Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore B86EC6D9-939A-4CEC-9569-2737D2875699

B86EC6D9-939A-4CEC-9569-2737D2875699

Published by Phurichaya Suansawat, 2022-08-31 04:45:00

Description: B86EC6D9-939A-4CEC-9569-2737D2875699

Search

Read the Text Version

MAlAYSIA มาเลเซีย

ที่ตั้ง - ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร มาเลเซี ยตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนื อติดกับไทย และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์ โดยประกอบด้วย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปี นั ง เกดะห์ และปะลิส และ 1 เขตที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง คือ เกาะลาบวน มาเลเซี ยตะวันออก ตั้งอยู่ทางตอนเหนื อของเกาะบอร์เนี ยว (กาลิมันตัน) มีพรมแดนทิศใต้ติดกับอินโดนี เซียทั้งหมด ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาร์ และซาราวัก และ 2 เขตที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง คือ กัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) ปุตราจายา (เมืองราชการ)

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ - มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็ นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้มีที่ราบ 2 ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็ นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุก - มาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทาง ตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่ งทะเล

ประวัติศาสตร์ มาเลเซียเคยตกเป็ นเมืองขึ้นของประเทศต่างๆ ตั้งแต่ พ.ศ.2054 โดยถูก โปรตุเกส ยึดครองช่องแคบมะละกา ซึ่งเป็ นเส้นทางการค้าสำคัญในขณะนั้ น และต่อมาตกเป็ นของชาวดัตช์หรือเนเธอร์แลนด์ - พ.ศ.2359 ไทยหรือสยาม ได้ ไทรบุรี (เกดะห์) กลันตันและตรังกานู เป็ นเมืองขึ้น - พ.ศ.2367 อังกฤษ เข้ายึดครองต่อจากดัตช์และได้จัดตั้งเขตปกครองรวม ปี นั ง มะละกา และสิงคโปร์ เรียกว่า เขตจัดตั้งช่องแคบ (The Straits Settlements) มาเลเซียได้รับเอกราชในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2500 โดยใช้ชื่อประเทศว่า สหพันธรัฐมาลายาและมีนายกรัฐมนตรี คนแรกชื่อ ตนกู อับดุล ราห์มาน - พ.ศ. 2506 ได้มีการรวมสหพันธรัฐมาลายา สิงคโปร์ ซาบาห์ บรู ไน แต่สิงคโปร์ได้แยกตัวออกเป็ นอิสระภายหลัง

การเมืองการปกครอง ประเทศมาเลเซียมีรู ปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็ นประมุขของประเทศ มีนายกรัฐมนตรีเป็ นหัวหน้ ารัฐบาลสหพันธรัฐและ มีมุขมนตรีแห่งรัฐหรือสุลต่านเป็ นหัวหน้ ารัฐบาลท้องถิ่น สมเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน อิสมาอิล ซาบรี ยาค็อบ” อับดุลละฮ์ รีอายาตุดดิน อัลมุซ ดำรงตำแหน่ งนายกรัฐมนตรี ตาฟา บิลละฮ์ ชะฮ์ ดำรงตำแหน่ ง ยังดีเปอร์ตวนอากง

เศรษฐกิจ มาเลเซียมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่ อง เป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่มีเศรษฐกิจก้าวหน้ า แห่งหนึ่ งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ นผู้ส่งออกดีบุกอันดับต้นๆของโลก แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ทางมาเลเซียตะวันตกปี นั ง ประเทศคู่ค้าสำคัญของมาเลเซียคือ ญี่ปุ่ น สหรัฐอเมริกา และสิ งคโปร์ - สินค้าส่งออก ได้แก่ ไม้ เครื่องใช้ไฟฟ้ าและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิ กส์ น้ำมันปาล์ม เคมีภัณฑ์ น้ำมันสำเร็จรู ป น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ เหล็ก ยางพารา - สินค้านำเข้า ได้แก่ เครื่องจักรอุตสาหกรรม สินค้าแปรรู ป สินค้าอาหาร

สังคมและวัฒนธรรม มาเลเซียเป็ นประเทศพหุชาติพันธุ์และพหุวัฒนธรรมซึ่ง มีบทบาทอย่างมากในด้านการเมือง ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติประมาณครึ่งหนึ่ ง ของประชากรทั้งหมดมีเชื้อสายมลายูโดยมี ชนกลุ่มน้ อยกลุ่มสำคัญ คือ ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน ชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดียและชนพื้นเมืองดั้งเดิม รัฐธรรมนูญประกาศให้ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาประจำชาติ แต่ก็ยังให้เสรีภาพในการนั บถือศาสนาแก่ผู้ที่ไม่ใช่ชาวมุสลิม

สังคมและวัฒนธรรม ด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติภายในประเทศ ทำให้เกิดการหล่อหลอมของวัฒนธรรมและส่งผลต่อ การดำรงชีวิตของชาวมาเลเซีย จึงเกิดประเพณีที่สำคัญมากมาย 1. การรำซาบิน (Zapin) เป็ นการแสดงการฟ้ อนรำหมู่ ซึ่งเป็ น 2. เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) ศิ ลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซียโดยเป็ นการฟ้ อนรำที่ได้รับ เป็ นเทศกาลประจำปี ในรัฐซาบะฮ์ จัดในช่วงสิ้น เดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็ นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บ อิทธิพลมาจาก ดินแดนอาระเบีย เกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรม ตามความเชื่อในการทำเกษตร และมีการแสดง ระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อ เฉลิมฉลองอีกด้วย

มรดกโลก 1.มะละกา (Malacca) เป็ นเมืองวัฒนธรรมที่เต็มไปด้วยร่องรอยของประวัติศาสตร์สำคัญ ของมาเลเซีย จนได้รับการขนานนามว่าเป็ น “นครแห่งประวัติศาสตร์ ของชนขาติมาเลเซีย” สถานที่สำคัญของมะละกา คือ จัตุรัสดัตช์ เนื่ องจาก ที่นี่ เคยเป็ นศูนย์กลางชุมชนดัตช์ในสมัยที่เข้ามาปกครองมลายู

มรดกโลก 2.อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลู (Gunung Mulu National Park) เป็ นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในเป็ นพื้นที่ที่มีความหลากหลายในด้านชีววิทยา และธรณีวิทยาเป็ นอย่างมาก มีพันธุ์พืชกว่า 3,500 ชนิ ด และมีพันธุ์ปาล์มกว่า 109 ชนิ ด ภายในมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่ าสนใจหลายที่ ไม่ว่าจะเป็ น เดียร์เคฟ อดีตถ้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลกหรือถ้ำน้ำใส ถ้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ นต้น

สถานที่ท่องเที่ยว 1. ตึกแฝดเปโตรนาส (Petronas Twin Towers) เป็ นตึกระฟ้ าที่มีทั้งหมด 88 ชั้น โครงสร้างของตัวตึกถูกออกแบบโดย Cesar Pelli สถาปนิ กชาวอาร์เจนตินา สร้างขึ้นโดยได้รับแรงบันดาลใจจากวิสัยทัศน์ ของ Mahathir bin Mohamad นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 ของมาเลเซีย เรียกได้ว่าเป็ นตึกแฝดที่สูงที่สุดในประเทศมาเลเซีย และถือเป็ นหนึ่ งในแลนด์มาร์คสำคัญของเมือง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย

สถานที่ท่องเที่ยว 2. เกาะสิปาดัน (Sipadan Island) เป็ นเกาะเล็ก ๆ ที่ตั้งอยู่ใจกลางทะเลเซเลเบส อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐซาบาห์ ประเทศมาเลเซีย ขึ้นชื่อว่ามีจุดดำน้ำที่สวยที่สุดติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก นั กดำน้ำทั่วสารทิศต่างอยากจะมาเห็นความสวยงาม และความสมบูรณ์ของโลกใต้ท้องทะเลที่ซ่อนอยู่ในเกาะสิปาดันแห่งนี้ กันมากมาย

อ้างอิง ข้อมูลและประวัติของประเทศมาเลเซีย.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์ ].ได้จาก: http://www.9ddn.com/content.php?pid=764 [สืบค้นเมื่อ วันที่ 5 สิงหาคม 2565]. มาเลเซีย - ศิ ลปะ / วัฒนธรรม / ประเพณี.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์ ].ได้จาก: https://www.asean-info.com/asean_members/malaysia_culture.html [สืบค้นเมื่อ วันที่ 5 สิงหาคม 2565]. 10 สุดยอดสถานที่ท่องเที่ยวในมาเลเซีย.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์ ].ได้จาก: https://www.yingpook.com/blogs/world/best-of-malaysia [สืบค้นเมื่อ วัน ที่ 5 สิงหาคม 2565]. มรดกโลกในมาเลเซีย 1 .(ม.ป.ป.).[ออนไลน์ ].ได้จาก: http://aseannotes.blogspot.com/2014/08/1_4.html?m=1[สืบค้นเมื่อ วันที่ 5 สิงหาคม 2565].

Thank You สมาชิกในกลุ่ม นางสาวภูริชญา สวนสวัสดิ์ เลขที่ 23 นางสาววนิ ดา รุ่งเรือง เลขที่ 24 นางสาวสุธิดา นาคเจริญศรี เลขที่ 25 นางสาวสุภาวดี ภาสดา เลขที่ 26 นางสาวปวินท์วดี พลูสมบัติ เลขที่ 33 นางสาวศศิ กานต์ ผ่องเผือก เลขที่ 38 นางสาวจุ๊บแจง สุทธาชีพวง เลขที่ 40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook