Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DLTV BASIC BOOK

DLTV BASIC BOOK

Published by Pornnarong Supkong, 2021-02-26 11:00:44

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ DLTV

Keywords: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ DLTV

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 ประวัตคิ วามเปน็ มา ความรูเ้ บอื้ งต้นของเทคโนโลยกี ารสือ่ สารทางไกลผา่ นดาวเทียม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และมีความรู้เบื้องต้นของเทคโนโลยีการ สอ่ื สารทางไกลผ่านดาวเทียม ด้วยพระอัจฉริยภาพและสายพระเนตรอันยาวไกลของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรี สินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัว ท่ที รงเห็นว่าการพัฒนาการศึกษาคือการสร้างความมั่นคงของ ชาติ และด้วยพระราชปณิธานอันแน่วแน่ในการสืบสานและพัฒนาต่อยอดงานของพระราชบิดา ซึ่งหนึ่งใน โครงการพระราชดำริ ของ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่มีความสำคญั คือ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ภายใต้การดำเนินงานของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้มอบหมายให้ศูนย์ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ดำเนินโครงการจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2538 โดยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถ บพติ ร ได้พระราชทานทนุ ประเดิม 50 ล้านบาท เพือ่ ต้ังมูลนธิ ิการศึกษาทางกลผ่านดาวเทียม เพ่ือแก้ไขปัญหา การขาดแคลนครใู นท้องถ่นิ ชนบทหา่ งไกลและยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ปัจจุบนั มีจำนวน 14,528 โรงเรียน ซึ่งได้พฒั นารปู แบบ โดยเปล่ียนระบบการออกอากาศจากระบบ SD เป็น ระบบ HD โดยมีช่อื เรียกวา่ NEW DLTV การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มรูปแบบใหม่ NEW DLTV 1. การปรับผังรายการใหม่ ที่มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายไปยังนักเรียนในโรงเรียนที่ขาดแคลนครู และ ประชาชนทุกกลุ่มทุกช่วงวัย เป็นการจดั การศึกษาทางไกล ท่ีครอบคลมุ การเรียนรู้ตลอดชีวิต อันสอดคล้องกับ สภาวะการณ์การศึกษาของโลกยุคปัจจุบัน โดยการออกอากาศ 15 ช่องสัญญาณ โดยปรับผังรายการเป็น 2 ชว่ ง ดังน้ี ช่วงที่ 1 คือ 08.30 – 14.30 น. เป็นการถ่ายทอดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน ในปีการศึกษา 2561

ช่วงที่ 2 คือ เวลา 14.30 น. เป็นต้นไป จะเป็นรายการเรียนรู้ตลอดชีวิต สำหรับคนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ตลอดจนรายการแนะนำการประกอบอาชีพสำหรบั ผู้ทส่ี นใจทั่วไป รวม 15 ช่อง ตลอด 24 ชั่วโมง โดยทั้งสองช่วงเวลามีรายละเอยี ดดงั น้ี ช่อง รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 / สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ช่อง รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 / ความรรู้ อบตวั ช่อง รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 / วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่อง รายการสอนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 / ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ชอ่ ง รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 / ศลิ ปวัฒนธรรมไทย ชอ่ ง รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 / หน้าทีพ่ ลเมือง ช่อง รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 / ภาษาองั กฤษ ชอ่ ง รายการสอนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 / ภาษาต่างประเทศ ชอ่ ง รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 / การเกษตร ชอ่ ง รายการสอนชนั้ อนบุ าลปีที่ 1 / รายการสำหรับเดก็ -การเล้ยี งดูลูก ช่อง รายการสอนชน้ั อนุบาลปีท่ี 2 / สขุ ภาพ ช่อง รายการสอนชน้ั อนุบาลปีท่ี 3 / ผู้สงู วัย ช่อง รายการของการอชีพวงั ไกลกงั วล และ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ชอ่ ง รายการของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ชอ่ ง รายการพัฒนาวิชาชพี ครู 2. การพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้ และแนวการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ระดับปฐมวยั จดั การเรยี นการสอนตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ระดับประถมศึกษา ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตให้นำสื่อ 60 พรรษาเฉลิมพระเกียรติ มาใช้ใน การจัดการเรยี นการสอนโดยได้รบั ความรว่ มมือจาก สพฐ. และ สสวท. ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ตั้งแต่ระดับ ป.1-ป.6 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จัดการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรการจัดการศึกษาขนั พ้ืนฐานฉบบั ปรบั ปรุง 2562 รวมทงั้ เพมิ่ วิชาสาระเพมิ่ เตมิ ที่เนน้ ความรู้ทักษะวชิ าชีพ

3. การเปลี่ยนระบบการออกอากาศจากออกอากาศสดเปน็ บนั ทกึ เทป เพื่อให้ครูปลายทางได้สามารถ เตรียมการสอนได้ลว่ งหนา้ อย่างนอ้ ย 2 วัน 4. การปรับห้องเรียนต้นทางที่ใช้ในการออกอากาศและอุปกรณ์สถานีโทรทัศน์ให้มีความทันสมัย มี การนำ Smartboard และกลอ้ ง Robot มาใช้ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่ายข้ึน ทำใหถ้ า่ ยกิจกรรมการ ทำงานของนักเรยี นได้ท่ัวห้อง โดยไมร่ บกวนสมาธขิ องผ้เู รยี น และเปล่ียนระบบความคมชัดของการออกอากาศ จาก SD(Standard definition) เปน็ HD(High definition) 5. เพิ่มช่องทางการเขา้ ถงึ DLTV โดยเวบ็ ไซต์ แอพพลเิ คชั่น โดยเลือกเขา้ ชมได้ 3 ทางเลอื ก คอื 1) ถ่ายทอดสด (Live Broadcast) 2)เลือกชมรายการย้อนหลัง (On-demand) และ 3) เลือกชมรายการการ เรยี นการสอนลว่ งหน้า ปัจจุบัน สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม อยู่ภายใต้การบริหารจัดการของมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนวังไกลกังวล ประกอบด้วย ห้องบันทกึ รายการ 11 ห้อง หอ้ งสง่ สัญญาณ หอ้ งควบคมุ สญั ญาณ หอ้ งผลติ รายการ การออกอากาศการเรียน การสอนถา่ ยทำจากหอ้ งเรียนจริง แล้วยิงสัญญาณผา่ นทางดาวเทียมระบบ KU-Band สถานีวิทยโุ ทรทัศนก์ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระราชูปถัมภ์ จัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจาก โรงเรียนวังไกลกังวลในรูปแบบการถ่ายทอดสด 1 ช่อง 1 ชั้น มีทั้งหมด 15 ช่องสัญญาณ ด้วยระบบดิจิตอล เรม่ิ จาก 186-200 ดังนี้ ชอ่ ง 186-191 ถา่ ยทอดการเรียนการสอนระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 ชอ่ ง 192-194 ถ่ายทอดการเรยี นการสอนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 ช่อง 195-197 ถ่ายทอดการเรยี นการสอนปฐมวัย อนบุ าล 1-3 ช่อง 198 ถ่ายทอดการเรียนการสอนของวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล ระดับ ปวช. และ ปวส. รวมท้ังการศกึ ษาสายวิชาชพี หลกั สูตรระยะสน้ั และการศึกษาชมุ ชน ช่อง 199 ถ่ายทอดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล นอกจากนี้ยังมีสถาบันอื่นๆ อาทิ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน)

ช่อง 200 ถ่ายทอดการอบรมครูภาษาอังกฤษและครูวิทยาศาสตร์ เพื่อเผยแพร่ความรู้สู่ครู นักศกึ ษา ตลอดทัง้ ประชาชนผู้สนใจท่วั ไป องค์ประกอบหลักของ การศกึ ษาทางไกล 11.ผ.ผเู้ รเู้ รยี ียนน 55.ก.กาารตรติดดิตตอ่ อ่ อองงคคป์ ์ปรระะกกออบบ 22.ผ.ผสู้ สู้ ออนน ระระหหวว่าา่งผงผูเ้ รเู้ ียรยีนน หหลลกั ักขขอองง ผผูส้ สู้ออนนแแลละะ กกาารรศศึกกึ ษษาา สสถถาาบบนั ันกกาารศรศึกกึษษาา ททาางงไไกกลล 44.ก.กาารร 33.ก.กาารร คคววบบคคุมมุ จจดั ดั รระะบบบบ คคุณุณภภาาพพ บบรรหิ ิหาารรแแลละะ บบรริกกิ าารร การส่อื สารผา่ นดาวเทียม (Satellite Communication) การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สายประเภทหนึ่งที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อการ สื่อสารระยะทางไกลและครอบคลุมพื้นที่กว้าง เช่น ส่งสัญญาณจากฟากหนึ่งไปยังอีกฟากหนึ่งของโลก กอ่ ให้เกดิ การสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งกว้างไกลไรข้ อบเขต แม้ในเขตพ้ืนท่ีหา่ งไกล เชน่ บริเวณหุบเขา มหาสมุทร โดยอาจเป็นสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณโทรศัพท์ สัญญาณภาพ เสียง และการเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ต ระหวา่ งประเทศ เป็นตน้

ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมประกอบไปด้วยสองส่วนหลัก คือ สถานีภาคพื้นดิน ( Ground Segment) และสถานีอวกาศ (Space Segment) โดยทีส่ ถานี ภาคพ้นื ดนิ ประกอบดว้ ยสองสถานคี ือ สถานีรับ และสถานสี ่ง ซึง่ การทำงานของทงั้ สองสถานีนม้ี ีลกั ษณะคลา้ ยกนั สถานีภาคพน้ื ดิน มีอุปกรณ์หลักอยู่ 4 ชนิดดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.อุปกรณ์จานสายอากาศ (Antenna Subsystem) มหี น้าทีส่ ่งสญั ญาณและรับสัญญาณจากดาวเทียม 2. อปุ กรณส์ ญั ญาณวทิ ยุ (Radio Frequency Subsystem) มีหน้าทรี่ บั สง่ สญั ญาณวทิ ยุที่ใชง้ าน 3. อุปกรณ์แปลงสัญญาณวิทยุ (RF/IF Subsystem) ประกอบด้วยสถานีส่งสัญญาณและสถานีรับ สัญญาณ โดยด้านสถานีสง่ ถูกเรยี กว่า ภาคแปลงสัญญาณขาขึ้น (Up Converter Part) ซ่งึ ทำหน้าที่แปลงย่าน ความถี่ที่ได้รับมาให้เป็นความถี่ที่ใช้กับงานระบบดาวเทียม จากนั้นส่งสัญญาณที่แปลงความถี่ให้ภาคขยาย สัญญาณ เพื่อขยายให้เป็นสัญญาณความถี่สูง หลังจากนั้นนำส่งไปยังดาวเทียม และเช่นเดียวกันสำหรับด้าน สถานีรับนั้นเรียกว่า ภาคแปลงสัญญาณขาลง (Down Converter Part) ทำหน้าที่คือแปลงสัญญาณที่ได้รับ จากดาวเทยี มไปเป็นความถี่ที่ใช้งาน จากน้นั ส่งตอ่ ให้ภาคแยกสัญญาณ (Demodulator) ต่อไป 4. อุปกรณ์ผสมสัญญาณและแยกสัญญาณ (Modulator/Demodulator) มีหน้าที่แปลงข้อมูลที่ ตอ้ งการส่งผ่านดาวเทียมให้เป็นสญั ญาณคลนื่ วิทยทุ ม่ี ีขอ้ มลู ผสมอยู่ให้นำไปใช้งานได้ ระบบรับสัญญาณ C/KU ดาวเทยี มไทยคม 5,8 1. แบบ C-Band การใช้ดาวเทียมระบบนี้ จะเหมาะกับการใช้งานในประเทศใหญ่ๆ ซึ่งใช้ดาวเทียม 1 ดวง จะสามารถถ่ายทอดสัญญาณได้ท่ัวประเทศ และยังถึงประเทศเพื่อนบ้านใกลเ้ คียงด้วย เนื่องจาก ส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว้าง ทำให้ความเข้มของสัญญาณต่ำ จึงต้องใช้จานขนาดใหญ่ สัญญาณ ภาพจงึ จะคมชัด

2. แบบ KU-band คลน่ื ความถี่จะสูงกว่าความถี่ C-band สัญญาณที่สง่ จะครอบคลมุ พ้นื ที่ไดน้ ้อย เหมาะ สำหรับการส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย ทำให้เสียค่าใช้จ่ายสงู มีปัญหาในการรับสัญญาณภาพขณะฝนตก สาเหตุเนื่องมาจากความถี่ของ KU-Band จะสูงมากเมื่อ ผ่านเมฆฝน ดาวเทยี มไทยคม ดาวเทียมไทยคม ดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนาม ดาวเทียมของโครงการอย่างเป็นทางการว่า “ไทยคม” เพื่อเป็นสัญลักษณ์เชื่อมโยงประเทศไทยกับเทคโนโลยี สื่อสารใหม่ ประเทศไทยมดี าวเทยี มไทยคมท้งั 8 ดวง คือ ไทยคม 1 – 8 ไทยคม 1 ไทยคม 4 ไทยคม 7 ไทยคม 2 ไทยคม 3 ไทยคม 5 ไทยคม 6 ไทยคม 8

หนว่ ยท่ี 2 แนวทางการบรหิ ารการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหท้ ราบแนวทางในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) แนวทางการบริหารการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ประกอบด้วย 3 หัวข้อ คือ 1. ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ➢ กำหนดเป็นนโยบาย หรือจุดเน้นในการดำเนินงานสำหรบั โรงเรียนขนาดเล็ก ของสำนักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาในการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ➢ สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหโ้ รงเรียนสามารถจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ให้มี ประสทิ ธิภาพ ➢ กำหนดใหม้ ีการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ของโรงเรียนในสงั กดั เป็นระบบและต่อเนื่อง 2. ระดบั โรงเรยี น 2.1 การดำเนนิ งานของโรงเรียน ➢ ขน้ั วางแผนการดำเนินงาน ประกอบดว้ ย o แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนินงาน o ศึกษาแนวทางดำเนินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) o โรงเรยี นประเมนิ ตนเองตาม แนวทางดำเนนิ การจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) o นำผลการประเมินตนเองเพื่อกำหนดแผนการดำเนินงาน ➢ ข้นั ขบั เคล่ือนการดำเนนิ งาน ประกอบดว้ ย o จัดประชุมชแี้ จงแผนการดำเนินงานใหท้ กุ ฝ่ายรบั ทราบและเข้าใจตรงกัน o กำหนดปฏทิ ินการดำเนินงาน o ดำเนนิ งานตามปฏทิ ินและแผนท่ีกำหนดไว้

➢ ขั้นสรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน o ประเมนิ ตนเองตามหลงั การดำเนินงาน o รายงานผลการประเมินตนเอง o จัดทำข้อมลู สารสนเทศ ผลการประเมินผล ➢ ข้นั พฒั นางาน 2.2 การเตรียมความพร้อมโรงเรียน ➢ จัดสภาพแวดลอ้ มของห้องเรยี นและโรงเรยี น ➢ จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์การรบั สัญญาณโทรทัศน์ทม่ี ีขนาดเหมาะสมกบั จำนวนนักเรยี นและ หอ้ งเรยี น และถูกตดิ ต้งั ในระดับสายตา ➢ พัฒนาครูให้มคี วามตระหนกั ถึงบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนดว้ ยระบบ (DLTV) เอาใจใส่กำกบั ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน กอ่ นเรยี น ระหว่างเรียน หลังเรยี น ➢ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนมีส่วนรว่ มและตงั้ ใจเรียนรู้ไปพร้อมกบั นักเรียน 2.3 บทบาทหน้าท่ีผู้บรหิ าร ➢ วางแผนการบรหิ ารจดั การอย่างเปน็ ระบบ อำนวยความสะดวกให้การจัดการเรยี นการสอนมี ประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ➢ เปน็ ผ้นู ำด้วยความมงุ่ มนั่ และสรา้ งความตระหนักใหก้ ับครูทกุ ฝา่ ยเห็นความสำคญั และร่วมมอื กันอยา่ งต่อเนื่อง ➢ สง่ เสริมสนบั สนุนให้มีโทรทัศนแ์ ละเคร่ืองรบั สัญญาณดาวเทียมใหเ้ หมาะสมต่อจำนวน นักเรยี นและห้องเรียน และถูกตดิ ตัง้ ในระดับสายตา ➢ จัดหา สง่ เสริม กำกับดแู ลใหม้ ีคมู่ ือครู แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายชั่วโมง ➢ นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลทกุ ห้องอย่างสมำ่ เสมอ 2.4 บทบาทหน้าท่ีครู ➢ จดั สภาพห้องใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนนักเรียน และเอ้ือต่อกิจกรรมการเรียนการสอน ➢ เตรยี มการสอนล่วงหนา้ ทั้งสอ่ื ใบความรู้ ใบงาน ตามที่คูม่ ือครสู อนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม กำหนด และมอบหมายงานใหน้ กั เรยี นเตรียมความพร้อมกับการเรยี นครัง้ ต่อไป ➢ ร่วมจัดการเรียนรไู้ ปพร้อมกบั ครตู น้ ทาง ➢ สรปุ สาระสำคญั ร่วมกับนักเรียนหลงั จากกจิ กรรมการเรียนรู้สนิ้ สดุ แต่ละหน่วย

➢ จัดกจิ กรรมสอนซอ่ มเสริมนอกตารางออกอากาศ เพื่อชว่ ยเหลอื นกั เรยี นที่ไม่บรรลจุ ุดประสงค์ หรอื ให้ความรูเ้ พิ่มเติม 3. การจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ส่คู วามเป็นเลศิ (Best Practices) มีองค์ประกอบสำคญั 3 องค์ประกอบ คอื 3.1 คณุ ภาพผู้เรียน จะดจู ากผลทเ่ี กิดขน้ึ กบั นักเรยี น 10 เรอ่ื ง ดงั น้ี ➢ ความสามารถในการอา่ น เขียน สือ่ สาร และคิดคำนวณ ➢ ความสามารถการคดิ วิเคราะหแ์ ยกแยะ รวมถงึ สามารถอภิปรายแลกเปล่ียนความ คดิ เห็น และแก้ปญั หาได้ ➢ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ➢ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ➢ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ➢ ความรทู้ ักษะพนื้ บาน และเจตคติทีด่ ีต่ออาชพี ➢ คุณลักษณะและคา่ นิยมท่ีดี ➢ ความภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ➢ การยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่าง ➢ สุขภาวะทางร่างกายและจติ ใจ 3.2 กระบวนการบริหารและการจดั การ จะดูจากผลของการบริหารและการจดั การ 9 เรือ่ ง ดังน้ี ➢ เปา้ หมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกิจ สอดคล้องตรงตามความต้องการของท้องถ่ิน นโยบายของรฐั บาล ตน้ สงั กดั และทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของสังคม ➢ การวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาอยา่ งเป็นระบบ ➢ การนำแผนไปปฏิบัติ ➢ การนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ และนำข้อมูลมาปรบั ปรงุ พฒั นา ➢ การบรหิ ารอัตรากำลังและทรัพยากรอย่างเปน็ ระบบ ➢ การพัฒนาหลกั สูตรและกจิ กรรม ใหเ้ น้นคุณภาพผ้เู รียนมีการเชอื่ มโยงวิถีชีวิตจรงิ ➢ สง่ เสริม สนับสนุน ครู ให้มคี วามเชีย่ วชาญ และ จัดใหม้ ชี มุ ชนการเรยี นรู้ ➢ จัดสภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อตอ่ การเรยี นรู้มคี วามปลอดภัย

➢ จัดใหม้ รี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพเหมาะสมกับบรบิ ทของ สถานศกึ ษา 3.3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ดูผลของกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั 8 เรือ่ ง ➢ จดั กิจกรรมที่เนน้ ให้ผเู้ รยี นเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ ➢ มีแผนการจดั การเยนรทู้ สี่ ามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง ➢ มรี ปู แบบการจัดการเรียนร้สู ำหรับผู้ท่ีต้องการความช่วยเหลอื ➢ ผู้เรยี นไดฝ้ กึ ทักษะ แสดงออก แสดงความคิดเห็น มีการสรุปองค์ความรู้ ➢ มีการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถน่ิ ➢ การบริหารจดั การนักเรียนเชงิ บวก ➢ การตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพอย่างเป็นระบบ ➢ การแลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์ เพื่อปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้คร้ัง ตอ่ ไป

หน่วยท่ี 3 แนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทียม DLTV วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื เปน็ แนวทางการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กรอบแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มีรายละเอียดดงั นี้ 1. กรอบแนวทางในการดำเนินการนิเทศภายในการจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม (DLTV) 2. กรอบแนวทางในการดำเนินการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) โดยสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาหรอื หนว่ ยงานตน้ สังกัด 3. กรอบแนวทางในการดำเนินการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) โดยมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 4. แบบการนิเทศติดตาม และประเมนิ ผลการดำเนนิ งานการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)

การดำเนนิ งาน การนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) มี เปา้ หมายหลกั คือ การแนะนำ ช่วยเหลอื ให้สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ การจดั การเรียนการสอน โดยใช้ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และนำผลการนิเทศ ติดตาม ไปใช้ในการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาได้อย่างต่อเน่อื ง ซึ่งเปน็ การดำเนนิ งานทต่ี ่อเน่ืองสัมพนั ธก์ ัน โดยมีขอบเขตการดำเนนิ งาน จำแนกเป็น 1) การนิเทศภายในของสถานศึกษา 2) การนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล โดยสำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษา มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ซึง่ มรี ายละเอยี ด การดำเนนิ งาน ดังต่อไปนี้



กระบวนการนเิ ทศภายใน กระบวนการนิเทศภายใน การจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) มี ขั้นตอนการดำเนนิ การ ดงั นี้ ขน้ั ท่ี 1 ประสานความรว่ มมือ และสรา้ งข้อตกลง 1) ประสานความร่วมมอื ในการสร้างทมี งานนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล และดำเนนิ การแตง่ ต้งั คณะกรรมการนิเทศ ติดตามผล ซง่ึ ประกอบด้วย ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครวู ชิ าการ หรอื คณะกรรมการ สถานศกึ ษา 2) กำหนดเป้าหมายรว่ มกนั ระหว่างคณะกรรมการนเิ ทศ คณะครูและบคุ ลากร ในการดาเนนิ งานใน สถานศกึ ษา 3) วิเคราะห์ข้อมลู ผลการประเมนิ ตนเองของโรงเรียน เพื่อนำมาใช้ประกอบการประเมินภายใน เกี่ยวกบั การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ในแต่ละครง้ั 4) กำหนดแผน ปฏทิ ินการนิเทศ ตดิ ตามผลการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในแตล่ ะ ภาคเรยี น ข้นั ที่ 2 สรา้ งความตระหนัก ประชุมช้ีแจงแนวทางการดำเนินงาน และเครื่องมือที่นาไปใชใ้ นการนเิ ทศภายใน ให้คณะกรรมการ นิเทศภายใน คณะครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจท่ีตรงกัน ก่อนการ ดำเนินงาน ขั้นที่ 3 ดำเนนิ การนิเทศ 1) โรงเรยี นแจ้งปฏทิ ินการนิเทศภายในแก่คณะครูและบุคลากร 2) คณะกรรมการนเิ ทศภายในดำเนนิ การนเิ ทศภายในตามแผนและปฏิทินท่ีกำหนด 3) คณะกรรมการนิเทศภายในสะทอ้ นผลการดำเนนิ การนเิ ทศแกผ่ ้รู ับการนเิ ทศ ขน้ั ท่ี 4 สรุปและรายงานผลการตดิ ตาม และประเมินผล 1) คณะกรรมการนิเทศภายใน สรปุ ผลการดำเนินงานนิเทศ ตดิ ตาม 2) รวบรวมผลการนิเทศภายใน แล้วจดั กระทำขอ้ มลู เป็นสารสนเทศ เพ่ือรายงานผลการติดตามตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั (สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา /สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน) เพื่อรายงาน ต่อไปยังมลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

ข้ันท่ี 5 การพฒั นาการนิเทศภายใน 1) ประเมนิ ผลการนเิ ทศภายใน 2) นำผลการนเิ ทศภายใน มาใช้ในการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) อย่างต่อเน่ือง เครื่องมือนิเทศ ติดตามประเมนิ ผล 1. แบบประเมนิ ตนเอง 2. แบบนเิ ทศภายในตามมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม 3. แบบรายงานผลการนเิ ทศภายใน ตามมาตรฐานการจดั การเรียนการสอนโดยใชศ้ กึ ษาทางไกล ผ่าน ดาวเทยี ม (DLTV) การนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน โดยสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา กรอบแนวทางในการดำเนินการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การจัดการศึกษาทางไกล ผ่าน ดาวเทยี ม (DLTV) ในระดับนี้เปน็ การชว่ ยเหลอื สง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษาสามารถขบั เคลื่อนการพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนการสอนดว้ ยการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) โดยมีกรอบการดำเนินงาน ดังนี้ 1. วางแผนการดำเนินงาน แต่งตง้ั คณะทำงาน ศึกษาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตาม จัดทาแผนและปฏิทนิ การติดตาม และประเมินผล พร้อมทงั้ จดั ทาระบบการรายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม ทางระบบออนไลน์ ให้ สอดคลอ้ งตามท่ีมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้กำหนดไว้ 2. ขบั เคลือ่ นการดำเนนิ งาน โดยผู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 3. ดำเนนิ งานนิเทศ ติดตามและประเมินผล 4. สรปุ และรายงานผลการนิเทศและตดิ ตามผล โดยรวบรวมขอ้ มลู ผลการนิเทศ สรุปรายงาน ให้ มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ และสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน ตามปฏิทนิ และชอ่ งทางทก่ี ำหนด 5. พัฒนาการนิเทศและตดิ ตามผลอย่างต่อเน่ือง โดยนำสารสนเทศท่ีไดจ้ ากการนิเทศ ติดตามผลการ ดำเนนิ งานการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย แลว้ สะท้อนสภาพปญั หา การดำเนนิ งาน พรอ้ มข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อนำไปสกู่ ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และการพัฒนางาน

กระบวนการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล กระบวนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ใน โรงเรียนปลายทาง โดยสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา/หน่วยงานตน้ สังกัด ใช้กระบวนการแบบภาคีเครือข่าย โดยมีขัน้ ตอนการดำเนนิ การ ดังน้ี ขั้นที่ 1 ประสานความรว่ มมือ และสร้างขอ้ ตกลง 1) ประสานความรว่ มมือในการสร้างทีมงานนเิ ทศ ตดิ ตามผล และดำเนนิ การแต่งต้ังคณะนเิ ทศ ติดตามผล ซ่งึ ประกอบดว้ ย

- ผบู้ ริหารการศึกษาของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา หรือผ้ทู รงคุณวฒุ ทิ ่ีได้รับมอบหมาย - ศึกษานเิ ทศก์ของสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา - ตวั แทนผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในโรงเรียนทจ่ี ัดการเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV 2) ลงนามข้อตกลงรว่ มกนั กบั ภาคีเครือขา่ ย ได้แก่ สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาและโรงเรียนใน โครงการฯ เพ่ือกำหนดเปา้ หมายในการดำเนินงานรว่ มกนั 3) วิเคราะห์ขอ้ มูลผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา เพ่ือนาใชป้ ระกอบการตดิ ตาม และ ประเมินผลการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ในแต่ละครัง้ 4) กำหนดแผน ปฏิทินการนเิ ทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในแตล่ ะ ภาคเรยี น ขั้นที่ 2 สร้างความตระหนัก ประชุมช้ีแจงแนวทางการตดิ ตามและประเมนิ ผล และเครอื่ งมอื ทนี่ ำไปใชใ้ นการดำเนินงาน ให้คณะ ติดตามและประเมนิ ผล ให้โรงเรยี นได้รบั ทราบ เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในการดำเนนิ งานการติดตามและ ประเมินผลการจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) กอ่ นการดำเนนิ งาน ขัน้ ท่ี 3 ติดตาม และประเมนิ ผล 1) สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา แจ้งแผนและปฏทิ นิ การดำเนินการติดตาม และประเมินผลให้ โรงเรยี นในโครงการทราบ 2) คณะนิเทศ ตดิ ตามผล ที่ได้รบั การแต่งตั้งจากสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ดำเนนิ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล โรงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายตามแผนและปฏิทนิ ทกี่ ำหนด 3) คณะนิเทศ ติดตามผล สะท้อนผลการติดตามและประเมินผลแกโ่ รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมายทราบ ขัน้ ท่ี 4 สรุปและรายงานผลการตดิ ตาม และประเมินผล 1) คณะนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล สรุปการดำเนินงานนิเทศ ตดิ ตาม เพ่ือรายงานต่อสำนกั งาน เขตพ้นื ที่การศึกษา / หนว่ ยงานตน้ สังกดั 2) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาจดั ประชมุ คณะนิเทศ ติดตามผล เพอ่ื รวบรวมผล การตดิ ตาม และ ประเมนิ ผล แล้วจดั กระทำข้อมลู เปน็ สารสนเทศ เพื่อแจ้งผลการตดิ ตามแก่มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โรงเรยี นที่เปน็ กล่มุ เป้าหมาย และผู้เกย่ี วข้องทราบ

ข้นั ที่ 5 แลกเปลย่ี นเรียนรูใ้ นระบบออนไลน์ 1) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา สรปุ รายงานผลการนิเทศ ติดตามผลการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม เพ่ือเผยแพรใ่ ห้หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องทุกระดบั นำไปใช้ในการพฒั นาต่อไป 2) ใชส้ ารสนเทศผลการตดิ ตาม และประเมินผล การจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มากำหนด แนวทางการพัฒนาการตดิ ตาม และประเมนิ ผล โดยใชห้ ลักการมีสว่ นรว่ มจากทุกฝา่ ยท่เี ก่ียวข้องต่อไป 3) จัดทำข้อเสนอเชงิ นโยบายในการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม และการ พฒั นา การนเิ ทศ ตดิ ตามผล กรอบเคร่อื งมอื นเิ ทศ ติดตามผล 1. แบบติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการจัดการศกึ ษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 2. แบบรายงานผลการตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการจัดการศกึ ษาทางไกล ผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) กระบวนการนิเทศติดตาม และประเมินผล กระบวนการนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้การศกึ ษาทางไกล ผ่าน ดาวเทยี มโดยมูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ใช้กระบวนการแบบผสมผสาน โดยมขี ้ันตอนการดำเนินการ ดังนี้ ข้นั ท่ี 1 วางแผนการนเิ ทศตดิ ตาม และประเมินผล 1) สรา้ งทีมงานท่เี ข้มแข็งและกำหนดบทบาทคณะนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล ประกอบด้วย - ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ี่มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ มอบหมาย - ตัวแทนจากมลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ - ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน - ผูแ้ ทนจากศูนยพ์ ฒั นาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล สำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน - ผู้แทนจากสำนักงานศึกษาธกิ ารภาค ทเี่ ป็นทีต่ ้ังของโรงเรียนในกลมุ่ เป้าหมาย ทจี่ ะนิเทศ 2) วิเคราะห์ขอ้ มูลผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาผลการนิเทศของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา เพื่อกำหนดกล่มุ เป้าหมายและจุดมุง่ หมายในการนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล 3) กำหนดเป้าหมายในการนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้การศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทียม ในแตล่ ะครัง้

4) กำหนดแผน ปฏทิ ินการนิเทศติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในแต่ละภาคเรียน ข้นั ที่ 2 สร้างความตระหนกั กอ่ นการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล ประชมุ ชี้แจงแนวทางการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล และ เคร่ืองมือทนี่ ำไปใชใ้ นการดำเนนิ งานใหค้ ณะนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล และผู้รบั การนิเทศในทุกระดบั ได้ รับทราบเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดย ใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ขน้ั ท่ี 3 สร้างเคร่ืองมอื และส่ือการนิเทศ 1) จดั ทำแนวทางการนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม เพื่อเผยแพร่ให้หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องทุกระดับนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดำเนินงาน 2) จัดทำเครื่องมือและสอื่ การนเิ ทศตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน โดยใชก้ ารจัด การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมเพ่ือเผยแพร่ให้หนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งทุกระดับ นำไปใช้เป็นแนวทางในการ ดำเนนิ งาน 3) กำหนดแนวทางการรายงานผล การนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มและแลกเปลีย่ นเรียนรรู้ ะหวา่ งผู้เกี่ยวข้องในทุกระดับดวั ยระบบ ออนไลน์ ขัน้ ที่ 4 ดำเนินการนิเทศติดตาม และประเมินผล 4.1 นเิ ทศติดตาม และประเมินผลทางตรง 1) มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี มในพระบรมราชปู ถัมภ์ และสำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานประสานสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ท่ีเป็นทีต่ งั้ ของโรงเรยี นกลมุ่ เป้าหมาย ในการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล 2) คณะนิเทศตดิ ตาม และประเมินผล ทไี่ ดร้ ับการแต่งตั้งจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ลงพนื้ ท่นี เิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล ตามแผนและปฏทิ ินท่กี ำหนด 3) คณะนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลใหข้ ้อมูลสะท้อนผลการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลแก่ โรงเรยี น 4.2 นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลดว้ ยระบบออนไลน์ 1) แจ้งปฏิทินการนเิ ทศและชอ่ งทางในการนเิ ทศดว้ ยระบบออนไลน์และช่องทาง ในการ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ระหว่างผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ระดับ 2) ดำเนนิ การนิเทศติดตาม และประเมินผลด้วยระบบออนไลน์

3) สรปุ ผลการนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลและการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในระบบออนไลน์ 4) รายงานผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลและการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ข้นั ท่ี 5 สะท้อนผลการนเิ ทศติดตาม และประเมนิ ผล 5.1 คณะนเิ ทศติดตาม และประเมนิ ผลสรปุ การนเิ ทศตดิ ตาม และประเมินผลทางตรงให้กับมลู นธิ ิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 5.2 ผูร้ ับผดิ ชอบระบบการนเิ ทศตดิ ตาม และประเมินผลดว้ ยระบบออนไลน์ของศนู ย์พัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล สพฐ. รวบรวมผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ดว้ ยระบบ ออนไลน์ แล้วจดั กระทาข้อมลู เป็นสารสนเทศ 5.3 มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มในพระบรมราชูปถมั ภ์ รวบรวมข้อมูลผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ทั้งทางตรงและทางระบบออนไลน์ สรุปเป็นภาพรวมในแต่ละภาคเรยี น เพ่อื สะท้อนผลแก่ ผูเ้ กีย่ วข้องในทุกระดับ ขั้นท่ี 6 สรปุ รายงานผลการนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผล 6.1 มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชปู ถมั ภ์และสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สรปุ รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการเรยี น การสอน โดยใช้ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพือ่ เผยแพร่ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องทุกระดับนำไปใช้ใน การพฒั นางานตอ่ ไป 6.2 วิเคราะหส์ ารสนเทศผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาทางไกล ผ่าน ดาวเทียม และกำหนดแนวทางการพฒั นาการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล โดยเน้นหลักการมีสว่ นร่วมจาก ทกุ ฝ่ายทเี่ กยี่ วขอ้ ง 6.3 จัดทาขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม และการพัฒนาการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล เคร่ืองมือนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล 1. แบบนเิ ทศตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 2. แบบสรปุ ผลการตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

หนว่ ยที่ 4 วสั ดอุ ุปกรณข์ องระบบรบั สญั ญาณโทรทัศนผ์ า่ นดาวเทียม และการดูแลบำรุงรกั ษาเบ้อื งตน้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั ระบบรับสญั ญาณโทรทัศนผ์ า่ นดาวทยี ม และการดูแล บำรงุ รักษาเบื้องตน้ อปุ กรณต์ ดิ ตัง้ ภายนอก 1. จานรับสัญญาณดาวเทียม จานรับสญั ญาณดาวเทียมที่ส่งมาจากดาวเทยี ม สามารถรับในประเทศไทย ปัจจบุ นั จะมีอยู่ 2 ระบบ คอื 1.1 จานรบั สญั ญาณระบบ C-Band 1.2 จานรบั สัญญาณระบบ KU-Band 2. ขาติดตงั้ จาน รบั สญั ญาณ และอุปกรณก์ ารตดิ ต้ัง ขาติดตง้ั จาน รบั สญั ญาณ ส่วนใหญ่ทีใ่ ชง้ านสำหรบั จานรับสญั ญาณ KU - Band จะมี 2 ประเภท คอื ประเภทติดต้งั ประจำท่ี และแบบทสี่ ามารถนำเคลอ่ื นท่ไี ปได้ใช้กับจานขนาดเล็ก ขาสำหรับติดตั้งประจำที่ ท่ีใช้งานกนั ท่ัว ๆ ไปมีให้เลือก 2 แบบ คอื 2.1 ขาตงั้ บนพ้นื ราบ ซ่งึ มคี วามสงู ประมาณ 80 - 120 ซ.ม. มเี สน้ ผ่าศูนย์กลางประมาณ 11/2 นิว้ มฐี านเจาะรสู าหรับใสน่ อ็ ตยึดติดกบั พ้นื 4 รู 2.2 ขาสำหรบั ติดผนงั

เป็นทอ่ เหลก็ ชุบแบบบาง ดดั งอเปน็ มมุ ฉาก 90 องศา ความยาวโดยประมาณดา้ นละ 60 ซ.ม. ดา้ น หนึง่ มีฐานเจาะรสู าหรับยดึ กับผนงั ใสน่ ็อตยดึ 4 รู การตดิ ตงั้ ขาทงั้ 2 ประเภท ตอ้ งใช้ระดับน้ำหรอื เครอ่ื งมอื วัดคา่ องศาให้ขาตง้ั ตรง 90 องศากบั พ้นื โลก จงึ จะไดค้ ่าความแรงและคุณภาพของสัญญาณดี ทีส่ ดุ 3. หวั รับสญั ญาณ LNB (Low Noise Block Down Converter) หัวรบั สญั ญาณ (LNB) คืออุปกรณข์ ยายสญั ญาณรบกวนต่ำ แบง่ ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 3.1 LNB C – Band 3.2 LNB KU - Band ซ่งึ แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คือ 3.2.1 แบบยนู ิเวอรแ์ ซล (Universal) มีคา่ ความถ่ี LO (Local Oscillator) ภายในตวั = 9750-10600 MHz 3.2.2 แบบมาตรฐาน (Standard) มคี า่ ความถี่ LO ( Local Oscillator ) ภายในตัว = 11300 MHz การเลอื กใช้ LNB แบบไหนกับดาวเทยี มใดมสี ตู รดังน้ี ใชค้ วามถีช่ ่องทีต่ ้องการดู เช่น 11635 – ความถี่ LNB กจ็ ะไดค้ า่ ความถกี่ ลาง ( IF : Intermediate Frequency) เพอื่ สง่ ไปยงั เครื่องรับ ซ่งึ ต้องอยู่ในชว่ งความถ่ี 950 - 2150 MHz เท่าน้นั หัวรบั แบบยูนเิ วอร์ แซลมขี ้อดอี ีกอย่างคือสามารถรับความถย่ี า่ นสูง ปจั จบุ นั มโี รงงานผลติ หวั รบั แบบ C - Band และ KU - Band รวมอยู่ในตัวเดยี วกัน (C/KU -Band) ออกมาจำหน่ายชว่ ยให้สะดวกตอ่ การนำไปใช้งาน สามารถใชจ้ าน C - Band รับได้ 2 ระบบในดาวเทียม ดวง เดยี วกนั LNB มีทั้งแบบ 1 ข้ัว และ 2 ข้ัว LNB แบบ 2 ขว้ั จะสามารถใช้กับเครื่องรบั สัญญาณดาวเทียม สอง เคร่ืองพรอ้ มกนั และในกรณีท่ีตอ้ งการเชื่อมต่อกบั เครอื่ งรับสัญญาณมากกว่า 2 เคร่ืองต้องใช้อุปกรณ์ มลั ติ

สวติ ชร์ ่วมด้วย ซงึ่ อุปกรณม์ ลั ติสวติ ช์นเ้ี ปน็ อปุ กรณส์ ำหรับกระจายสัญญาณ จากจานดาวเทยี มดวงเดียวไปยงั เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมหลายเคร่อื ง เพ่ือให้สามารถรบั ชมไดพ้ ร้อม ๆ กันอย่างเปน็ อิสระตอ่ กัน 4. สายนำสัญญาณโคแอคเชียล ชนิด RG6/U Outdoor (ใชภ้ ายนอกอาคาร) - สาย RG6 เปน็ สายกลมมีขนาดประมาณ 6 mm RG6 = Radio Guide หมายถงึ สายนำสญั ญาณ วทิ ยุ /U คอื Utility หรอื UNIVERSAL หมายถึงการใชง้ านท่วั ไป ท่เี ราใชร้ ่วมกับจานดาวเทียมจะทำหน้าท่ีอยู่ 2 อย่างด้วยกัน คอื 1) นำสญั ญาณความถี่คลน่ื วิทยุ 2) นำไฟฟา้ กระแสตรงจา่ ยไปในสายให้วงจรหัวรบั สัญญา (LNB) - ตวั นำสัญญาณแกนกลาง Core - ฉนวนแกนกลาง Dielectric Insulator - ชัน้ ป้องกนั สญั ญาณ Shield Bonded Aluminum Foil Shield (แผ่นบาง) - ช้ันป้องกันสัญญาณ Aluminum Braided Shield (สายถัก) - ช้ันฉนวนเปลอื กหุม้ (Jacket) – PVC 5. หวั ต่อ แบบ F-type หัวตอ่ (Connector) แบบ F-type แบง่ ตามการเขา้ หัวได้ 3 ประเภท 5.1 หัวตอ่ F-type แบบอัด เป็นหวั ตอ่ F - type ท่ีนยิ มใชภ้ ายนอกอาคาร ส่วนทีต่ ่อเชื่อมกบั LNB หรอื กบั ขั้วต่อทเี่ ชื่อมต่อภายนอกอาคาร มีความแขง็ แรงทนทานเชือ่ มต่อกับอุปกรณไ์ ด้ แน่นสนทิ การใชง้ าน ตอ้ งใช้คีมเขา้ หวั F - type ชนดิ อัด (Compression Tool) 5.2 หัวตอ่ F - type แบบบีบ / ย้า เปน็ หัวตอ่ F - type ท่ีใชไ้ ด้ทง้ั ภายนอกและภายในอาคาร การ ใช้งานต้องใช้กบั คมี เข้าหวั ชนดิ บีบ (Coax Crimp Tool) หรือคมี ย้าหวั F-type RG6

5.3 หัวต่อ F - type แบบเกลยี ว และขอ้ ต่อกลาง เป็นหวั ตอ่ ที่อาคาร นยิ มใชง้ านภายในหรืองาน เชื่อมต่ออุปกรณท์ ่วั ๆ ไป ไม่ตอ้ งการเนน้ คณุ ภาพของสญั ญาณมากนัก การใช้งานสามารถใช้มอื หมนุ เกลียวเข้า กับสาย RG6 ได้ทันที และอาจใชค้ มี ปากจง้ิ จกชว่ ยดนั เข้ากับอปุ กรณ์ เพ่ือให้เกลียวแนน่ กระชบั พอประมาณ 6. กิ๊ฟตอกสาย RG-6 (cable clip) สำหรับใช้ยึดสาย RG6 ใหต้ ิดแนบกบั ผนัง จากหวั รับสัญญาณ LNB มายัง Multi-switch หรือเคร่ืองรบั สญั ญาณดาวเทียม 7. เทปพนั สายชนดิ ละลายกันนา้ / บชู ยาง 8. สายรัดพลาสติก(Cable Ties) อปุ กรณ์สำหรบั ตดิ ต้ังภายใน 1. อุปกรณข์ ยายสญั ญาณดาวเทยี ม (IN Line Amp) เปน็ อปุ กรณ์ขยายสัญญาณระหว่างหวั รับสัญญาณ (LNB) และเครอื่ งรบั 2. Multi switch ทำหนา้ ท่ีเป็นสวติ ช์ ตดั ต่อแรงไฟ 3. DiSEqC Switch (Digital Satellite Equipment Control) คือ อุปกรณ์ทท่ี ำหน้าที่เป็นสวิตซต์ ัดตอ่ เพ่ือเลอื กสัญญาณจากหัวรบั สญั ญาณดาวเทียม (LNB)

4. Power pass / splitter เปน็ อุปกรณท์ ท่ี ำหน้าท่แี ยกสัญญาณจากหัวรบั สัญญาณดาวเทียม 5. เครอ่ื งรบั สญั ญาณดาวเทยี ม / Remote เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม (Satellite Receiver) คอื เครื่องรับสญั ญาณดาวเทียม เครื่องรบั สญั ญาณดาวเทียมแบง่ ตามประเภทของสญั ญาณทีร่ ับ-ส่ง ได้ 2 ประเภท 1) เครื่องรับสัญญาณจานดาวเทียมระบบ Analog ภาพท่ีได้จะไม่ชดั คลา้ ยสายอากาศทีวที ่ีภาพไม่ชดั (ปัจจุบันเครื่องรบั ชนิดนไี้ ม่มวี างขายในท้องตลาดแล้ว) 2) เคร่อื งรบั ดาวเทียมระบบ Digital เปน็ เครือ่ งรับดาวเทียมทรี่ ับสัญญาณจากดาวเทยี มท่ีส่งสญั ญาณ แบบดจิ ติ อล ให้เป็นภาพและเสียงที่สมบูรณแ์ บบ ท้ังระบบภาพและเสยี ง 6. สายสัญญาณ HDMI /สายสญั ญาณ AV 6.1 พอร์ต HDMI ย่อมาจาก High Definition Multimedia Interface ระบบการเชื่อมต่อสัญญาณ ภาพและเสียงระบบดิจติ อลไว้ในสัญญาณเพียงเสน้ เดียว จะทาใหภ้ าพมีความคมชดั มีความละเอียดสูง และให้ เสียงรอบทศิ ทาง ทสี่ มบูรณ์แบบท่สี ุด ประเภทของสาย HDMI ปัจจุบนั สาย HDMI มที ง้ั หมด 5 ประเภท ได้แก่ 1) Standard Speed HDMI เปน็ สาย HDMI ระดบั มาตรฐาน 2) Standard Speed Automotive 3) High Speed HDMI เปน็ สาย HDMI ระดับสงู 4) Standard Speed HDMI with Ethernet 5) High Speed HDMI with Ethernet 7. พอร์ต Composite หรือพอร์ต AV COMPOSITE VIDEO สายสญั ญาณภาพ เรียกว่าสาย AV (Audio- Video) หรอื RCA (Radio Corporation America) เป็นพอร์ตสำหรับเชอื่ มต่อเพื่อสง่ สัญญาณภาพและเสียง มีช่องรับสญั ญาณ 3 ชอ่ ง แยกตามสีขาว, เหลอื ง, แดง โดยมกี ารแยกสญั ญาณภาพ ตามสตี ่าง ๆ ดงั น้ี

1. สเี หลอื งจะเป็นสายนำสัญญาณภาพ ทร่ี วมสญั ญาณความสวา่ ง (Y = Luminance) กับสัญญาณสี (C = Chrominance) 2. สขี าวจะใช้แทนสญั ญาณเสียงแบบอนาล็อก ข้างซ้าย (L) 3. สีแดงจะใช้แทนสัญญาณเสียงแบบอนาล็อก ข้างขวา (R) เครือ่ งมือสำหรับการตรวจสอบและดูแลรักษา 1. ประแจปากตาย /ประแจแหวน # 10 12/ประแจเลอ่ื น /ประแจบล็อก 2. ประแจบล็อก 3. ไขควง / ไขควงวัดไฟฟ้า / มลั ตมิ เิ ตอร์ / คีมปอกสาย RG6 / คีมเขา้ หวั F-type 4. สว่านชนดิ เจาะคอนกรตี / ดอกเจาะคอนกรีต / คอ้ น 5. เขม็ ทิศ / เครื่องมือวัดมมุ / เคร่ืองมือวัดองศา (ระดบั น้ำ) ข้ันตอนการติดตั้งจานและเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทยี ม 1. สำรวจสถานทีต่ ดิ ต้งั ทางกายภาพ ต้องไม่มตี ้นไม้ เสาไฟแรงสงู หรอื สง่ิ ก่อสรา้ งต่างๆ ท่ีบังหนา้ จาน และห่างจากเครื่องรบั ไมเ่ กนิ 30 เมตร 2. ตดิ ตัง้ ขายึดจาน ให้ไดม้ ุม 90 องศา 3. ประกอบจานเขา้ กบั ขายึด หันหน้าไปทางทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ ใช้เครื่องมือวัดมุม ตั้งค่ามุมตาม ตาราง 4. ประกอบ LNB เขา้ กบั เมาท์ยดึ ทห่ี น้าจาน โดยหมนุ ตัว LNB ใหเ้ ชอ่ื มต่อ F-type ทีต่ ำแหนง่ 4 นาฬกิ า จากนั้นปรบั ระดับความแรงของสญั ญาณอีกคร้งั ตอนทดสอบ 5. การปรบั แต่งจาน ให้มีความแรงของสญั ญาณไม่น้อยกวา่ 90 เปอร์เซน็ และคุณภาพไม่น้อยกว่า 70 เปอร์เซ็น 6. การทดสอบสัญญาณ 7. การตง้ั ค่าเครอื่ งรับสัญญาณต่อเข้ากับเคร่ืองรบั โทรทัศน์ โดยใชส้ าย HDMI เปิดเคร่ืองและหา สญั ญาณทีด่ ีท่ีสดุ 8. พันเทปละลายกนั นำ้ ท่ีข้วั LNB เพือ่ กันนำ้ ไหลย้อนเขา้ LNB

การอัพเดตซอฟท์แวร์และระบบ OTA ระบบ OTA (Over the air) หมายถึงการส่งข้อมูลช่องความถ่ี สู่เคร่ืองรับสัญญาณ ซ่ึงเคร่อื งรับ สญั ญาณต้องมซี อฟท์แวรข์ องเครอ่ื งใหร้ องรับระบบ OTA โดยเฉพาะ ข้อมูลทส่ี ่งผ่าน OTA มี 3 ประเภท 1. ความถ่ชี ่องรายการที่มีการเปล่ียนแปลง 2. ซอฟท์แวร์ใหม่ๆ 3. ข้อความหรือรปู ภาพ ผู้ผลิตเครอ่ื งรับสัญญาณ จะส่งขอ้ มลู ผา่ นระบบ OTA ในกรณตี า่ ง ๆ ดังนี้ 1. กรณชี อ่ งรายการ ย้าย/เปล่ยี นความถ่ี (Channel Edit) 2. กรณมี ีช่องรายการใหม่ ๆ เพ่มิ ข้นึ 3. เพิ่มเติมฟังกช์ ่ันใหม่ใหก้ ับเคร่ืองรับสัญญาณ ระบบ OTA มี 2 แบบ 1. อัพเดตเฉพาะ Data 2. อพั เดตทั้งหมด All Update ข้อควรระวังสำหรบั การติดต้ังเคร่อื งรบั สัญญาณดาวเทียมท่มี รี ะบบ OTA - เครือ่ งไม่สามารถทจ่ี ะทำการ OTA ได้ - OTA ได้ แต่ไม่สำเรจ็ - OTA วนทกุ ๆครง้ั ทีเ่ ปดิ เคร่ืองใหม่ จากท่กี ล่าวมาอาจเปน็ เพราะผ้ตู ิดตั้งไม่ทราบข้อมูลการติดตัง้ ทางเทคนคิ ของเครื่องรบั ย่ีห้อนัน้ ๆ ดงั น้นั ผู้ตดิ ต้งั ตอ้ งทราบว่าใช้ความถ่ีเทา่ ใด จงึ จะทำให้รบั สญั ญาณไดด้ ที ีส่ ดุ การบำรุงรกั ษาและแกป้ ัญหาเบอ้ื งต้น ปจั จบุ ันการรบั สัญญาณดาวเทียมได้เปลย่ี นจากดาวเทยี มไทยคม 5 เปน็ ดาวเทียมไทยคม 8 ทำให้ บรรดาทีวที ีใ่ ชจ้ านรับสัญญาณดาวเทยี มแบบ KU - Band มปี ัญหาในการรับสัญญาณดาวเทยี ม จะแสดงผล ท่ี หน้าจอเคร่ืองรบั โทรทศั น์ “ไม่มสี ญั ญาณ” 1. ตรวจสอบการเสียบสายไฟเครอื่ งรบั โทรทัศนแ์ ละเครื่องรับสญั ญาณดาวเทียม เสียบท่อี ยปู่ ลก๊ั ไฟฟ้า หรือไม่ 2. ตรวจสอบสายสัญญาณ การเชอ่ื มต่อจากเครื่องรับสญั ญาณดาวเทียม (receiver) กับเครอ่ื งรับ โทรทัศน์ เช่น สาย HDMI หรอื AV

3. ตรวจสอบพอร์ตทวี ีท่ีใช้เชอ่ื มต่อสายสัญญาณดาวเทียมจากเครื่องรบั สญั ญาณดาวเทียม (receiver) โดยกดปมุ่ input/source ของรโี มตทวี ี เพอ่ื เลือกพอร์ตท่ีสายสญั ญาณดาวเทยี มเสียบอยู่ เช่น พอรต์ HDMI หรือ AV 4. เปิดทวี ีเพือ่ ตรวจสอบเคร่อื งรับสัญญาณว่าใชง้ านไดป้ กติหรือไม่ หากเปิดเครื่องแล้วมี logo เครอ่ื งรบั สญั ญาณดาวเทียมปรากฏหนา้ จอทวี ี แสดงวา่ เคร่ืองรับสญั ญาณใช้งานได้ปกติ 5. ตรวจสอบคุณภาพสัญญาณ โดยกดปุม่ info ท่รี โี มทเคร่ืองรบั สัญญาณดาวเทยี ม (receiver) - ในกรณที ี่มีสัญญาณมาจากหัวรับสัญญาณ LNB จะแสดงแถบความแรงสัญญาณ ไม่ต่ำกว่า 80 % และถ้ารับสญั ญาณภาพ - เสยี งได้ ตอ้ งมีแถบคุณภาพสญั ญาณไมน่ ้อยกวา่ 60 % - ในกรณที ไ่ี ม่มีสัญญาณภาพมาจากหัวรบั สัญญาณ (LNB) จะแสดงแถบความแรงของหวั รบั สัญญาณ แตจ่ ะไม่แสดงแถบคุณภาพสญั ญาณทร่ี บั ได้ ต้องมีการปรบั แก้ทจี่ านและเครื่องรับสญั ญาณ - ในกรณีที่ไม่มแี ถบคณุ ภาพสัญญาณ ใหต้ รวจสอบการเชื่อมตอ่ หวั ต่อ f-type ที่เครื่องรบั สญั ญาณ ดาวเทียม และ LNB 6. ตรวจสอบหวั รับสญั ญาณ LNB ว่าเปน็ แบบ UNIVERSAL หรอื ไม่ ความถี่ LNB 9.75 / 10.60 GHz 7. ตรวจสอบตำแหนง่ การตดิ ตงั้ จานดาวเทียม ต้องไม่มีสิ่งกีดขวางสัญญาณ รวมท้ังตรวจสอบมมุ กวาด มมุ กม้ มมุ เงยของจานดาวเทียม และขาต้ังจานดาวเทียม