ยกุ ติ ยตุ ิ จบสิ้น รหุฐาน รโหฐำน หมำยถึง ที่สงดั ท่ีลบั ลกั ษณสาสน คือ ลกั ษณ์และสำส์น หมำยถึง จดหมำย เลา รูปควำม ขอ้ ควำม เคำ้ วญั จโนบาย อุบำยหลอกลวง วลั ลภชน คนสนิท วริ ุธ ผดิ ปกติ สมรรคภนิ ทน กำรแตกสำมคั คี สมคั รภาพ ควำมสมคั รสมำนสำมคั คี สหกรณ หมู่เหล่ำ ส่า หมู่ พวก สิกขสภา หอ้ งเรียน สุขาลยั ท่ีที่มีควำมสุข เสาวน ฟัง เสาวภาพ สุภำพ ละมุนละม่อม หายน์, หายน ควำมเสื่อม หิตะ ประโยชน์ เหีย้ มน้ัน เหตุน้นั อนัตน์ ไม่เป็ นประโยชน์
อนุกรม ตำมลำดบั อภเิ ผ้า ผเู้ ป็นใหญ่ อาคม มำ มำถึง อุปเฉทไมตรี ตดั ไมตรี อรุ ส โอรส ลูกชำย อฬุ ุมป์ เวฬุ แพไมไ้ ผ่ เอาธูร เอำใจใส่เป็ นธุระ เอาภาร รับภำระ รับผดิ ชอบ
วเิ คราะห์คุณค่า ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา ๑.๑ โครงเรื่อง ควำมสำมคั คีเป็นคุณธรรมที่สำคญั อยำ่ งหน่ึงในกำรปกครองประเทศชำติบำ้ นเมือง กำรท่ีบำ้ นเมืองขำดควำมสำมคั คีน้นั จะนำพำมำซ่ึงควำมหำยนะและควำมวอดวำยใน บำ้ นเมือง ๑.๒ ฉาก ใชว้ สนั ตดิลกฉนั ท์ ๑๔ ซ่ึงมีลีลำนุ่มนวลในกำรแต่งบทชมเมืองรำชคฤห์ในแควน้ มคธของพระเจำ้ อชำตศตั รู ดงั น้ี สำมยอดตลอดระยะระยบั วะวะวบั สลบั พรรณ ช่อฟ้ำตระกำรกลจะหยนั จะเยำะยว่ั ทิฆมั พร นภศูลประภสั สร บรำลีพลิ ำศศุภจรูญ ดุจกวกั นภำลยั หำงหงส์ผจงพิจิตรงอน พศิ สุกอร่ำมใส ฑุรยพ์ ร่ำงพะแพรวพรำย รอบดำ้ นตระหง่ำนจตุรมุข กำญจนแ์ กมมณีกนกไพ ปรำสำทตลอดท้งั สำมยอดงำมแพรวพรำวสลบั สี ช่อฟ้ำกง็ ำมรำวกบั จะเยย้ ทอ้ งฟ้ำ ส่วนบรำลีช่ำงงดงำมยงิ่ นภศูลกม็ ีสีเล่ือมพรำย หำงหงส์ประดิษฐไ์ วง้ ำมอ่อนชอ้ ย ประหน่ึงจะกวกั เรียกทอ้ งฟ้ำ รอบมุขท้งั ส่ีดำ้ นกส็ ุกสกำวอร่ำมเรืองไปดว้ ยแกว้ มณีและ ไพฑูรย์
๑.๓ ตวั ละคร ๑. พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงทำนุบำรุงบำ้ นเมืองใหเ้ จริญรุ่งเรือง บำ้ นเมืองไดร้ ับกำรทำนุบำรุง จนกระทง่ั มีแสนยำนุภำพ ทรงปรึกษำหำรือกบั วสั สกำรพรำหมณ์ ซ่ึงวสั สกำรพรำ หมณ์กรำบทูลถึงวธิ ีกำรและดำเนินกำรจนสำเร็จ ๒. วสั สการพราหมณ์ วสั สกำรพรำหมณ์เป็นปุโรหิตแห่งแควน้ มคธ เป็นผเู้ ฉลียวฉลำดและรอบรูศ้ ิลปะ ศำสตร์ ลกั ษณะนิสยั ของวสั สกำรพรำหมณ์ ๒.๑ รักชำติบำ้ นเมือง ยอมเสียสละเพอื่ ประเทศชำติเมื่อพระเจำ้ อชำตศตั รูทรง ปรึกษำกบั วสั สกำรพรำหมณ์เร่ืองท่ีจะทรงแผพ่ ระบรมเดชำนุภำพเอำเมืองวชั ชีไวใ้ น ครอบครองและวสั สกำรพรำหมณ์กรำบทูลกลอุบำยและวธิ ีกำรน้นั วสั สกำรพรำหมณ์ จะตอ้ งกรำบทูลขดั แยง้ พระรำชดำริของพระเจำ้ อชำตศตั รูทำใหถ้ ูกลงพระรำชอำญำอยำ่ ง หนกั แต่วสั สกำรพรำหมณ์กย็ อมรับ ท้งั น้ีเพือ่ จะไดไ้ ปอำศยั อยทู่ ่ีแควน้ วชั ชีและดำเนินอุบำย ทำลำยควำมสำมคั คีไดส้ ะดวก ดงั ฉนั ทท์ ่ีวำ่ ไป่ เห็นกะเจบ็ แสบ ชิวแทบจะทำลำย มอบสตั ยส์ มรรถหมำย มนมนั่ มิหวนั่ ไหว หวงั แผนเพือ่ แผน่ ดิน ผถิ วลิ สะดวกใด เก้ือกิจสฤษฎไ์ ป บมิเลี่ยงละเบ่ียงเบือน
๒.๒ จงรักภกั ดีต่อพระเจำ้ อชำตศตั รู ดงั ฉนั ทท์ ี่พรรณนำไวต้ อนวสั สกำรพรำหมณ์ ตอ้ งโทษดงั น้ี โดยเตม็ กตญั ญู กตเวทิตำครัน ใหญ่ยงิ่ และยำกอนั นรอ่ืนจะอำจทน หยงั่ ชอบนิยมเช่ือ สละเน้ือและเลือดตน ยอมรับทุเรศผล ขรกำรณ์พะพำนกำย ไป่ เห็นกะเจบ็ แสบ ชิวแทบจะทำลำย มอบสตั ยส์ มรรถหมำย มนมนั่ มิหวน่ั ไหว ๒.๓ วสั สกำรพรำหมณ์เป็นคนเฉลียวฉลำด มีไหวพริบและรอบคอบในกำรดำเนิน กลอุบำยดว้ ยควำมเฉียบแหลมลึกซ้ึง รู้กำรควรทำและไม่ควรทำ รอจงั หวะและโอกำส กำร ดำเนินงำนจึงมีข้นั ตอน มีระยะเวลำ นบั วำ่ เป็นคนมีแผนงำน ใจเยน็ ดำเนินงำนดว้ ยควำม รอบคอบ มีสติ เป็นคุณลกั ษณะที่ทำให้วสั สกำรพรำหมณ์ดำเนินกลอุบำยจนสำเร็จผล เห็น ไดช้ ดั เจนในขณะท่ีวสั สกำรพรำหมณ์เขำ้ เฝ้ำฯกษตั ริยล์ ิจฉวแี ละไดก้ ล่ำวสรรเสริญน้ำพระ รำชหฤทยั กษตั ริยล์ ิจฉวที ำใหเ้ กิดควำมพอพระรำชหฤทยั เปรียบปำนมหรรณพนที ทะนุที่ประทงั ควำม ร้อนกำยกระหำยอทุ กยำม นรหำกประสบเห็น เอิบอิ่มกระหยมิ่ หทยครำว ระอุผำ่ วกผ็ อ่ นเยน็ ยงั อุณหมุญจนะและเป็น สุขปี ติดีใจ วชั ชีบวรนครสรร พจะขนั จะเขม้ แขง ร้ีพลสกลพริ ิยแรง รณกำรกลำ้ หำญ มำคธไผทรฐนิกร พลออ่ นบชำนำญ ท้งั สิ้นจะสู้สมรรำญ ริปุน้นั ไฉนไหว ดง่ั อินทโคปกะผวำ มุหฝ่ ำณกองไฟ ห่ิงหอ้ ยสิแข่งสุริยะไหน จะมิน่ำชิวำลำญ
๒.๔ มีควำมรอบคอบ แมว้ ำ่ วสั สกำรพรำหมณ์จะรู้ชดั วำ่ บรรดำกษตั ริยล์ ิจฉวแี ตก ควำมสำมคั คีกนั แลว้ แต่ดว้ ยควำมรอบคอบกล็ องตีกลองเรียกประชุม บรรดำกษตั ริยล์ ิจฉวี กไ็ ม่เสดจ็ มำประชุมกนั เลย วชั ชีภมู ผี อง สดบั กลองกระหึมขาน ทุกไท้ไป่ เอาภาร ลณกิจเพื่อเสดจ็ ไป จะเรียกหาประชุมไย ต่างทรงรับสั่งว่า กข็ ลาดกลวั บกล้าหาญ เราใช่คนใหญ่ใจ ๒.๕ ควำมเพียร วสั สกำรพรำหมณ์ใชเ้ วลำ ๓ ปี ในกำรดำเนินกำรเพ่อื ใหเ้ หล่ำ กษตั ริยล์ ิจฉวแี ตกสำมคั คีกนั ซ่ึงนบั วำ่ ตอ้ งใชค้ วำมเพียรอยำ่ งมำก ครั้นล่วงสามปี ประมาณมา สหกรณประดา ลิจฉวีรา ชทั้งหลาย สามคั คีธรรมทาลาย มิตรภิทนะกระจาย สรรพเส่ือมหายน์ กเ็ ป็นไป
๓. กษตั ริย์ลจิ ฉวี ๓.๑ ทรงต้งั มน่ั ในธรรม กษตั ริยล์ ิจฉวลี ว้ นทรงยดึ มนั่ ในอปริหำนิยธรรม (ธรรมอนั ไม่เป็นที่ต้งั แห่งควำมเสื่อม) ๗ ประกำร ไดแ้ ก่ ๑.) มน่ั ประชุมกนั เนืองนิตย์ ๒.) พร้อมเพรียงกนั ประชุม พร้อมเพรียงกนั ทำกิจที่พึงทำ ๓.) ไม่บญั ญตั ิส่ิงท่ีมิไดบ้ ญั ญตั ิเอำไว(้ ขดั ต่อหลกั กำรเดิม) ไม่ลม้ ลำ้ งสิ่งท่ีบญั ญตั ิไว้ ๔.) ท่ำนเหล่ำใดเป็นผใู้ หญ่ในชนชำววชั ชี เคำรพนบั ถือท่ำนเหล่ำน้นั เห็นถอ้ ยคำ ของ ท่ำนวำ่ เป็นส่ิงอนั ควรรับฟัง ๕.) บรรดำกลุ สตรีกลุ กมุ ำรีท้งั หลำยใหอ้ ยดู่ ีมิใหถ้ ูกข่มแหง ๖.) เคำรพสกั กำระบูชำเจดียข์ องวชั ชีท้งั หลำยไม่ปล่อยใหธ้ รรมมิกพลีท่ีเคยใหเ้ คยทำ แก่เจดียเ์ หล่ำน้นั เสื่อมทรำมไป ๗.) จดั กำรอำรักขำ คุม้ ครอง ป้องกนั อนั ชอบทำแก่เหล่ำพระอรหนั ตท์ ้งั หลำยต้งั ใจวำ่ ขอพระอรหนั ตท์ ้งั หลำยที่ยงั ไม่มำพ่งึ มำสู่แวน่ แควน้ ที่มำแลว้ พึงอยใู่ นแวน่ แควน้ โดยผำสุก ๓.๒ ขำดวจิ ำรณญำณ ทรงเชื่อพระโอรสของพระองคท์ ่ีทูลเร่ืองรำวซ่ึงวสั สกำรพ รำหมณ์ยแุ หยโ่ ดยไม่ทรงพิจำรณำ เช่น ต่างองค์นาความมิงามทูล พระชนกอดิศูร แห่ง ธ โดยมลู ปวตั ติ์ความ แตกร้าวก้าวร้ายกป็ ้ายปาม ลวุ รบิดรลาม ทีละน้อยตาม ณ เหตผุ ล
๓.๓. ทิฐิเกินเหตุ แมเ้ มื่อบำ้ นเมืองกำลงั จะถูกศตั รูรุกรำน เช่น ศพั ทอโุ ฆษ ประลโุ สตท้าว ลิจฉวดี ้าว ขณะทรงฟัง ต่างธกเ็ ฉย และละเลยดัง ไท้มิอินัง ธุระกบั ใคร ต่างก็ บ คลา ณ สภาคาร แม้พระทวาร บรุ ท่ัวไป รอบทิศด้าน และทวารใด เห็นนรไหน สิจะปิ ดมี
๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๒.๑ กำรเลือกใชค้ ำโดยคำนึงถึงเสียง กวไี ดด้ ดั แปลงฉนั ทบ์ ำงชนิดใหม้ ีควำมแตกต่ำง ไปจำกเดิมทำใหม้ ีควำมไพเรำะมำกข้ึน สำมคั คีเภทคำฉนั ทม์ ีกำรใชค้ ำที่มีเสียงเสนำะ ดงั น้ี ๑. กำรใชค้ ำท่ีเล่นเสียงเบำหนกั ในบทร้อยกรองประเภทฉนั ทก์ จ็ ะทำใหร้ ู้สึก ถึงรสไพเรำะของเน้ือควำม ๒. กำรเล่นเสียงสมั ผสั ในฉนั ทม์ ีท้งั สมั ผสั นอก และสมั ผสั ใน โดยเฉพำะ สมั ผสั ในมีท้งั สมั ผสั สระ และสมั ผสั พยญั ชนะ ๒.๒ ภาพพจน์ ๑. พรรณนาโวหาร คือ ถอ้ ยคำ หรือสำนวนที่บรรยำย หรือเล่ำไวอ้ ยำ่ งละเอียด เพอื่ ใหผ้ อู้ ำ่ นนึกเห็นภำพ เช่น เหีย้ มนั้นเพราะผนั แผก คณะแตกและต่างมา ถือทิฐิมานสา หสโทษพิโรธจอง แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิ้น บ ปรองดอง ขาดญานพิจารณ์ ตรอง ตริมลกั ประจักษ์เจือ เหตุเพรำะควำมแตกแยกกนั ต่ำงกม็ ีควำมยดึ มนั่ ในควำมคิดของตน ผกู โกรธซ่ึงกนั และกนั ต่ำงแยกพรรคแตกสำมคั คีกนั ไม่ปรองดองกนั ขำดปัญญำท่ีจะพิจำรณำไตร่ตรอง เช่น เชื่ออรรถยบุ ลเอา รสเล่ากง็ ่ายเหลือ หากธมากเมือ คติโมหเป็ นมลู จ่ึงดาลประการหา ยนภาวอาดรู แดนไผทสูญ ยศศักดิเสื่อมนาม เชื่อถอ้ ยควำมของบรรดำพระโอรสอยำ่ งง่ำยดำย เหตุท่ีเป็นเช่นน้นั เพรำะกษตั ริยแ์ ต่ ละพระองคท์ รงมำกไปดว้ ยควำมหลง จึงทำใหถ้ ึงซ่ึงควำมฉิบหำย มีภำวะควำมเป็นอยอู่ นั ทุกขร์ ะทม เสียท้งั แผน่ ดินเกียรติยศ และช่ือเสียงที่เคยมีอยู่
ควรชมนิยมจัด คุรุวสั สการพราหมณ์ เป็ นเอกอุบายงาม กลงากระทามา พทุ ธาทิบณั ฑิต พิเคราะห์ คิดพินิจปรา รภสรรเสริ ญสา ธุสมคั รภาพผล ส่วนวสั สกำรพรำหมณ์น้นั น่ำชื่นชมอยำ่ งยง่ิ เพรำะเป็นเลิศในกำรกระทำกลอุบำยผรู้ ู้ ท้งั หลำยมีพระพทุ ธเจำ้ เป็นตน้ ไดใ้ คร่ครวญพจิ ำรณำกล่ำวสรรเสริญวำ่ ชอบแลว้ ในเรื่องผล แห่งควำมพร้อมเพรียงกนั ๒. สาธกโวหาร โวหำรที่ยกตวั อยำ่ งมำประกอบขอ้ ควำม เร่ืองรำวใหเ้ ขำ้ ใจ แจ่มแจง้ ยง่ิ ข้ึน อำจเป็นกำรกล่ำวอำ้ งถึงเรื่องจริง นิทำนที่เป็นที่รู้จกั กนั ดีมำประกอบกไ็ ด้ เช่น ควรชนประชุมเช่น คณะเป็นสมาคม สามคั คีปรารม ภนิพนั ธราพึง เรำทุกคนที่มีกลุ่มควรจะประชุมกนั บ่อยๆ เพือ่ ใหเ้ กิดควำมสำมคั คี ควรยกประโยชน์ยื่น นรอื่นกแ็ ลเหลยี ว ดบู ้างและกลมเกลยี ว มิตรภาพผดงุ ครอง ยงั้ ทิฐิมานหย่อน ทมผ่อนผจงจอง อารีมิมหี มอง มนเมื่อจะทาใด ควรยกประโยชนใ์ หบ้ ุคคลอ่ืนบำ้ ง นึกถึงผอู้ ่ืนบำ้ ง ตอ้ งกลมเกลียว มีควำมเป็นมิตรกนั ไว้ ตอ้ งลดทิฐิมำนะ รู้จกั ข่มใจ จะทำสิ่งใดกเ็ อ้ือเฟ้ื อกนั ไม่มีควำมบำดหมำงใจ
ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หักล้างบแหลกลาญ กเ็ พราะพร้อมเพราะเพรียงกนั ป่ วยกล่าวอะไรฝงู นรสูงประเสริ ฐครั น ฤๅสรรพสัตว์อัน เฉพาะมชี ีวคี รอง ใครเล่ำจะมีใจกลำ้ คิดทำสงครำมดว้ ย หวงั จะทำลำยลำ้ งกไ็ ม่ได้ ท้งั น้ีเพรำะควำม พร้อมเพรียงกนั นนั่ เอง กล่ำวไปไยกบั มนุษยผ์ ปู้ ระเสริฐหรือสรรพสตั วท์ ี่มีชีวติ ๓. อุปมา กำรเปรียบเทียบสิ่งหน่ึงกบั อีกสิ่งหน่ึงที่โดยธรรมชำติแลว้ มีสภำพท่ี แตกต่ำงกนั เช่น เล่ห์เล่ือนชะลอดสุ ิตฐา นมหาพิมานรมย์ มำรังสฤษฎพ์ ิศนิยม ผจิ ะเทียบกเ็ ทียมทนั สำมยอดตลอดระยะระยบั วะวะวบั สลบั พรรณ ช่อฟ้ำตระกำรกลจะหยนั จะเยำะยวั่ ทิฆมั พร มองดูแลว้ หำกจะเทียบกเ็ สมือนหน่ึงจะชะลอเล่ือนเอำวมิ ำนช้นั ดุสิตอนั ร่ืนรมยม์ ำ สร้ำงไว้ ปรำสำทตลอดท้งั สำมยอดงำมแพรวพรำวสลบั สี ช่อฟ้ำกง็ ำมรำวกบั จะเยย้ ทอ้ งฟ้ำ ๔. อปุ ลกั ษณ์ คือ กำรเปรียบเทียบดว้ ยกำรกล่ำววำ่ ส่ิงหน่ึงเป็นอีกส่ิงหน่ึงเป็น กำรเปรียบเทียบท่ีไม่กล่ำวตรง ๆ ใชก้ ำรกล่ำวเป็นนยั ใหเ้ ขำ้ ใจเอง เช่น แม้มากกผิก่ิงไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง มดั กากระนั้นปอง พลหักกเ็ ตม็ ทน เปรียบเทียบควำมสำมคั คีของคนกบั กิ่งไมท้ ่ีมีก่ิงเดียวกห็ กั ไดง้ ่ำยแต่ถำ้ เอำมำรวมกนั เป็นกำ ซ่ึงยำกที่ใครจะหกั ทำลำยได้ ลกู ข่างประดาทา รกกาลขว้างไป หมนุ เล่นสนุกไฉน ดจุ กนั ฉะนั้นหนอ ลูกข่ำงที่เดก็ ขวำ้ งเล่นไดส้ นุกฉนั ใด วสั สกำรพรำหมณ์กส็ ำมำรถยแุ หยใ่ หเ้ หล่ำกษตั ริย์ ลิจฉวแี ตกควำมสำมคั คีไดต้ ำมใจชอบและคิดที่จะสนุกฉนั น้นั
๕. ภยานกรส (รสแห่งควำมกลวั ต่ืนเตน้ ตกใจ) บทบรรยำยหรือพรรณำท่ีทำ ใหผ้ อู้ ่ำนผฟู้ ัง ผดู้ ู มองเห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภยั ในบำปกรรมทุจริต เช่น ข่าวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล ในหม่ผู ้คู น ชาวเวสาลี แทบทุกถ่ินหมด ชนบทบรู ี อกสั่นขวญั หนี หวาดกลวั ทั่วไป ต่ืนตาหน้าเผือด หมดเลือดส่ันกาย หลบลหี้ นีตาย ว่นุ หวน่ั พรั่นใจ ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย เข้าดงพงไพร ทิง้ ย่านบ้านตน ๖. มกี ารเล่นเสียงพยญั ชนะ เช่น ทิชงชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ กษตั ริย์ลิจฉววี าร ระวงั เหือดระแวงหาย มีกำรเรียงล่นเสียงพยญั ชนะ เช่น คะเนกล – คะนึงกำร, ระวงั เหือด – ระแวงหำย ๗. สัมผสั พยญั ชนะ เช่น ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หักล้าง บ แหลกลาญ กเ็ พราะพร้อมเพราะเพรียงกนั
๘. คาถามเชิงวาทศิลป์ เช่น สละลี้ ณ หม่ตู น เหล่าไหนผิไมตรี บ มิพร้อมมิเพรียงกัน มนอาจระรานหาญ กิจใดจะขวายขวน กเ็ พราะพร้อมเพราะเพรียงกนั ใครเล่าจะสามารถ หักล้าง บ แหลกลาญ ๓. คุณค่าด้านสังคม ๑. สะท้อนวฒั นธรรมของคนในสังคม ดงั นี้ ๑) สะท้อนภาพการปกครองโดยระบอบสามคั คธี รรม และกำรประพฤติตำมวฒั นธรรม ๗ ประกำร(อปริหำนิยธรรม) ซ่ึงเป็นหลกั ธรรมที่ส่งผลใหเ้ กิดควำมเจริญของหมู่คณะฝ่ ำย เดียว ไม่มีทำงเส่ือมเลย ไดแ้ ก่ ๑. หมนั่ ประชุมกนั อยเู่ นืองนิตย์ ๒. เม่ือมีภำรกิจกป็ ระชุมปรึกษำหำรือกนั โดยไม่เบื่อหน่ำย กำรประชุม ๓. ยดึ มน่ั ในจำรีตประเพณีอนั ดีงำม ประพฤติดีปฏิบตั ิตำมโดยไม่ดดั แปลง ๔. เม่ือผใู้ หญ่ใหโ้ อวำทสงั่ สอน ผนู้ อ้ ยยอ่ มปฏิบตั ิตำมดว้ ยควำมเคำรพ ๕. ไม่ทำร้ำยข่มเหงบุตรและภรรยำผอู้ ื่น ๖. ไม่ลบหลู่ดูแคลนเจดียสถำนท่ีตนเคำรพสกั กำระและทำพธิ ีบวงสรวงตำมประเพณี ๗. ใหค้ วำมคุม้ ครองป้องกนั พระอรหนั ตใ์ นแควน้ วชั ชี
สมาชิก ๑. นางสาวจริ วดี อ่อนศรี เลขท่ี ๕ ๒. นางสาวชลติ า พลายละหาร เลขท๙ี่ ๓. นางสาวชัญญานุช คงคาช่ืน เลขที่ ๑๐ ๔. นางสาวณฐั นันท์ แผนสมบูรณ์ เลขท่ี ๑๑ ๕. นางสาวธัญจริ า ชาวห้วยหมาก เลขท่ี ๑๓ ๖. นางสาวนพวรรณ วรี ะธรรม เลขท่ี ๑๕ ๗. นางสาวนริศรา อนิ สว่าง เลขที่ ๑๘ ๘. นางสาวนา้ ทพิ ย์ แช่มช้อย เลขท่ี ๑๙ ๙. นางสาวนิศา ชิตนุรัตน์ เลขที่ ๒๐ ๑๐. นางสาวปรียาวรรณ แก้วใหญ่ เลขที่ ๒๑ ๑๑. นางสาวพชั ราพร คงเจริญสุข เลขที่ ๒๒ ๑๒. นางสาวพมิ ลกั ษณ์ วงศ์วรี กลู เลขท่ี ๒๓ ๑๓. นางสาวเพญ็ พชิ ชา หาญสันเทยี ะ เลขที่ ๒๔ ๑๔. นางสาวภทั รญาดา แสงนิ่มนวล เลขที่ ๒๕ ๑๕. นางสาวภาวดิ า วงศ์ทบั แก้ว เลขท่ี ๒๖ ๑๖. นางสาววรณกานต์ พวงทอง เลขท่ี ๒๘ ๑๗. นางสาวศิริวรรณ ศรีสัมพนั ธ์ เลขที่ ๓๐ ๑๘. นางสาวสิริภทั ร ศรีวริ ิยะโยธิน เลขที่ ๓๒ ๑๙. นางสาวอมรา จ่าพนั ธ์ เลขท่ี ๓๕ ๒๐. นางสาวธีราพร หอมกลน่ิ เลขท่ี ๔๐ ๒๑. นางสาววาริศรา ทรัพย์โชคพูนสิน เลขที่ ๔๑ ๒๒. นายพสิ ิษฐ์ ปฤษณารุณ เลขท่ี ๔๓ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๖
Search