จิตแพทย์แนะ จัดการ ความเครียดรับมือ COVID-19 ไม่ให้ป่วยใจ วิธีการดูแลสุขภาพที่ดีของตัวคุณ โดย นางสาวฉันสลี แซ่สง 200101006
สถานการณ์ COVID-19 คุณมีอาการ ดังต่อไปนี้หรือไม่ CDC สหรัฐฯ แนะนำ ให้สังเกตอาการเหล่านี้ อารมณ์เปลี่ยนแปลง แปรปรวน กลัว เครียด กังวล เบื่อ เฉยชา หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย นอนไม่หลับหรือหลับไม่สนิท ฝั นร้ายต่อเนื่ องเรื้ อรัง พฤติกรรมการกินผิดปกติ รู้สึกไม่กระปรี้กระเปร่า ไม่สดชื่น เฉื่อยชาลง ลดกิจกรรมลงอย่างชัดเจน เบื่อ ไม่อยากทำอะไร สมาธิจดจ่อไม่ดี หลง ๆ ลืม ๆ ทำงานบกพร่อง สูญเสียการตัดสินใจ
จงดูแลร่างกาย ทำสมาธิ ทานอาหารที่สมดุล สูดหายใจลึก ๆ ของคุณ และออกกำลังกาย นอกจากที่อยู่ในที่ที่ปลอดภัยแล้ว ต้องแน่ใจว่าคุณ ได้ทำตามขั้นตอนที่จะดูแลตัวเองให้มีสุขภาพที่ดี แหล่งที่มา: ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค
หาเวลา ผ่อนคลาย ใช้เวลาไม่กี่นาทีในแต่ละวัน เพื่อทำในสิ่งที่คุณชอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากเป็นการทำงาน ที่บ้าน คุณควรหยุดพักเป็นช่วงสั้น ๆ เพื่อ พักสายตาและผ่อนคลายจิตใจของคุณ แหล่งที่มา: ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค
พักสมอง จากการเสพข่าว การรับข้อมูลมากเกินไปอาจทำให้ไม่สบายใจได้ พยายามปิดหน้าจอหรือโทรศัพท์ของคุณเป็นระยะ ๆ แหล่งที่มา: ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค
นอกจากต้องดูแลตัวเองแล้ว ยังเป็นเรื่องสำคัญที่ต้อง ตระหนักรู้ความเสี่ยงที่แท้จริง ของไวรัสและวิธีที่เราจะสามารถ ป้องกันตนเองและบุคคลที่เรารัก
วางแผนและเตรียมการ รับข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับกิจกรรมโควิด-19 ในพื้นที่จากหน่วยงาน และเจ้าหน้าที่ของรัฐ สร้างรายชื่อองค์กรและผู้ให้บริการที่สำคัญที่สมาชิกในครอบครัว คุณสามารถโทรติดต่อได้ในกรณีฉุกเฉิน เลือกห้องพักที่กำหนดไว้ที่สามารถใช้แยกสมาชิกในครอบครัวที่มี อาการเจ็บป่วยหรืออยู่ภายใต้การเฝ้าระวัง แหล่งที่มา: ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค
01 กินใหเ้ ป็นปกติ ทำอาหารง่าย ๆ เช่น หุง ข้าว ทอดไข่ เทคนิคใช้ชีวิตให้ปกติ 02 นอนให้ปกติ การนอนหลับให้เพียงพอเป็น (Healthy Routine) ภูมิคุ้มกันชั้นดี 03 เชื่อมต่อกับผู้คน แม้จะเจอเพื่อนฝูงผู้คน เหมือนเมื่อก่อนไม่ได้ แต่ยังสามารถเชื่อม ต่อ พูดคุยปรึกษาหารือกันได้ โดยใช้ เทคโนโลยีเชื่อมต่อถึงกัน แหล่งที่มา: โรงพยาบาลกรุงเทพ
04 หากิจกรรมทำ อย่าให้ว่าง แม้จะ Work From Home ก็ควรทำตัวเหมือนปกติ ตื่นเช้า อาบ น้ำ แต่งตัว ออกกำลังกายตามยูทูบแทนการ ไปฟิตเนส 05 ทำสิ่งที่สนใจและงานอดิเรกที่ชอบ เรียนรู้ สิ่งใหม่ ๆ ออกกำลังกายสมอง ใช้ความคิด สร้างสรรค์และจินตนาการ ทำกิจกรรมใน เงื่อนไขสถานการณ์ที่จำกัด 06 ฝึกปรับทัศนคติ “อย่าตระหนก อย่ากังวล” ความรู้สึกแย่เหล่านี้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ยิ่ง พยายามไม่คิด ความคิดจะเกิดขึ้นเอง
คอยติดตามข่าวสาร ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์ แจ้งที่ทำงานหรือโรงเรียน หากคุณจำเป็น การระบาดของโรคในพื้นที่ ต้องเปลี่ยนตารางเวลาหรือการเตรียมงาน หากคุณอยู่ตัวคนเดียว ให้ขอให้ครอบครัว คอยติดตามข่าวสารกับครอบครัวและ เพื่อนและเจ้าหน้าที่ดูแลสุขภาพคอยติดต่อ เพื่อน ๆ ถึงภาวะของโรคเรื้อรังด้วย คุณในช่วงที่มีโรคระบาด
ดูแลสุขภาพทางอารมณ์ของ สมาชิกในครอบครัวของคุณ โรคระบาดสร้างความตึงเครียดให้กับทั้งผู้ใหญ่และเด็กเด็ก ๆ อาจตอบสนองต่อสถานการณ์ความตึงเครียดที่แตกต่างออกไป พูดคุยกับลูก ๆ และตอบคำถามพวกเขา ปล่อยให้เด็ก ๆ ได้พูดถึงความหวาดกลัวและความกังวลของพวกเขา ฝึกทำสมาธิอย่างพร้อมเพรียงกัน
สถานการณ์อาจยาก เกินจะรับไหว แต่การรับมือ กับความเครียดจะทำให้คุณ คนที่คุณห่วงใยและชุมชน ของคุณเข้มแข็งขึ้น
อ้างอิง อภิสมัย ศรีรังสรรค์. (2564). จิตแพทย์แนะ จัดการความเครียดรับมือ COVID-19 ไม่ให้ป่วยใจ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.bangkokhospital.com/content/psychiatric-guidance-on-stress- management-trading-covid-19. (เข้าถึงวันที่ 18 ตุลาคม 2564).
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: