illustrationshow.pdf https://sites.google.com/site/tharikaart2018/home/sisan-si-na http://www.cdoae.doae.go.th/54/infor/fik/jad-pap.pdf http://www.infinityprinting.co.th/main/content.php?page=sub&category=22&id=58 www.studio310.com http://www.greenlate.com/detailtip.php?knowid=10 https://www.forartwork.com/artwork-technic/152-artwork-technic-002.html https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/760273


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook