Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสืบเนื่องของพระราชพิธีในกฎมณเฑียรบาลสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์

ความสืบเนื่องของพระราชพิธีในกฎมณเฑียรบาลสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์

Published by MBUISC.LIBRARY, 2020-11-02 03:26:25

Description: วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563
โดย พิเศษ ปิ่นเกตุ

Keywords: กฎม,ณเฑียรบาล

Search

Read the Text Version

ความสบื เน่อื งของพระราชพธิ ีในกฎมณเฑยี รบาล สมยั อยุธยาจนถึงสมยั รตั นโกสนิ ทร์ The Continuation of Royal Ceremonies in the Royal Law from the Ayutthaya Period to the Period of Rattanakosin พเิ ศษ ปนเกตุ / Piset Pinket ครูชำนาญการ โรงเรยี นวัดไทรงาม อำเภออทุ ยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา เขต ๑ Professional Level Teacher of Wat Sai Ngam School, Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province at the Phranakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area office 1 รบั บทความ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓ แกไขบทความ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ ตอบรับ ๗ มีนาคม ๒๕๖๓ บทคัดยอ่ กฎมณเฑียรบาล เปน กฎหมายท่ีตราขน้ึ ในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีสวนท่ีเปน กฎหมายขอบังคับ ตาง ๆ ที่ขาราชสำนักตองพึงปฏิบัติ สวนที่เกี่ยวดวยพระราชอิสริยศของเจานายในลำดับขั้นตาง ๆ สวนที่เกี่ยวกับ พระราชกิจจานุกจิ และสวนที่เกี่ยวกบั พระราชพิธีตาง ๆ ในราชสำนัก ซึ่งพระราชพธิ ีท่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลนนั้ มีทั้งสิ้น ๒๖ พระราชพิธี เมื่อสืบคนหลักฐานทั้งในพระราชพงศาวดารฉบับตาง ๆ คำใหการชาวกรุงเกา และคำใหก าร ขุนหลวงหาวัด พบวา พระราชพิธีที่พบหลักฐานวามีการจัดในสมัยกรุงศรีอยุธยาในเอกสารเหลานี้มีจำนวนทั้งสิ้น ๑๖ พระราชพิธี ถึงสมัยรัตนโกสินทรพบหลักฐานวา มีการจัดพระราชพิธีที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลจำนวน ๙ พระราชพิธี และยุคหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พบวา พระราชพิธีที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลที่ยังมีการจัด พิธีสืบเนื่องมาจนปจจุบัน มีจำนวน ๔ พระราชพิธี คือ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีสงกรานต พระราชพิธี ตรียัมพวาย และพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ และยังพบรองรอยของการลดทอนและเพิ่มเติม รายละเอียดพระราชพิธมี ากกวาที่ปรากฏในกฎมณเฑยี รบาล คำสำคัญ : กฎมณเฑียรบาล พระราชพิธีสมัยกรงุ ศรีอยุธยา พระราชพิธสี มัยรัตนโกสนิ ทร Abstract The royal law was enacted during the reign of King Borommatrailokkanat. There’re the various laws and regulations that the courtier must perform, the order of dynasty's ranks, the royal duties and the twenty-six royal ceremonies appeared in the royal court. When searching the evidence in various royal chronicles and the testimony of the Ayutthaya people in the past and the testimony วารสารวชิ าการอยุธยาศึกษา I ปที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถนุ ายน ๒๕๖๓ I ๗

of KhunLuang Ha Wat. It revealed that there’re the evidence were found, namely the total sixteen royal ceremonies organized in the Ayutthaya period in these documents. In Rattanakosin period, there’re nine royal ceremonies organized and appeared in the royal law. After the revolution, there’re four royal ceremonies appeared namely the coronation ceremony, Songkran ceremony, the ceremonial Triyumpwai and the royal ploughing ceremony. The vestiges about decreasing in the royal ceremonies and more adding the royal ceremonies' details than appearing in the royal law were still found. Keywords : Royal law, Royal ceremonies in Ayutthaya period, Royal ceremonies in Rattanakosin period ความสำคญั และภูมิหลงั ของพระราชพิธีในสถาบันพระมหากษัตริย์ คนไทยมสี ถาบันพระมหากษัตริยเ ปน ศนู ยรวมใจมาชานานนับตงั้ แตอดีตตราบเทาปจจุบนั ซ่งึ การจดั พิธีตาง ๆ ในราชสำนักนั้น เรียกวา พระราชพิธี ไดมีปรากฏหลักฐานนับแตอดีตมา พระราชพิธี หมายถึง เปนงานที่ พระมหากษัตริยไดทรงพระกรุณาใหจัดขึ้นตามลัทธิประเพณีเพื่อความเปนสวัสดิมงคลของประเทศและประชาชน หรือเพื่อความเปนสวัสดิมงคลแกสิริราชสมบัติ พระบรมราชวงศและพระองคเอง หรือเพื่อนอมนำใหระลึกถึง ความสำคญั ในทางพระศาสนา หรือเพอื่ สำแดงความกตญั ธู รรมและระลกึ ในพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย ในรัชกาลกอ นๆ ตลอดจนพระบรมราชบรู พการีท่ีไดทรงกระทำคุณประโยชนแ กประเทศชาติประชาชน (หมอมทวีวงศ ถวัลยศักดิ์, พลตรี, ๒๕๑๐, หนา ๒) ดังนั้น พระราชพิธีจึงเปน พิธีกรรมที่เก่ียวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริย มิอาจ แยกจากกนั ได ในสมัยโบราณน้นั ทา นถือวาถาไดมีการพระราชพธิ ีสักเดือนละครง้ั ก็จะบังเกดิ ความเปน สิริมงคลแกบานเมือง (หมอ มทวีวงศถ วัลยศกั ด์ิ,พลตร,ี ๒๕๑๐, หนา ๒) ดวยเหตนุ ้ี พระราชพิธจี งึ มคี วามสำคญั ยิ่ง ซ่ึงมีท้งั พระราชพธิ ที ีจ่ ัดเปน ประจำทกุ ป และพระราชพิธีทจ่ี ดั ขนึ้ เปนครง้ั คราวตามวาระโอกาสท่สี ำคัญ หลักฐานที่ปรากฏเกี่ยวกับพระราชพิธีอันเกี่ยวของกับพระมหากษัตริยไ ทยนั้น ปรากฏตั้งแตสมัยสุโขทัยเปน ราชธานี ดังขอความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ดานที่ ๓ บรรทัดที่ ๑๙-๒๒ กลาววา “..วันเดือนดับเดือนเต็มทานแตง ชางเผือกกระพัลยาง เที้ยรยอมทองงา..ขวา ชื่อรูจาครี พอขุนรามคำแหงขึ้นขี่ไปนบพระ..อรัญญิกแลวเขามา..” (ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษก เลม ๓, ๒๕๔๒, หนา ๒๐-๒๑) จากศิลาจารึกหลักที่ ๑ จะเห็นไดวา ในสมัยสุโขทัยนั้น พระมหากษัตริยไดป ระกอบพระราชพิธีอันเกี่ยวเนื่อง กับพระพุทธศาสนา โดยศิลาจารึกกลาววา ในวันเดือนดับเดือนเต็ม คือวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำและแรม ๑๔ ค่ำ พอขุนรามคำแหงไดโปรดเกลาฯใหแตงชางเผือกชื่อ รูจาครี ดวยเครื่องประดับทองคำ แลวเสด็จพระราชดำเนิน บนหลังพระคชาธารน้นั เพ่อื ทรงนมัสการพระทเี่ ขตอรญั ญิก อันเปนพทุ ธสถานนอกเมอื งสุโขทัย แสดงใหเห็นวา สถาบัน พระมหากษัตริยนับแตอดีตมา จำเปนตองประกอบพระราชพิธีตางๆเพื่อเปนแบบอยางแกไพรฟาในการแสดงความ เคารพตอ ศาสนา เปนการแสดงพระบารมีใหป ระชาชนไดเห็นและยงั เปน การสรางขวญั กำลังใจแกประชาชน พระราชพธิ ี จึงเปนส่งิ ทแ่ี ยกไมออกจากสถาบนั พระมหากษตั ริย ๘ I วารสารวชิ าการอยุธยาศึกษา I ปที่ ๑๒ ฉบบั ท่ี ๑ มกราคม – มถิ ุนายน ๒๕๖๓

เมื่อถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี ไดมีการจัดระเบียบการปกครองใหสถาบันพระมหากษัตริยดำรง ความสำคัญสูงสุด มีพิธีกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริยมากมาย มีการผสมผสานความเช่ือ และพธิ กี รรมทไ่ี ดรับอทิ ธพิ ลจากศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธและความเชอื่ พน้ื เมือง หลอมรวมเปนระเบยี บพิธีกรรมใน ราชสำนักใหแ ตกตางจากพิธีของประชาชนทั่วไป กำหนดข้ึนเปนพระราชพธิ ีทตี่ อ งกระทำทกุ เดอื นหมนุ เวียนไป ซึ่งพระ ราชพธิ เี หลานี้ปรากฏในเอกสารทชี่ อ่ื วา กฎมณเฑยี รบาล นบั เปน หลักฐานสมัยอยุธยาทเ่ี กาแกทส่ี ุดท่รี ะบถุ ึงรายละเอียด พระราชพธิ ีที่จดั ข้ึนในราชสำนักยุคน้นั ความเปน มาของกฎมณเฑียรบาล กฎมณเฑียรบาล หมายถึง กฎรักษาเรือนหลวง มาจากคำวา มณฺฑิร ในภาษาสันสกฤต แปลวาเรือนหรือ เรือนหลวง และคำวา ปาล แปลวารักษา (วินัย พงศรีเพียร, ๒๕๔๘, คำนำ.) เปนหนึ่งในกฎหมายที่ปรากฏอยูใน กฎหมายตราสามดวง ตราข้ึนในรชั กาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในสวนตน ของกฎมณเฑียรบาลวา ศุภมัสดุ ศักราช ๗๒๐ วันเสารเดือนหาขึ้นหกค่ำ ชวดนักษัตรศก ซึ่งปจุลศักราช ๗๒๐ ที่ใหไวเปนไปไมได เพราะตกในป พทุ ธศักราช ๑๙๐๑ ในรชั กาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ และจลุ ศกั ราช ๗๒๐ ไมต รงกบั ปชวดแตตรงกบั ปจอ ประเสริฐ ณ นคร สันนิษฐานวาควรเปนปจ ุลศักราช ๘๓๐ เพราะเปน ปชวดเดียวท่ีสอดคลองกับวันลูกที่ใหไว (วินัย พงศรีเพียร, ๒๕๔๘, หนา ๖๓) ดังนน้ั กฎมณเฑยี รบาลจงึ เปนกฎหมายท่ีตราข้ึนในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ อันเปนยุคท่ี ราชสำนักอยุธยามีการปรับปรุงโครงสรางทางการปกครองขนาดใหญ เพื่อใหสอดคลองกับพระราชอาณาเขตของ อาณาจกั รทีก่ วางขวางข้ึน จำนวนคนในปกครองที่มากข้ึนและจำนวนขนุ นางทเี่ พ่มิ ข้นึ ตามไปดวย จึงจำเปนท่ีตองมีการ จัดระบบการปกครองใหสอดคลอ งตามไปดว ย กฎมณเฑียรบาลมีสวนประกอบสำคัญอยูหลายสวนดวยกัน คือสวนที่เปนกฎหมายขอบังคับตางๆ ที่ขาราช สำนักตองพึงปฏิบัติ สวนที่เกี่ยวดวยพระราชอิสริยศของเจานายในลำดับขั้นตางๆ สวนที่เกี่ยวกับพระราชกิจจานุกิจ และสว นท่เี กี่ยวกบั พระราชพิธตี างๆ ในราชสำนัก เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยากฎหมายตางๆ ถูกทำลายไปพรอมกับการเสียกรุงศรีอยุธยาในพ.ศ.๒๓๑๐ ตอมา ในรัชกาลที่ ๑ เมื่อพ.ศ.๒๓๔๗ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหมีการรวบรวมชำระกฎหมายสมัย กรุงศรีอยุธยาเปน หมวดหมู (สถาบันพระปกเกลา, www.wiki.kpi.ac.th) ปจจุบันเรียกวา กฎหมายตราสามดวง ซึ่งกฎ มณเฑยี รบาลเปนหน่ึงในการรวบรวมชำระครั้งนนั้ คร้นั สมยั รชั กาลที่ ๔ มีการออกประกาศตา งๆ พระราชนิยมในเรื่อง ตางๆ อันมีพระราชประสงคจะใหป ระชาชนปฏิบัติ ประกาศบางเร่ืองวาดว ยความประพฤติของขา ราชการในราชสำนัก เชน ประกาศ จ.ศ.๑๒๑๖ วาดวยเวลากราบทูลขอ ราชการและกิจธุระ ประกาศ จ.ศ.๑๒๑๗ วาดวยหามมิใหเรอื ที่โดย เสดจ็ ตัดกระบวน ดงั นั้นประกาศเหลานี้จงึ ถอื วา เปนกฎมณเฑียรบาลได (สถาบันพระปกเกลา , www.wiki.kpi.ac.th) ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไดมีพระบรมราชโองการเรื่องวิธีเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาทและวิธีถวายบังคม ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีแกพระบรมวงศานุวงศและขาทูลละอองธุลีพระบาท เมื่อคราว พระองคทรงบรมราชาภิเษกครั้งที่ ๒ ในพ.ศ. ๒๔๑๗ และในเวลาตอมาไดมีการตราพระราชบัญญัติขึ้นมารองรับ พระบรมราชโองการเร่ืองนี้ ดงั น้ันพระบรมราชโองการและพระราชบัญญตั ิเร่ืองวธิ ีการเขาเฝา ฯ จึงเปนกฎมณเฑียรบาล อยา งหน่งึ เรียกกันท่ัวไปวา กฎมณเฑยี รบาลวาดวยการเปล่ยี นธรรมเนียมใหม และในสมยั รัชกาลท่ี ๖ มกี ารประกาศใช วารสารวิชาการอยธุ ยาศกึ ษา I ปท่ี ๑๒ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มถิ ุนายน ๒๕๖๓ I ๙

กฎมณเฑียรบาลวาดวยการเสกสมรสแหง เจานายในพระราชวงศ เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๑ และกฎมณเฑยี รบาลวาดวยการสืบ ราชสันตติวงศ พ.ศ.๒๔๖๗ และในสมยั รัชกาลที่ ๗ ไดมกี ารประกาศกฎมณเฑียรบาลวา ดวยการสมรสพระราชวงศแกไข เพิ่มเติม พ.ศ.๒๔๗๕ เปนกฎมณเฑียรบาลฉบับเดียวที่ตราขึ้นสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (สถาบัน พระปกเกลา, www.wiki.kpi.ac.th) แสดงใหเห็นวา กฎมณเฑียรบาลเปนกฎหมายสำคัญที่มีพัฒนาการควบคูกับ สงั คมไทยมาทกุ ยุคทุกสมยั ในบทความของผูเขียน มุงเนนที่จะกลาวถึงเฉพาะพระราชพิธตี างๆที่ปรากฏในกฎมณเฑยี รบาล โดยกลาวถงึ พระราชพิธที พี่ บการบันทกึ ในกฎมณเฑียรบาล วาพระราชพิธเี หลานี้มพี ระราชพธิ ีใดบาง และมีพฒั นาการสืบทอดมาสู ยุคปจจบุ นั เชน ไร พระราชพธิ ที ีป่ รากฏในกฎมณเฑยี รบาลสมยั กรงุ ศรีอยุธยาจากกฎหมายตราสามดวง ในกฎมณเฑียรบาลมีการเอยถึงพระราชพิธีที่จัดขึ้นในเดือนตางๆทั้งสิบสองเดือน โดยกลาววา “....ศุภสวัสดิ เดือน ๕ การพระราชพิธีเผด็จศก ลดแจตร ออกสนาม เดือน ๖ พิธีไพศากขยจรดพระราชอังคัล เดือน ๗ ทูลน้ำลาง พระบาท เดือน ๘ เขาพระวสา เดือน ๙ ตุลาภาร เดอื น ๑๐ ภทั รบทพธิ สี ารท เดือน ๑๑ อาสยชุ แขงเรือ เดือน ๑๒ พิธี จองเปรียงลดชุดลอยโคม เดือน ๑ ไลเรือเถลิงพิธีตรียัมพวาย เดือน ๒ การพิธีบุษยาภิเษกเฉวียนพระโคกินเลี้ยง เดอื น ๓ พิธีธานยะเทาะห เดือน ๔ การสมั พรรษฉนิ ” (กฎหมายตราสามดวง เลม ๑, ๒๕๔๘, หนา ๙๕-๙๖) จากขอความขางตน แสดงวาพระราชพิธีที่ตราขึ้นในกฎมณเฑียรบาลมุงหมายใหจัดขึ้นในทุกเดือน ทั้งนี้เพอื่ ความเปนสวัสดิมงคลแกพระนคร แตเมื่อมีการพิจารณาลงไปในรายละเอียดของกฎมณเฑียรบาลจะพบวา ในกฎมณเฑียรบาลมิไดร ะบุเฉพาะพระราชพิธีท่ตี องจัดเปน ประจำในทกุ เดือนเทานน้ั ยังมกี ารกลา วถึงพระราชพิธีท่ีจัด ขึ้นเปนครั้งคราวอีกดวย ซึ่งพระราชพิธีตางๆมีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ (กฎหมายตราสามดวง เลม ๑, ๒๕๔๘, หนา ๙๙-๑๑๓) ๑. พระราชพิธีออกสนามใหญ จัดในเดือน ๕ ขึ้น ๕ ค่ำ มีการแหขบวนชางขบวนมาและขบวนทหารตาง ๆ สมเด็จพระเจาอยูหัวประทับในพระบัญชรชั้นสิงห เขานายจัดที่นั่งชมลดหลั่นกันไป หลังการเดินขบวนมีการละเลน สมโภช เชน ลอ ชา ง แขงระแทะ ววั ชน กระบอื ชน ชุมพาชน ชางชน คนชน ปรบไก คลชี งโคน มวยปล้ำ เปน ตน ๒. พระราชพิธีจรดพระอังคัล จัดในเดือน ๖ เจาพญาจันทกุมารเปนผูแรกนา และไดอาญาสิทธิ์แทนสมเด็จ พระเจา อยูหัว มสี มโภช ๓ วัน ใหก รมการในกรมนาเขา เฝา ๓. พระราชพธิ ีทลู นำ้ ลางพระบาท จดั ในเดอื น ๗ มพี ระเบญจา ๙ ชัน้ ปก ฉัตรทองนากเงนิ รายลอ ม ขุนนางใช กระออมเงินกระออมทองกระออมนากทูลถวายนำ้ อภเิ ษก ๔. พระราชพธิ ตี ลุ าภาร จดั ในเดือน ๙ ประกอบพระราชพธิ ที ีพ่ ระท่ีนง่ั มงั คลาภิเษก ตัง้ ตราชกู ลางทองพระโรง มีกระบวนแหเสด็จพระราชดำเนินดวยพระที่นั่งราเชนทรยานเวียน ๙ รอบ แลวเสด็จถีบตราชู สมเด็จพระอัครมเหสี เสดจ็ ถบี ตราชูดวย ๕. พระราชพิธีภัทรบท จัดในเดือน ๑๐ มีการทอดเชือกดามเชือก ขุนนางเขาเฝาถวายบังคมและเลี้ยงลูกขุน พรอมถือนำ้ พระพพิ ัฒสัตยา ๑๐ I วารสารวชิ าการอยุธยาศกึ ษา I ปท่ี ๑๒ ฉบบั ที่ ๑ มกราคม – มถิ นุ ายน ๒๕๖๓

๖. พระราชพิธีอาสยุช จัดในเดือน ๑๑ สมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จประทับเรือพระที่นั่งสมรรถไชย สมเด็จ พระอัครมเหสปี ระทบั เรือพระทนี่ ัง่ ไกรสรมุข ใหเ รอื พระทน่ี ่งั ทัง้ สองน้นั พายแขงเสย่ี งทาย ถา เรอื พระทน่ี งั่ สมรรถไชยแพ จะอยูเ ย็นเปนสขุ ถา เรอื พระทน่ี ง่ั สมรรถไชยชนะจะเกดิ ยคุ เข็ญ ๗. พระราชพิธีตรองเปรียงลดชุดลอยโคม จัดในเดือน ๑๒ เสด็จลงเรือพระที่นั่งเบญจา ๕ ชั้น มีเรือขบวน ติดตาม พรอมมีระทำ และหนังใหญสมโภช เมื่อเลี้ยงลูกขุนและฝายในแลว จึงตัดสมอลอยเรือพระที่นั่งไปถึง วัดพุทไธศวรรย แลวจดุ ดอกไมเ พลงิ เลนหนังสมโภช แลวลงเรือกลบั มาทางเกาะแกว ๘. พระราชพธิ ไี ลเรือ สมเด็จพระเจา อยหู ัวทรงพระมาลาสกุ หร่ำ เสด็จทางเรือมาถึงทา ยบานรุนจงึ เสด็จยืนทรง พัชนี ครน้ั ถงึ ประตไู ชยทรงสาว ๙. พระราชพธิ ีเล้ียงดอกไมว งมงคล สมเดจ็ พระอคั รมเหสีแตง กระแจะแปง ดอกไม พระภรรยาเจาพระราชกุมาร พระราชนัดดา แมห ยวั เจา เมอื งจัดแตงหมาก มกี ารใหข ุนนางทำสำรับ ในวันพระราชพิธีเสด็จขึน้ หอพระ เม่ือเสด็จออก ชักมาน พระครูพราหมณถ วายมนตและนำ้ สังขก ลศ เสนาบดีขนุ นางเขาเฝา แลวแจกหมากดอกไมพรอมเล้ียงลูกขุนท้ัง ปวง ๑๐. พระราชพิธสี นานตรียัมพวาย มีการสรงสนานโดยพระครูพราหมณถวายน้ำสังขกลศ และถวายขาวตอก ดอกไม ๑๑. พระราชพิธีเฉวียนพระโค ใหพระโคยืนบนแทนประดับดวยเครื่องประดับทองคำ มีพานทองรองหญา พระราชกมุ ารปอ นหญา มีบายศรีสมโภชพระโค สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงถอื ดอกบัวทอง สมเด็จพระอัครมเหสีทรงถือ ดอกบัวเงิน เดินประทักษณิ รอบพระโค ๙ รอบ ๑๒. พระราชพิธีเบาะพก มีการตั้งโรงพิธี มีราชวัตรฉัตรรายลอม พราหมณทำพิธีสมโภชแมห ยัวพระพี่ ๓ วนั แลวแหแมหยัวพระพี่ดวยพระที่นั่งราเชนทรยานไปยังพระมหาปราสาท สมเด็จพระเจาอยูหัวเขาบรรทมดวยแมหยัว พระพ่ี แลวจึงเสด็จไปโรงพธิ พี ราหมณ พระครพู ราหมณถวายน้ำสงั ขกลด แลวมมี หรสพสมโภช ๑๓. พระราชพิธีอินทราภิเษก มีการสรางเขาพระสุเมรุ เขาอิสินธร เขายุคนธร เขากรวิกและเขาไกรลาส ประดับดว ยรปู สัตวท ้ังปวง มีรูปเทวาประจำทกุ เขา มนี าค ๗ ศรี ษะเกย้ี วพระสุเมรุ ใหม หาดเลก็ ตำรวจเล็กแตงกายเปน เทวดาและอสูรทำการชักนาคดกึ ดำบรรพ พราหมณ ขุนนาง ผลัดกันเขาเฝา ถวายพระพรทกุ วัน แลว พระราชทานรางวัล แกพราหมณแ ละขนุ นาง มมี หรสพสมโภช และโปรยทานรอบพระนครใชเวลาจัดพระราชพธิ ี ๑ เดอื น ๑๔.พระราชพิธีเผด็จศกพิธีลดแจตร ตั้งการพระราชพิธีในพระปรัศซายพระที่นั่ง มีตำหนักอาบน้ำพระสงฆ มกี ารกั้นมา นฝายในฝายหนา พระทนี่ ่ังสรงนำ้ ปกไมพมุ ตนหุมผาแดง มีที่น่งั ตามบรรดาศกั ด์ิลดหลัน่ กันไป มีการสรงน้ำ ทงั้ เชา กลางวนั และเย็น ขนุ นางเตรียมผานุง ๓ สำรบั เพอื่ ลงน้ำตามเสด็จ ๑๕.พระราชพิธีเมือ่ สมเด็จพระอัครมเหสีทรงครรภ ทำพิธีใตตนหมันพระเสื้อเมือง ๗ วัน ขุนนางเขาเฝาถวาย บังคม มีการปลูกเรือนไฟยาว ๕ หองและพระโรงยาว ๗ หอง เมื่อประสูติกาลพระราชกุมารแลว หมอหลวงทำพิธี เสียกบาล เสียขาว เชิญพระกุมารใสพานนวรัตน ขุนนางถวายบังคมพระกุมาร มีการสมโภช ๓ วัน และพระราชทาน ส่ิงของตา งๆ แกผ รู วมพระราชพธิ ี นอกจากนี้ยังมีพระราชพิธีที่ปรากฏแตชื่อแตไมบอกรายละเอียด เชน พระราชพิธีสัมพรรษฉิน บุษยาภิเษก ราชาภิเษก คชกรรม ประถมาภิเษก ประถมกรรม มัทยกรรม อุดมกรรม อาจารยิ าภเิ ษก อปุ ราคาปราบดาภเิ ษก ซึ่งบอก วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถนุ ายน ๒๕๖๓ I ๑๑

วาพระราชพิธีเหลานี้จะมีการสนาน และพราหมณถวายน้ำสังขกลศ มีทอสหัสธารา (กฎหมายตราสามดวง เลม ๑, ๒๕๔๘, หนา ๙๙) และยังเอยถงึ พระราชพิธีเผาขาว แตเขียนวาไมมี ซึ่งสันนิษฐานวา อาจจะหมายถงึ ไมมตี นฉบับที่ใช คัดลอกก็เปน ได (กฎหมายตราสามดวง เลม ๑, ๒๕๔๘, หนา ๑๐๗) ซึ่งจากขอมูลที่ไดจากกฎมณเฑียรบาล พบวามีพระราชพิธีที่ปรากฏรายละเอียดจำนวน ๑๕ พระราชพิธี และพระราชพิธีที่ปรากฏแตชื่อแตไมบอกรายละเอียดจำนวน ๑๑ พระราชพิธี รวมจำนวนพระราชพิธีที่ปรากฏ ในกฎมณเฑียรบาลท้ังสิ้น ๒๖ พระราชพธิ ี พระราชพิธที ปี่ รากฏในกฎมณเฑยี รบาลซึง่ ไดจัดในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยาจากหลักฐานตา งๆ ในพระราชพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยาฉบับตางๆ มีบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชพิธีตางๆ ของ พระมหากษัตริยไว แมจะไมพบเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดงานพระราชพิธีในทุกรัชกาล แตยังพอเปนรองรอยไดวา พระราชพิธีตางๆที่กลาวไวในกฎมณเฑียรบาลนั้น มีการจัดขึ้นจริงตั้งแตเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา ซึ่งปรากฏหลักฐาน ดังตอไปน้ี ๑.พระราชพิธีราชาภิเษก ในกฎมณเฑียรบาลมิไดกลาวถึงรายละเอียดไว พงศาวดารที่กลาวถึงเหตุการณ สมยั ตน กรุงศรีอยุธยา มไิ ดเอยรายละเอยี ดไวเ ชนกัน ปรากฏรายละเอียดคร้ังแรกในรัชกาลขุนวรวงศาธริ าช ดงั ขอความ ในพระราชพงศาวดารฉบับพนั จนั ทนมุ าศ(เจมิ ) ความวา “..นางพระยาจึงพระเสาวนียสงั่ ปลดั วังใหเอาราชยานเครื่องสูง แตรสังขกับขตั ิยวงศ ออกไปรับขุนวรวงศาธริ าช เขามาในราชนเิ วศมณเฑียรสถาน แลวตั้งพระราชาภิเษกขุนวรวงศา- ธิราช เปน เจา พิภพกรงุ เทพทวาราวดีศรีอยธุ ยา..” (ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๓, ๒๕๔๒, หนา ๒๒๖) ครนั้ รชั กาลตอ มาจึงพบวา มีรายละเอยี ดพระราชพิธีมากขนึ้ ๒.พระราชพิธีปฐมกรรม ในกฎมณเฑียรบาลใชชื่อวา ประถมกรรม ซึ่งมิไดกลาวถึงรายละเอียดไว ในรัชกาล สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ไดมีการจัดพระราชพิธีนีข้ ึน้ ดังขอความในพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสรฐิ กลาววา “..ศักราช ๘๕๙ มะเสง็ ศก ทานใหทำการปฐมกรรม”(พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐอกั ษรนิต,ิ์ ๒๕๔๔, หนา ๒๐) และจัดอีกคราวในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ โดยกลาววา “..ศกั ราช ๙๑๒ จอศก เดอื น ๘ ขึ้น ๒ ค่ำ ทำการพระราชพิธีปฐมกรรมสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเจา ตำบลทา แดง พระกรรมวาจาเปน พฤฒิบาศ พระพเิ ชฏฐเปน อษั ฎาจารย พระอินโทรเปนกรมการ..” (พระราชพงศาวดารกรงุ เกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต,์ิ ๒๕๔๔, หนา ๒๔) ๓.พระราชพิธีมัธยกรรม ในกฎมณเฑียรบาลใชชื่อวา มัทยกรรม ซึ่งมิไดกลาวถึงรายละเอียดไว ในพระราช พงศาวดารมิไดกลาวรายละเอียดอีกเชนกัน เพียงบันทึกวาจัดในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิที่ตำบลชัยนาทบุรี (พระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนิต,ิ์ ๒๕๔๔, หนา ๒๕) ๔. พระราชพิธอี าจาริยาภเิ ษก ซึง่ ในกฎมณเฑยี รบาลมิไดก ลา วถงึ รายละเอยี ด ในพระราชพงศาวดารระบุเพียง วาจัดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์, ๒๕๔๔, หนา ๒๕) ๕. พระราชพิธีอินทราภิเษก ในพระราชพงศาวดารมิไดกลาวรายละเอียด ระบุเพียงวาจัดขึ้นในรัชกาล สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ กลาวถึงวามีไฟไหมวังและใหจัดพระราชพิธีอินทราภิเษกในวังใหม พรอมพระราชทาน สัตดกมหาทาน (พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์, ๒๕๔๔, หนา ๒๕) กอนหนานี้ในรัชกาล ๑๒ I วารสารวิชาการอยธุ ยาศึกษา I ปท่ี ๑๒ ฉบับท่ี ๑ มกราคม – มถิ นุ ายน ๒๕๖๓

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ มีการบันทึกไววา “..ศักราช ๘๕๘ มะโรงศก ทานประพฤติการเบญจาพิธพระองคทาน และใหเ ลนการดกึ ดำบรรพ. .” (พระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์, ๒๕๔๔, หนา ๒๐) ซง่ึ การเลน ชกั นาคดกึ ดำบรรพน ี้เปนสว นหนง่ึ ของพระราชพิธีอินทราภเิ ษก ๖. พระราชพิธีอาศวยุช ซึ่งในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา อาสยุช มีบันทึกในพระราชพงศาวดารฉบับ พันจันทนุมาศ(เจิม)เมื่อคราวรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แตกลาวโดยยอวา “..ครั้นเสร็จการพระราชทาน พิธีอาศวยุชแลว มีพระราชบรหิ ารสัง่ ใหเกณฑทัพเตรียมไว..” (ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๓, ๒๕๔๒, หนา ๓๒๑) ครั้งแผนดินสมเด็จพระเอกาทศรถจึงไดบันทึกรายละเอียดไว ความวา “..ครั้นถึงทิพพารกาลพระราชพิธี อาศวยุช ก็ใหประดับประดาพระที่น่ังอรรณพดวยเครื่องอลงการมเหาฬารพิจิตรโอภาสชัชวาลและจามรทัง้ ปวง จึงให เอาพระครุฑพาหนะอันรจนาประดิษฐานพระพิศวกรรมออกตั้งฉาน และใหพระราชครูทั้ง ๔ กระทำการพระราช พิธีอาศวยุช จึงใหตั้งเรือแหและใหเทียบเรือตนเรือแขงตามกระบวน....”(พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เลม ๑, ๒๕๓๔, หนา ๑๘๓) ๗. พระราชพิธีไลเรือ ในพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กลาววาจัดในรัชกาลสมเด็จ พระเอกาทศรถ มีการสรางพระพุทธรูปบุทอง บุนาก และบุเงินเพื่อเชิญเขารวมในพระราชพิธี มีการจัดขบวนเรือ พระที่นั่งจำนวนมากแหไปที่บางขดาน (ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๓, ๒๕๔๒, หนา ๓๗๑) และใน คำใหการชาวกรงุ เกา ก็ระบุวา มีการจัดพระราชพิธนี ี้ คำใหการชาวกรุงเกา, ๒๕๔๔, หนา ๒๔๙-๒๕๐) ๘. พระราชพิธีตรีรำภาวาย ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา ตรียัมพวายซึ่งมิไดกลาวรายละเอียด ในพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กลาววาเมื่อครั้งรัชกาลสมเด็จพระนารายณมหาราชนั้น พระไตร ภูวนาทิตยจ ะลอบทำรายพระองคในพระราชพิธนี ้ี แตส มเดจ็ พระนารายณมหาราชยงั ไปรว มพระราชพิธีนี้ ความวา “.. เม่อื วันการพธิ ีตรรี ำภาวายนน้ั เราจะไปสง พระเจาถึงเทวสถาน ถา แลองคพ ระไตรภูวนาทติ ยวงษจะทำรายเรากใ็ หทำเถิด เราจะเอาบุญญาธิการแหงเราเปนที่พึ่ง..” (ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๓, ๒๕๔๒, หนา ๓๙๔) แตใน คำใหการชาวกรุงเการะบุชื่อวา พระราชพิธีขันดอ โดยกลาววา มีการตั้งเสาสูง ๔๐ ศอกสองเสา มีเชือกผูกแขวน กระดาน พราหมณ ๔ คนข้ึนไปนัง่ เหนอื กระดานโลชิงชาใหค าบเงนิ บาททีห่ อ ยไว ถาพราหมณทำไมไดจะถูกฝงดินเพียง บั้นเอว ใหพลเทพเสนาบดีกรมนาตางพระองคแหไปยังที่พราหมณโลชิงชา นั่งในมณฑป แตเอาเทาลงดินไดขางเดียว ถาเมอ่ื ยเผลอเอาเทาลงดิน ๒ ขาง ถูกปรับของท่ีไดรับพระราชทาน ตองตกเปน ของพราหมณท้ังสนิ้ (คำใหการชาวกรุง เกา, ๒๕๔๔, หนา ๒๕๑) ๙. พระราชพิธีละแลงสุก(เถลิงศก) ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา เผด็จศกพิธีลดแจตร ปรากฏในคำใหการ ชาวกรงุ เกา กลาววาจัดเมือ่ สงกรานต สรงนำ้ พระศรสี รรเพชญ พระพฆิ เนศวร โปรดใหนิมนตพ ระสงฆร าชาคณะเขามา สรงนำ้ แลรับพระราชทานอาหารบิณฑบาต กอ พระเจดยี ท รายวัดพระศรีสรรเพชญ ตงั้ โรงทานเล้ียงพระแลราษฎรท่ีมา แตจตุรทศิ ๓ วัน (คำใหการชาวกรุงเกา , ๒๕๔๔, หนา ๒๔๗-๒๔๘) ๑๐. พระราชพิธีจรดพระนังคัล ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา จรดพระอังคัล ปรากฏในคำใหการชาวกรุงเกา กลาววา จัดในเดือน ๖ พระเจากรุงศรีอยุธยาโปรดใหพระภิกุมารแรกนาตา งพระองค สวนพระมเหสกี ็จัดนางเทพีตา ง พระองคเหมอื นกัน พลเทพจูงโคไถ ๓ รอบ นางเทพีหวานพรรณขาว เสรจ็ แลวจึงปลดโคอุสภุ ราชออกใหกินน้ำแลถั่วงา วารสารวิชาการอยุธยาศกึ ษา I ปท ่ี ๑๒ ฉบับท่ี ๑ มกราคม – มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ I ๑๓

ขาวเปลอื ก ถากนิ สง่ิ ใดก็มีคำทำนายตางๆ ภายในเวลาการพระราชพธิ ี ยกพระราชทานภาษีคา ทาแลอากรขนอนตลาด แกพ ระภกิ มุ าร (คำใหก ารชาวกรงุ เกา, ๒๕๔๔, หนา ๒๔๘) ๑๑. พระราชพิธีตุลาภาร ในกฎมณเฑียรบาลระบุวาจัดในเดือน ๙ แตในคำใหการชาวกรุงเการะบุวาจัดใน เดือน ๗ โดยมีการเสดาะพระเคราะหแลวทำพิธีมังคลาภิเษก เอาเงินบาทชั่งใหหนักเทาพระองคพระราชทานแก พราหมณ (คำใหก ารชาวกรุงเกา , ๒๕๔๔, หนา ๒๔๙) ๑๒. พระราชพิธีภัทรบท ในคำใหการชาวกรุงเกา ระบุวาจัดในเดือน ๑๐ ซึ่งตรงกบั กฎมณเฑียรบาล กลาววา พวกพราหมณท ำพธิ ีทอดเชอื กดามเชือก แตท ่เี พ่มิ เติมจากกฎมณเฑยี รบาลคือ พระเจา กรุงศรีอยธุ ยาทรงฉลองพระภิกษุ สามเณรซ่งึ ทรงพระกรรุ าใหบวชเปนนาคหลวง สนานชา งตนมา ตน (คำใหการชาวกรุงเกา, ๒๕๔๔, หนา ๒๔๙) ๑๓. พระราชพิธีจองเปรียง ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา ตรองเปรียงลดชุดลอยโคม ปรากฏในคำใหการ ชาวกรุงเกา กลาววา ตามประทีปในพระราชวังและบานเรือนทั้งในพระนครนอกพระนครทั่วกันกำหนด ๑๕ วัน ถึงวันขนึ้ ๑๕ คำ่ โปรดใหท ำจลุ กฐิน คือทอผาใหเสรจ็ ในวันเดียว (คำใหการชาวกรุงเกา, ๒๕๔๔, หนา ๒๕๐) ๑๔. พระราชพิธบี ษุ ยาภเิ ษก ในคำใหก ารชาวกรุงเการะบวุ าจดั ในเดือนยี่ กลาววา ตงั้ พระมณฑปเอาดอกไม ๗ สีมาเรียงไว พระเจากรุงศรีอยุธยาเสด็จประทับเหนือบัลลังกดอกไมนั้น จำเริญพระนขา แลวพราหมณจึงถวาย มุรธาภเิ ษก (คำใหการชาวกรงุ เกา , ๒๕๔๔, หนา ๒๕๐) ๑๕. พระราชพธิ สี ัมพจั ฉรฉนิ ในกฎมณเฑียรบาลเรยี กวา สมั พรรษฉิน ปรากฏในคำใหก ารชาวกรงุ เกา กลา ววา นิมนตพระสงฆเขามาเจริญพระพุทธมนต ๓ วัน และสวดอาฏานาฏิยสูตร เวลาสวดมนตนั้น พระเจากรุงศรีอยุธยา ทรงพระมหามงคลผูกกับสายสิญจน ครั้นถึงวันคำรบ ๓ ซึ่งสวดอาฏานาฏิยสูตร เจาพนักงานยิงปนใหญนอยรอบท้ัง กำแพงพระราชวังแลกำแพงพระนคร เมื่อเสร็จการพิธีแลว ใหเชิญเครื่องราชกกุธภัณฑสรรพาวุธมาประพรมน้ำมนต แลประพรมน้ำมนตชา งตน มา ตนดว ย (คำใหการชาวกรุงเกา, ๒๕๔๔, หนา ๒๕๑-๒๕๒) ๑๖. พระราชพธิ ีธัญญาเธาะ ในกฎมณเฑยี รบาลเรียกวา พธิ ีธานยะเทาะห อกี แหง หนึ่งเรยี ก เผาขาว ปรากฏใน คำใหการขุนหลวงหาวัดฉบับหอหลวงวา จึงออกไปเผาขาวทุงวัดโพธาราม แลวจึงใหพระจันทกุมารฉลองพระองค อันเครื่องอุปโภคบริโภคทัง้ ปวงดุจพระอินทกุมารแรกนาขวัญ ครั้นแหไปถึงพิธีแลว พราหมณทั้งปวงจึงเอาฉัตรอันทำ ดวยรวงขา ว ๓ อยา ง ๓ ชนั้ มา แลว พระจันทกมุ ารจึงจดุ เพลงิ ขนึ้ พราหมณท ง้ั ปวงจึงดับเพลิง แลว จงึ มีอินทพลนน้ั ยกพล ทัง้ ๔ ทศิ มาชงิ เอารวงขาวไป ถาทศิ ใดไดขาวฉัตรชน้ั ตนช้ันสองก็ดีชนั้ สามก็ดี มคี ำทำนายตางๆกนั (คำใหการขุนหลวง หาวดั , ๒๕๔๙, หนา ๑๐๖) ในรัชกาลสมเด็จพระเจาอยหู ัวบรมโกศ มกี ารจัดพระราชพธิ นี ี้ ปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับหมอบรัดเล กลาววา ถึงหนานวดขาวก็เสด็จไปที่ทุงหันตรานาหลวง แลวเอาขาใสระแทะ แลวให พระราชบุตรพระราชธิดา กำนัลนางทั้งปวงลากไปในพระราชวังแลวเอาพวนขาวทำฉัตรใหญ และเอายาคูไปถวาย พระราชาคณะท่ีอยูอ ารามหลวงทกุ ๆปมิไดเ วน (พระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยธุ ยา, ๒๔๖๕, หนา ๖๕๖) จากหลักฐานทงั้ ในพระราชพงศาวดารฉบบั ตางๆ คำใหก ารชาวกรุงเกาและคำใหก ารขนุ หลวงหาวัด สรุปไดวา พระราชพิธีที่พบหลักฐานในเอกสารเหลานี้มีจำนวนทั้งสิ้น ๑๖ พระราชพิธี และยังพบรองรอยของการลดทอนและ เพิ่มเตมิ รายละเอียดพระราชพธิ ีมากกวา ที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลที่ไดกลา วไว แสดงใหเ ห็นวา พระราชพิธีที่ตราขึ้น เมื่อครั้งรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนั้น สมัยตอมามีการเพิ่มเติมและลดทอนใหเหมาะสมแกกาลสมัย สะทอน ภาพของสงั คมทไี่ มห ยดุ นิง่ มีการพฒั นาไปตามวันเวลาที่เปล่ยี นไป ๑๔ I วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปท่ี ๑๒ ฉบบั ที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๓

สวนพระราชพิธที ีป่ รากฏในกฎมณเฑยี รบาลซ่ึงไมพบหลักฐานการจัดพระราชพธิ ีในเอกสารตางๆ มจี ำนวน ๑๐ พระราชพิธี ไดแก ๑) พระราชพิธีออกสนามใหญ ๒) พระราชพิธที ูลนำ้ ลา งพระบาท ๓) พระราชพิธเี ลย้ี งดอกไมวงมงคล ๔) พระราชพิธเี ฉวยี นพระโค ๕) พระราชพธิ ีเบาะพก ๖) พระราชพธิ เี มอื่ สมเด็จพระอคั รมเหสีทรงครรภ ๗) พระราชพิธี คชกรรม ๘) พระราชพิธีประถมาภิเษก ๙) พระราชพิธีอุดมกรรม และ ๑๐) พระราชพิธีอุปราคาปราบดาภิเษก ซึ่งจำเปน ตองสบื หาจากหลักฐานแหลงอื่นวา พระราชพิธเี หลานไ้ี ดมกี ารจัดในสมัยอยธุ ยาหรือไม พระราชพธิ ที ่ีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลสมยั กรุงธนบุรี สมัยกรุงธนบุรี มรี ะยะเวลาเพยี ง ๑๕ ป และเปนชว งหัวเลี้ยวหัวตอของประวัติศาสตรจ ากสมัยกรุงศรีอยุธยาสู สมยั รัตนโกสินทร เหตุการณตางๆในสมยั กรงุ ธนบรุ ีท่ีถูกบันทึกไวในพระราชพงศาวดารหลายฉบับ สำเนาทองตราและ เอกสารอื่น สวนมากลวนแตเปนเรื่องราวเก่ียวกับพระราชกรณยี กจิ ดานสงครามเปน สว นใหญ เร่ืองราวเก่ียวกบั พระราช พิธตี างๆพบเปนบางเรอ่ื งเทา นั้น เชน การถวายพระเพลงิ พระบรมศพสมเด็จพระเจาอยหู ัวเอกทศั พระราชพิธีถวายพระ เพลงิ พระบรมศพกรมพระเทพามาตย เปนตน ซึง่ การพระราชพิธเี ก่ยี วกบั การพระบรมศพนน้ั ไมปรากฏรายละเอียดใน กฎมณเฑียรบาล แตพระราชพิธีที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลทั้ง ๒๖ พระราชพิธีนั้น ไมพบหลักฐานวามีการจัดขึ้นใน สมัยกรุงธนบุรี พระราชพิธที ป่ี รากฏในกฎมณเฑยี รบาลในสมยั ตน รัตนโกสนิ ทร เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชไดสถาปนากรุงรัตนโกสินทรขึ้นเปนราชธานีเม่ือ พ.ศ.๒๓๒๕ นอกจากมีการกอสรางพระนครขึ้นใหมใหงดงามเหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาแลว ยังมีการรื้อฟน พระราชพิธีตางๆที่เคยจัดสมัยกรุงศรีอยุธยาขึ้นมาใหม เพื่อแสดงถึงความเปนปกแผนมั่นคงของพระนคร เฉกเชน เมื่อครั้งบานดเี มอื งดี และในรัชกาลตอมาไดประกอบพระราชพิธีสืบเนือ่ งตอมา และยังมกี ารตั้งธรรมเนียมพระราชพิธี ใหมขึ้นๆมาอีก สำหรับพระราชพิธีที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลซึ่งไดมีการประกอบพระราชพิธีเหลานั้นในสมัย รตั นโกสนิ ทร มดี งั น้ี ๑. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งในกฎมณเฑียรบาลไมปรากฏรายละเอียด ครั้นรัชกาลที่ ๑ โปรดเกลาฯ ใหประชุมขาราชการเกาสมัยกรุงศรีอยุธยาเขียนตำราบรมราชาภิเษกขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๓๒๖ (รวมเรื่องราชาภิเษก ธรรมเนยี มราชตระกลู ในกรุงสยาม พระราชานกุ จิ และอธบิ ายวาดว ยยศเจา, ๒๕๔๖, หนา๘-๑๕) และไดมีการประกอบ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเต็มตำรา ในป พ.ศ.๒๓๒๘ (พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี, ๒๕๕๒, หนา ๖๓-๗๕) ซึ่งใหรายละเอียดขั้นตอนพระราชพิธีไวมาก และเปน แบบอยา งในการประกอบพระราชพธิ บี รมราชาภิเษกในรัชกาลตอมา ๒. พระราชพิธีลอยพระประทีป ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา พระราชพิธีตรองเปรียงลดชุดลอยโคม ยังมีการ ประกอบพระราชพิธีสืบเนื่องเรื่อยมา แตมีการเพิ่มเติมคือ ในรัชกาลที่ ๓ มีการขอแรงพระบรมวงศานุวงศและ ขาราชการที่มีกำลังทำกระทงใหญ กวาง ๘ ศอกบาง ๙ ศอกบาง สูง ๑๐ ศอก ๑๑ ศอก เปนการประกวดประชันกัน (พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร รัชกาลท่ี ๓ ฉบบั เจา พระยาทิพากรวงศ, ๒๔๘๑, หนา ๒๖-๒๘) ๓. พระราชพธิ ีไลเรือ ในหนังสือพระราชพิธีสิบสองเดือนกลา ววา ทำในปมะเส็งสัปตศกแผนดินพระพุทธยอด ฟาจุฬาโลกคร้ังหนึง่ ในปเถาะตรศี กแผน ดินพระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจา อยหู ัวครงั้ หนง่ึ แตไ มเรยี กพธิ ีไลเรอื เรียกวา วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา I ปท ี่ ๑๒ ฉบับท่ี ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๓ I ๑๕

พธิ ีไลนำ้ (จุลจอมเกลาเจาอยหู วั ,พระบาทสมเด็จพระ, ๒๕๔๒, หนา ๕๐) และในสมบั รชั กาลที่ ๕ เปน ตนมาก็มไิ ดจ ัดอีก เลย ๔. พระราชพธิ ตี รยี มั พวาย ตรปี วาย เปน ชอ่ื ปรากฏในหนังสือพระราชพธิ สี ิบสองเดือนพระราชนพิ นธในรัชกาล ที่ ๕ แตในกฎมณเฑียรบาลเรยี กวา พระราชพิธีสนานตรียมั พวาย ในหนังสือพระราชพิธีสบิ สองเดือนกลาวโดยสรปุ วา พระราชพิธีตรียัมพวายเปนการบูชาพระอิศวร พระราชพิธีตรีปวายเปนการบูชาพระนารายณ แตในกฎมณเฑียรบาล มิไดร ะบุวาสนานตรยี ัมพวายเปนการบูชาเทพองคใดบาง พระราชพธิ ีตรียมั พวาย ตรีปวายในสมัยรัตนโกสินทรเปนพิธีท่ี ทำเพื่อบูชาเทวดาในศาสนาพราหมณ มีการแหพระยายืนชิงชามายังเทวสถาน มีการสวดแบบพราหมณ การชาหงส พราหมณถวายของพิธีและสมัยรัชกาลที่ ๔ มีการเพิ่มเติมพิธีสงฆดวย (จุลจอมเกลาเจาอยูหัว,พระบาทสมเด็จพระ, ๒๕๔๒, หนา ๖๐-๘๕) ๕. พระราชพิธสี ัมพัจฉรฉินท ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา พระราชพิธีสัมพรรษฉิน หนังสือพระราชพิธีสิบสอง เดือนกลาวโดยสรุปวา มีทั้งพิธีพุทธและพิธีพราหมณ โดยพราหมณทำพิธีสวดอยางพราหมณ มีโหมกูณฑ มีการสวด อาฏานาฏิยสูตรมีการโปรยน้ำโปรยทรายรอบพระนคร และยงิ ปนใหญ ตลอดรุง (จลุ จอมเกลา เจาอยหู วั ,พระบาทสมเด็จ พระ, ๒๕๔๒, หนา ๑๒๙-๑๖๙) ๖. พระราชพิธีคเชนทรัสวสนาน เปนชื่อที่ปรากฏในพระราชนิพนธเรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือนในพระราช พงศาวดารเรยี กวา แหสระสนาน ช่ือในกฎมณเฑยี รบาลใชช อ่ื วา พระราชพธิ ีออกสนามใหญ ในรัชกาลที่ ๑ ปรากฏวาได มีการจัดพระราชพิธีนี้ข้ึนคราวหนึ่ง แตไมระบปุ ที่จัด ในพระราชพงศาวดารระบเุ พียงวาขุนนางตองแหเปนกระบวนๆ กันครั้งหนึ่ง แตเครื่องอาวุธดวยไมจรงิ (พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับเจาพระยาทิพากรวงศ มหาโกษาธิบดี, ๒๕๕๒, หนา ๒๒๘) ครั้นถึงรัชกาลที่ ๓ ในพ.ศ.๒๓๗๒ มีการจัดแหสระสนานอยางใหญครั้งหน่ึง ครั้นนั้นทำเครื่องอาวุธจริงๆ ถามีการทัพศึกจะไดเอาไวใช (พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ, ๒๔๘๑, หนา ๙๓-๙๔) ๗. พระราชพธิ ีสงกรานต ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา พระราชพิธีเผดจ็ ศกพิธีลดแจตร ในสมยั รัตนโกสินทรยังมี การประกอบพระราชพธิ ีนี้ ดงั ปรากฏในพระราชนิพนธเรอื่ ง พระราชพธิ ีสิบสองเดอื น กลาวโดยสรุปวา มีการประกอบ พระราชพิธีหลายอยางดวยกัน ประกอบดวย พระราชกุศลกอพระทรายและตีขาวบิณฑ มีการสวดพระปริตร สรงน้ำ พระ สรงมรู ธาภิเษก พระราชทานรดน้ำสงั ข สดับปกรณพระบรมอฐั แิ ละพระอฐั ิ (จุลจอมเกลา เจาอยหู ัว,พระบาทสมเด็จ พระ, ๒๕๔๒, หนา ๒๗๑-๓๐๗) ๘. พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา พระราชพิธีจรดพระอังคัล ในสมัย รตั นโกสินทรจัดพระราชพิธที ่ที งุ สมปอย สมยั รัชกาลท่ี ๔ มีการจัดแรกนาท่กี รุงเกาและเพชรบรุ ี (จุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเดจ็ พระ, ๒๕๔๒, หนา ๓๒๖-๓๒๗) ในรชั กาลที่ ๔ มกี ารเพม่ิ พธิ ีสงฆด วยเรยี กวา พืชมงคล และยงั ใหมีนาง เทพสี ีค่ นหาบกระเชาขาว มีการแหพระยาแรกนาไปยังมณฑลพิธี และเสย่ี งทายพระโคกินเลี้ยง (จุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ, ๒๕๔๒, หนา ๓๒๘-๓๓๗) ๙. พระราชพธิ ีทอดเชอื กดามเชือก ในกฎมณเฑียรบาลเรียกวา พระราชพิธภี ทั รบท ในสมัยรตั นโกสินทรมีการ จัดทำเปนประจำ ดังปรากฏในหนังสือพระราชพิธีสิบสองเดือน กลาวโดยสรุปวา เปนพิธีพราหมณที่เกี่ยวกบั หมอชาง ๑๖ I วารสารวชิ าการอยุธยาศึกษา I ปท่ี ๑๒ ฉบบั ท่ี ๑ มกราคม – มิถนุ ายน ๒๕๖๓

มีการต้งั มณฑลพิธีนำเชอื กปะกำและเชือกบาศ พราหมณท ำพธิ ีบูชาเทวดา มกี ารรำพัดชาซงึ่ ตองใชเชือกบาศประกอบ ทารำดวย (จุลจอมเกลา เจาอยหู ัว,พระบาทสมเด็จพระ, ๒๕๔๒, หนา ๒๒๔-๒๒๘) สวนพระราชพิธีที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลแตมิไดเคยมีการประกอบพระราชพิธีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ไดแก ๑. พระราชพิธีทูลน้ำลางพระบาท ๒. พระราชพิธีตุลาภาร ๓. พระราชพิธีอาสยุช ๔. พระราชพิธีเลี้ยงดอกไม วงมงคล ๕. พระราชพิธีเฉวียนพระโค ๖. พระราชพิธีเบาะพก ๗. พระราชพิธีอินทราภิเษก ๘. พระราชพิธีเมื่อ สมเด็จพระอัครมเหสีทรงครรภ ๙. พระราชพิธีษุยาภิเษก ๑๐. พระราชพิธีคชกรรม ๑๑. พระราชพิธีประถมาภิเษก ๑๒. พระราชพธิ ีประถมกรรม ๑๓. พระราชพธิ มี ทั ยกรรม ๑๔. พระราชพธิ ีอดุ มกรรม ๑๕. พระราชพิธอี าจาริยาภิเษก ๑๖. พระราชพิธีอปุ ราคาปราบดาภิเษก ๑๗. พระราชพิธีเผาขาว เหตุที่พระราชพิธีจำนวนมากที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลไมถูกจัดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร สันนิษฐานวา เนื่องจากหลายพระราชพิธีตำราสูญหายในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงมิไดมีการจัดขึ้น ดังเชนพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาทรงมีพระบรมราชาธิบายเกี่ยวกับการรื้อฟนพระราชพิธีอยางโบราณเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๔ วา “..พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั โปรดในการพระราชพธิ อี ยางเกาๆมาก ไดทรงลองหลายอยาง จนถึงที่ไปสง พระผเู ปน เจาท่ีเทวสถานเปนกระบวนชางเปนตน แตท รงพระปรารภไมสำเร็จอยูสองเรอ่ื ง คือเร่อื งพระราชพิธีอาสวยุช ตำราพราหมณหายเสีย กำลังจะคิดจัดการใหมก็พอสวรรคตเสีย เรื่องหนึ่งสระสนานใหญทรงอยูเสมอไมขาดวา ถา ไดชางเผอื กใหมจะมีสระสนาน แตค รัน้ เมือ่ ทรงพระปรารภกับสมเด็จเจาพระยาเม่ือไหร ทานก็ออดแอดบิดเบือนไป ทกุ ครงั้ เรอื่ งขี่ชา งเปน ตน จนตกลงเปน จะใหข่เี สลย่ี งก็ยงั บน ตุบๆตับๆอยู เผอิญชางเผอื กก็ไมไ ดมา เปน อนั เลิกกันไป..” (จุลจอมเกลาเจาอยหู วั ,พระบาทสมเดจ็ พระ, ๒๕๔๒, หนา ๒๒๑-๒๒๒) พระราชพธิ ที ่ปี รากฏในกฎมณเฑยี รบาลสมัยหลงั เปลยี่ นแปลงการปกครอง ๒๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๕ เมือ่ มกี ารเปลีย่ นแปลงการปกครองในพ.ศ.๒๔๗๕ นบั เปน จดุ เปลีย่ นท่ีสำคัญของสังคมไทย นอกจากระบบการ ปกครองท่ีเปลีย่ นไปแลว คติความเช่อื ในสงั คมยงั ถกู เปล่ยี นแปลงไปอีกหลายประการ พระราชพิธีตา งๆท่ีราชสำนักเคย อุปถัมภตองถูกยกเลิกไป ทั้งดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจและการขาดราชสำนักคอยอุปถมั ภในชวงปลายรัชกาลที่ ๗ แม เม่อื ประเทศไทยเขา สูภ าวะสงบสุขอกี คร้งั ในรัชกาลที่ ๙ แตเ นอื่ งจากพระราชพิธหี ลายอยางไดเลิกกระทำมาหลายป จึง ถูกยกเลิกไปโดยปริยาย อีกทั้งไดมีพระราชพิธีและรัฐพิธีอื่นๆเพิ่มเติมแทนอีกหลายอยาง พระราชพิธีที่ปรากฏ ในกฎมณเฑียรบาลทีย่ ังปฏิบัตสิ ืบทอดมาจนปจ จบุ ันจงึ พบเพยี ง ๔ พระราชพธิ ี ดงั น้ี ๑. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ รับราชสมบัติในปพ.ศ.๒๔๘๙ เนื่องจากจำเปนตองทรงศึกษาตอในตางประเทศจึงยังมิไดประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จนกระทั่งในป วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ จึงไดป ระกอบพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก แตม กี ารปรบั ขน้ั ตอนลงใหเหมาะสมแกกาล สมัย (ศรีพนม สิงหทอง, ๒๕๐๕, หนา ๖-๑๐๖) และในรัชกาลที่ ๑๐ ไดมีการประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในวันท่ี ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ซงึ่ ยังใชรูปแบบตามอยางเมื่อครัง้ รัชกาลท่ี ๙ เพียงแตป รับในบางขั้นตอน เชน การ ตักน้ำอภิเษกที่กระทำในทกุ จงั หวัด เปน ตน วารสารวชิ าการอยธุ ยาศึกษา I ปท ่ี ๑๒ ฉบบั ท่ี ๑ มกราคม – มิถนุ ายน ๒๕๖๓ I ๑๗

๒. พระราชพธิ ีเถลิงศก เม่ือพ.ศ.๒๔๘๒ ผูสำเร็จราชการแทนพระองคไดยกเลกิ การพระราชพิธีตรุษเสียท้ังหมด คงใหมีอยูแตพระราชพิธีทำบุญเถลิงศกและไดเปลี่ยนชื่อพระราชพิธีเสียใหมวา พระราชพิธีเถลิงศก (หมอมทวีวงศ ถวลั ยศักด์,ิ พลตร,ี ๒๕๑๐, หนา ๑๐) ปจจบุ ันเรยี กวา พระราชพิธสี งกรานต ๓. พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวญั เม่ือพ.ศ.๒๔๗๕ ทม่ี ีการเปลีย่ นแปลงการปกครอง ไดมีการ ระงบั การประกอบพระราชพิธีน้ี ครนั้ ถงึ รชั กาลท่ี ๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวทรงพระราชดำรวิ า การพระราชพิธีน้ี กระทำเพ่ือความเปนสิริมงคลแกพืชพันธุธญั ญาหาร และบำรุงขวญั ใหกำลงั ใจแกประชาชนของพระองคซึง่ สว นมากเปน กสกิ ร จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหฟนฟขู ึ้นใหม (หมอมทวีวงศถ วัลยศกั ดิ,์ พลตร,ี ๒๕๑๐, หนา ๒๑) แตลดข้ันตอน พระราชพิธีลง โดยวันแรกเวลาเย็นประกอบพระราชพิธีทางพระพุทธศาสนาที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ประกอบพธิ ีพราหมณท่ีมณฑลพธิ ีทองสนามหลวงในเวลาคำ่ วันที่สองชวงเชาจึงมกี ารแรกนา ไถนาและหวานเมล็ดพันธุ ขาวโดยพระยาแรกนา อกี ทง้ั มกี ารพระราชทานรางวลั แกเกษตรกรดเี ดน อกี ดว ย ๔. พระราชพิธีตรียมั พวาย ตรีปวาย ซึ่งในหนังสือ เทวสถานโบสถพราหมณเสาชิงชา เรียบเรียงโดย ทองตอ กลว ยไม ณ อยธุ ยาและคณะ ใชช่อื พระราชพธิ นี ี้วา พระราชพิธีตรียัมปวาย ตรปี วาย (ทองตอ กลวยไม ณ อยุธยาและ คณะ, ๒๕๕๐, หนา ๗๘) แตในหนังสือประเพณไี ทยฉบบั พระมหาราชครู เรยี บเรียงโดย พราหมณอ ุระคินทร วิริยบรู ณะ เรียกชื่อพระราชพิธีนี้วา พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย (อุรคินทร วิริยบูรณะ, ๒๕๑๑, หนา ๓๕๒) และปจจุบันใน ประกาศของโบสถพราหมณเมื่อเวลาจัดพระราชพิธีนี้ใชชื่อวา พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย (เทวสถานโบสถ พราหมณ, ออนไลน) ซึ่งหลังเปล่ียนแปลงการปกครองไดม ีการยกเลิกการแหพ ระยายืนชงิ ชา และการโลช ิงชา คงเหลือ เพียงพธิ ที ี่พราหมณทำในเทวสถาน ซึ่งมีการรายพระเวทเปด ศิวาลัยไกรลาส การสวดตางๆ การเชิญเทวรูปจากสำนัก พระราชวังมาเขารว มพธิ ี และการชา หงส (อรุ คนิ ทร วริ ิยบูรณะ, ๒๕๑๑, หนา ๓๕๒-๓๕๕) สวนพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ซึ่งเปนพระราชพิธีที่ยิ่งใหญในสายตาคนยุคปจจุบัน ดังเชน พระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพรัชกาลที่ ๙ ที่เพิ่งผานพนมา กลับมิไดถูกบันทึกไวในกฎมณเฑียรบาล แมจะมี หลักฐานวามีการจัดอยางพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพอยางใหญโตมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยพบ รายละเอยี ดพระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพเร่มิ บันทกึ ในพระราชพงศาวดารนบั แตร ชั กาลสมเดจ็ พระเอกาทศรถ เปน ตนมา (พระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยา, ๒๔๖๕, หนา ๓๔๓-๓๔๔) สนั นษิ ฐานวา เมอ่ื ครง้ั สมยั อยุธยาตอนตนใน รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่มีการตรากฎมณเฑียรบาลนั้น ยังมิมีการประกอบพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพทย่ี ่ิงใหญแบบครงั้ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย ดังนน้ั พระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพจึงเปน พระราชพิธีที่ เรม่ิ คอยพัฒนานบั ต้ังแตสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถเปน ตนมา และจัดอยางยงิ่ ใหญม ากท่ีสุดสมัยอยุธยาตอนปลายและ ตนรตั นโกสินทร บทสรปุ นับตั้งแตมีการตรากฎมณเฑียรบาลขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนตนมา พระราชพิธีตางๆ ที่ปรากฏใน กฎมณเฑยี รบาลไดถ ูกจดั ขนึ้ นบั แตค รัง้ นัน้ เรอ่ื ยมา ซ่งึ การประกอบพระราชพิธเี หลานัน้ มกี ารจดั ข้นึ ตามกาลสมัยสืบทอด กันมา ดังปรากฏในเอกสารที่เปนพระราชพงศาวดารและคำใหการตางๆ แสดงใหเห็นถึงความสำคัญของพระราชพิธี ๑๘ I วารสารวิชาการอยธุ ยาศึกษา I ปท ่ี ๑๒ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มถิ ุนายน ๒๕๖๓

เหลา นี้ วา เปน สิง่ ที่แสดงออกถึงความเคารพตอ ศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณของราชสำนัก เปน การแสดงพระบารมี ใหป ระชาชนไดเห็นและยังเปนการสรา งขวัญกำลังใจแกป ระชาชน แมกรุงศรีอยุธยาจะถกู ทำลายจนยอยยบั แตความเชือ่ เกีย่ วกับพระราชพิธตี างๆ ที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาล ยังคงอยู และไดรับการสืบเนื่องมาในสมัยรัตนโกสินทรตราบจนทุกวันนี้ แมจะมีหลายพระราชพิธีถูกยกเลิกไป แตอยางนอยพระราชพิธีพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีสงกรานต พระราชพิธีตรียัมพวาย และพระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ยังมีการประกอบพระราชพิธีเหลานี้ตราบจนสมัยปจจุบัน เปนภาพสะทอนถึงความเช่ือ ที่สืบทอดมาอยางยาวนานจากอดีตตราบจนปจจุบัน ควรที่คนไทยจะภาคภูมิใจและตระหนักถึงความสำคัญของ พระราชพิธีเหลา น้ตี ลอดไป ภาพท่ี ๑ ภาพจนิ ตนาการพระราชพธิ ีเฉวยี นพระโคสมัยกรุงศรีอยธุ ยา ทม่ี า : พิเศษ ปนเกต,ุ ๒๕๖๒, [ภาพวาด] วารสารวชิ าการอยุธยาศกึ ษา I ปท่ี ๑๒ ฉบับท่ี ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๓ I ๑๙

ภาพที่ ๒ ภาพจนิ ตนาการพระราชพิธเี บาะพกสมยั กรุงศรีอยธุ ยา ที่มา : พเิ ศษ ปนเกต,ุ ๒๕๖๒, [ภาพวาด] ๒๐ I วารสารวชิ าการอยธุ ยาศกึ ษา I ปท ่ี ๑๒ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มถิ นุ ายน ๒๕๖๓

ภาพท่ี ๓ ภาพจนิ ตนาการพระราชพธิ อี าชยุชสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ทีม่ า : พเิ ศษ ปนเกตุ, ๒๕๖๒, [ภาพวาด] วารสารวชิ าการอยธุ ยาศึกษา I ปท ่ี ๑๒ ฉบับท่ี ๑ มกราคม – มถิ ุนายน ๒๕๖๓ I ๒๑

บรรณานกุ รม กฎหมายตราสามดวง เลม ๑. (๒๕๔๘). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. คำใหก ารขุนหลวงหาวดั . (๒๕๔๙). นนทบุรี : โครงการเลือกสรรหนงั สือ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. คำใหก ารชาวกรุงเกา . (๒๕๔๔). กรงุ เทพฯ : จดหมายเหต.ุ จลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว,พระบาทสมเด็จพระ. (๒๕๔๒). พระราชพธิ สี ิบสองเดอื น. พิมพคร้งั ท่ี ๑๘. กรงุ เทพฯ : บรรณาคาร. ทววี งศถวัลยศักด์,ิ พลตรี หมอม. (๒๕๑๐). คำบรรยายเรอื่ งพระราชพธิ ีประจำปใ นรัชกาลปจจุบัน. กรุงเทพฯ : พระจนั ทร. ทองตอ กลว ยไม ณ อยธุ ยาและคณะ. (๒๕๕๐). เทวสถานโบสถพ ราหมณเสาชงิ ชา. กรงุ เทพฯ : อัมรนิ ทร. เทวสถานโบสถพ ราหมณ. สืบคนออนไลนจาก https://www.facebook.com/devasthanbangkok สืบคนเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓. ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๓. (๒๕๔๒). กรงุ เทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบบั หลวงประเสรฐิ อักษรนิติ์. (๒๕๔๔). กรุงเทพฯ : แสงดาว. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบบั เจาพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. (๒๕๕๒). กรุงเทพฯ : อมรินทรพรน้ิ ตง้ิ แอนพบั ลชิ ช่ิง. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสนิ ทร รชั กาลท่ี ๓ ฉบบั เจาพระยาทพิ ากรวงศ. (๒๔๘๑). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ โสภณพพิ รรฒธนากร. พระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยธุ ยา . (๒๔๖๕). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอักษรนิติ บางขนุ พรหม. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา เลม ๑. (๒๕๓๔). กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. ภาพจินตนาการพระราชพธิ เี ฉวียนพระโคสมยั กรุงศรีอยธุ ยา. (๒๕๖๒). [ภาพวาด]. พเิ ศษ ปนเกต.ุ ภาพจนิ ตนาการพระราชพธิ ีเบาะพกสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา. (๒๕๖๒). [ภาพวาด]. พเิ ศษ ปนเกตุ. ภาพจินตนาการพระราชพิธอี าชยชุ สมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา. (๒๕๖๒). [ภาพวาด]. พเิ ศษ ปนเกต.ุ รวมเร่อื งราชาภิเษก ธรรมเนยี มราชตระกูลในกรุงสยาม พระราชานุกิจและอธิบายวา ดว ยยศเจา . (๒๕๔๖). กรงุ เทพฯ : สำนกั วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร กรมศลิ ปากร. วนิ ยั พงศรเี พยี ร. (๒๕๔๘). กฎมณเฑยี รบาล ฉบบั เฉลมิ พระเกยี รต.ิ กรงุ เทพฯ : ดา นสธุ าการพิมพ. ศรีพนม สิงหท อง. (๒๕๐๕). พระราชพิธีของกษัตริยไ ทย. ม.ป.ท. สถาบนั พระปกเกลา . สืบคน ออนไลนจ าก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=กฎมณเฑียรบาล (โดม ไกรปกรณ) สืบคน เมือ่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓. อุรคินทร วริ ิยบูรณะ. (๒๕๑๑). ประเพณีไทยฉบับพระมหาราชคร.ู กรงุ เทพฯ : โรงพิมพลูก ส. ธรรมภักดี. ๒๒ I วารสารวชิ าการอยธุ ยาศกึ ษา I ปท่ี ๑๒ ฉบบั ท่ี ๑ มกราคม – มถิ นุ ายน ๒๕๖๓