ความปลอดภยั ในการทํางานในทอี บั อากาศ 1.ตอ้ งขออนุญาตก่อนเขา้ ไปปฏบิ ตั งิ านทุกครงั โดยหวั หนา้ งานจะตอ้ งเป็ นผรู้ บั ผดิ ชอบในการขอ อนุญาตเขา้ ไปปฏบิ ตั งิ าน (Work Permit) 2.ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในทอี บั อากาศจะตอ้ งผ่านรบั การฝึ กอบรมการทํางานในทอี บั อากาศ พรอ้ มกบั ไดร้ บั บตั ร ประจาํ ตวั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในทอี บั อากาศเท่านัน 3.ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในทอี บั อากาศจะตอ้ งสวมใสอ่ ุปกรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลใหค้ รบถว้ น เชน่ รองเทา้ นิรภยั , หมวกนิรภยั , แวน่ ตานิรภยั เป็ นตน้ 4.หา้ ม ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทํางานในทอี บั อากาศโดยเด็ดขาด หากไมม่ ผี ูช้ ว่ ยเหลอื ทไี ดร้ บั การอบรมเฝ้ าระวงั หรอื ชว่ ยเหลอื บรเิ วณทางเขา้ – ออก การทาํ งานในทอี บั อากาศทุกครงั จะตอ้ งมผี ูค้ วบคมุ งาน และผู้ ชว่ ยเหลอื เพอื เฝ้ าระวงั ดา้ นความ ปลอดภยั สําหรบั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในทอี บั อากาศ 5.กอ่ นเขา้ ทํางานในทอี บั อากาศ ผูค้ วบคมุ งานจะตอ้ งทาํ การตรวจสอบอุปกรณต์ า่ ง ๆ ทีตอ้ งใชใ้ นการ ทาํ งานใหค้ รบถว้ น ตอ้ งทาํ การตรวจสอบอากาศกอ่ นเขา้ ไปปฏบิ ตั ิงานในทอี บั อากาศทุกครงั และตอ้ งทาํ การตรวจวดั อากาศเป็ นระยะ ๆ ตามลกั ษณะงาน ตอ้ งทาํ การระบายอากาศดว้ ยพดั ลมระบายอากาศ ตลอดเวลาทปี ฏบิ ตั งิ านในทอี บั อากาศ 6.หา้ ม ผูท้ ไี มผ่ ่านการฝึ กอบรมการทาํ งานในทอี บั อากาศและไม่มบี ตั รประจาํ ตวั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในทอี บั อากาศเขา้ ทํางานโดยเด็ดขาด 7. หา้ ม จดั วางสงิ ของกดี ขวางทางเขา้ – ออกในพนื ทกี ารทํางานในทอี บั อากาศโดยเด็ดขาด จดั ทาํ ป้ าย แจง้ ขอ้ ความ “ทอี บั อากาศ อนั ตราย หา้ มเขา้ ” ใหม้ ขี นาดมองเห็นเด่นชดั บรเิ วณ ทางเขา้ ออกพนื ทอี บั อากาศทกุ แหง่ ผูป้ ฏบิ ตั งิ านทอี บั อากาศจะตอ้ งแสดงบตั รประจาํ ตวั ไวท้ ที างเขา้ – ออก ทุกครงั กอ่ นเขา้ ปฏบิ ตั งิ าน 49
ความปลอดภยั ในการทาํ งานเกยี วกบั สี 1. ตอ้ งขออนุญาตเขา้ ไปปฏบิ ตั งิ าน โดยหวั หนา้ งานเป็ นผูร้ บั ผดิ ชอบในการขออนุญาต เขา้ ไปปฏบิ ตั งิ าน 2. ผูป้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งสวมใส่อปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลใหค้ รบถว้ นตลอดเวลาที ปฏบิ ตั งิ าน เชน่ หมวกนิรภยั , แว่นตานิรภยั , รองเทา้ นิรภยั , หนา้ กากกนั สารเคมี เป็ นตน้ 3. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งทราบชนิดและอนั ตรายทอี าจเกดิ ขนึ จากสารเคมโี ดยศกึ ษาขอ้ มลู จาก เอกสาร MSDS 4. การจดั เกบ็ สารเคมตี อ้ งมกี ารระบายอากาศทดี ี และมอี ุปกรณด์ บั เพลงิ เพยี งพอ สามารถ หยบิ ใชง้ านได ้ ทนั ทหี ากเกดิ เหตุฉุกเฉิน 5. หา้ ม ทําการผสมสกี บั สารเคมที ไี ม่ไดก้ ําหนดไวใ้ นฉลากโดยเด็ดขาด 6. หา้ ม สบู บุหรใี นพนื ทกี ารทํางาน และพนื ทกี ารจดั เก็บสารเคมโี ดยเด็ดขาด 7. หา้ ม นําอาหารและเครอื งดมื ทุกชนิดเขา้ มารบั ประทานในบรเิ วณการทาํ งานโดยเด็ดขาด 8. หา้ ม กอ่ ใหเ้ กดิ ประกายไฟในพนื ทกี ารทํางานสแี ละพนื ทกี ารจดั เก็บสารเคมโี ดยเด็ดขาด 9. ตอ้ งมกี ารระบายอากาศทดี ใี นพนื ทกี ารทํางานและพนื ทจี ดั เก็บสารเคมี การเก็บสารเคมี 10. ควรแยกเกบ็ ใหเ้ ป็ นระเบยี บตามชนิดและประเภทของสารเคมี 11. เมอื สารเคมกี ระเด็นโดนผวิ หนัง ใหร้ บี ลา้ งดว้ ยนา้ สะอาดอย่างนอ้ ย 15 นาทแี ละถอด เสอื ผา้ ทถี ูกสารเคมี ควรถอดออกทนั ทแี ละชาํ ระลา้ งรา่ งกายดว้ ยนา้ สะอาด 12. เมอื สารเคมกี ระเด็นเขา้ ตา ใหไ้ ปลา้ งตาทีอ่างลา้ งตาฉุกเฉิน โดยใหน้ า้ สะอาดไหลผา่ น ตาประมาณ 15 นาทแี ละรบี พบพยาบาลทนั ที 13. จดั เกบ็ วสั ดดุ ูดซบั สารเคมหี ลงั ทาํ ความสะอาดพนื ทเี ขยี นป้ ายบง่ ชแี ละแยกทงิ ตาม ประเภท/ชนิดของขยะ สที เี หลอื จากการใชง้ าน 14. พนักงานจะตอ้ งนําไปเททงิ ทถี งั กากสี ( ถงั 200 ลติ ร ) ในจดุ ทกี าํ หนดไวใ้ หท้ ุกครงั เมอื ไมใ่ ชง้ าน เพอื เป็ นการแยกประเภทขยะกากสแี ละกระป๋ องสเี ปลา่ 50
ความปลอดภยั ในการทํางานบนทสี ูง การทํางานบนทสี งู Working at height ถอื เป็ นงานเสยี งอนั ตรายตามกฎหมายความปลอดภยั ฯ ในการทํางาน ปัจจบุ นั มอี ุบตั เิ หตุทเี กดิ จากการพลดั ตก (Fall) จากทสี งู เพมิ ขนึ อยา่ งตอ่ เนือง ความเสยี ง (Risk)เหลา่ นีมกั พบไดใ้ นงานอุตสาหกรรมตา่ งๆ เชน่ งานกอ่ สรา้ ง งานตดิ ตงั นังรา้ น งานตดิ ตงั และ ซอ่ ม บํารุง งานโรยตวั ทําความสะอาดเชด็ กระจกบนตึกสูง เป็ นตน้ การทาํ งานบนทสี ูง หมายถงึ การทํางานในทสี งู จากพืนดนิ หรอื พนื อาคารตงั แต่ 2 เมตร ขนึ ไป ตามกฎหมายกฎกระทรวง ไดก้ าํ หนดมาตรฐานในการบรหิ าร และ การจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อ นามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานเกยี วกบั งานกอ่ สรา้ ง พ.ศ. 2551 ในต่างประเทศกไ็ ดม้ กี ารกาํ หนดเรอื งมาตรฐานการทํางานบนทสี ูงไวเ้ ชน่ กนั ดงั นี OSHA 1926.503 ใหค้ าํ นิยามทสี ูง หมายถงึ การทาํ งานทมี คี วามสงู ตงั แต่ 1.8 เมตรขนึ ไป ANSI Z359.2 ใหค้ าํ นิยามทสี ูง หมายถงึ ทุกทที สี ามารถเกดิ การพลดั ตกได้ อธบิ ายง่ายๆคอื ที ใดทมี กี ารตา่ งระดบั ถอื เป็ นทสี ูงตามคาํ นิยามของ ANSI นันเอง อนั ตรายทพี บบ่อยทสี ดุ จากอบุ ตั เิ หตขุ องการทาํ งานบนทสี ูง คอื การพลดั ตก (Fall) จากทสี ูง ซงึ อาจมี สาเหตุมาจากหลายปัจจยั ส่งผลใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านเกดิ การบาดเจ็บ กลายเป็ นผพู้ กิ าร หรอื ถงึ ขนั เสยี ชวี ติ ได ้ ระยะตกทตี อ้ งรูใ้ นการทาํ งานบนทสี งู Fall Factor คอื อะไร Fall Factor = Height of Fall / Length of Lanyard – Fall Factor จะเป็ น 0 (คนงานอยใู่ ตจ้ ดุ เกยี วยดึ เชอื กตงึ เกอื บสุด) – Fall Factor 1 ความตงึ เชอื กในการเคลอื นทไี ม่เกนิ 0.6 พอการเคลอื นทที าํ งาน – Fall Factor 2 ขนึ ไป จดุ ยดึ เกยี วตํากว่าเอวลงไป การทาํ งานบนทสี ูงตงั แต่ 2 เมตร ขนึ ไป ตอ้ งปฏบิ ตั ดิ งั ต่อไปนี 1. จดั ทํานังรา้ นชนิดทมี พี นื ทยี นื ปฏบิ ตั งิ าน (platform) พรอ้ มราวกนั ตกโดยนังรา้ นควรไดร้ บั การ ตรวจสอบวา่ ปลอดภยั ก่อนใชง้ าน 2. กรณีไม่มกี ารทําพนื ทยี นื ปฏบิ ตั งิ าน (platform) ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั การตกดงั นี 2.1 จุดยดึ สายคลอ้ งเกยี วอย่างถูกตอ้ งซงึ ควรอย่เู หนือศรี ษะ 2.2 ใชส้ ายรดั ชนิดเต็มตวั 2.3 ใชส้ ายเกยี วยดึ ชนิดลดแรงกระแทกและมีจดุ ยดึ คลอ้ ง 2 จดุ 2.4 ระยะตก (free fall) ตอ้ งนอ้ ยกว่า 2 เมตร 2.5 ตอ้ งมกี ารตรวจสอบอปุ กรณป์ ้ องกนั การตกทกุ ครงั กอ่ นใชง้ าน 2.6 ผูป้ ฏบิ ตั งิ านควรผ่านการฝึ กอบรมและฝึ กปฏบิ ตั ิ 51
งาน หรอื ประเภททตี อ้ งขอใบอนุญาตทํางาน 1. ใบอนุญาตทํางานทมี คี วามรอ้ น หรอื มปี ระกายไฟ (Hot Work Permit) สําหรบั แสดงการ อนุญาต ทํางานทใี ชค้ วามรอ้ น หรอื มปี ระกายไฟ ไดแ้ ก่ 1.1 การทํางานทมี คี วามรอ้ นหรอื ประกายไฟใน Work Shop 1.2 การนํารถยนต ์ หรอื อปุ กรณไ์ ฟฟ้ า เขา้ ไปในเขตปฏบิ ตั กิ ารหรอื สถานทมี วี ตั ถุ ไวไฟ 1.3 งานเชอื มประสาน หรอื ตดั ดว้ ยเปลวไฟ หรอื ไฟฟ้ า 1.4 งานทที าํ ใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมแี ลว้ เกดิ ความรอ้ น หรอื เกดิ การลุกไหม้ 1.5 งานทที าํ ใหเ้ กดิ ประกายไฟจากการเคาะ ขดั ลบั ตดั หรอื ทําใหเ้ กดิ ไฟฟ้ าสถติ ย ์ 2. ใบอนุญาตทํางานไฟฟ้ า (Work With Electrical Source Permit) สําหรบั ใชอ้ นุญาตทาํ งาน ใดๆ ทมี กี ารเขา้ ในเครอื ขา่ ยระบบไฟฟ้ าทกุ แรงดนั 3. ใบอนุญาต ตดิ ตงั /รอื ถอนนังรา้ น (Scaffolding Permit) สาํ หรบั ใชต้ รวจสอบ/ อนุญาต การตงั นังรา้ น เฉพาะเวลาทอี นุญาต รวมทงั ใหท้ ําการรอื ถอนทนั ที ทหี มดเวลาอนุญาต สําหรบั งานในเขตพนื ที 4. ใบอนุญาตทาํ งานในทสี ูง (High Work Permit) 4.1 ในกรณีทมี กี ารตดิ ตงั นังรา้ น นังรา้ นจะตอ้ งมสี ภาพทมี นั คงแข็งแรง 4.2 จดั ใหม้ เี ขม็ ขดั นิรภยั สายชว่ ยชวี ติ สาํ หรบั ใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านสวมใสต่ ลอดเวลาที ปฏบิ ตั ใิ นทสี งู 2 เมตรขนึ ไปโดยยดึ ตดิ กบั สว่ นหนึงส่วนใดของอาคารหรอื โครงสรา้ ง 4.3 จดั ใหม้ อี ปุ กรณป์ ้ องกนั ภยั สว่ นบคุ คลทตี อ้ งสวมใสข่ ณะทํางาน 4.4 จดั ใหม้ ผี า้ ใบหรอื สงิ ปิ ดกนั ไมใ่ หว้ สั ดุรว่ งหลน่ เป็ นอนั ตรายต่อผูท้ ที าํ งานหรอื ทรพั ยส์ นิ ทอี ย่ดู า้ นล่างหรอื จะตอ้ งปิ ดกนั บรเิ วณโดยรอบใตพ้ นื ทปี ฏบิ ตั งิ านเพอื ป้ องกนั ผไู ้ ม่เกยี วขอ้ งเขา้ ไปในเขตอนั ตราย 4.5 การทาํ งานบนทสี งู หรอื บนหลงั คาใกลส้ ายไฟฟ้ าจดั ทาํ ป้ ายเตอื นหรอื ทาํ รวั กนั 4.6 สภาพดนิ ฟ้ าอากาศปกติ ไมม่ ลี มแรงหรอื ฝนฟ้ าคะนอง 5. ใบอนุญาตทํางานซอ่ มธรรมดาทวั ไป (Cold Work Permit) 5.1 ไดท้ ําการปิ ดกนั หรอื แยกอปุ กรณอ์ อกจากส่วนอนื ๆ และตดิ ป้ ายเตอื นเรยี บรอ้ ย 5.2 ไดต้ ดั ระบบไฟฟ้ าทไี ปอปุ กรณน์ ัน และตดิ ป้ ายเตอื นเรยี บรอ้ ย 5.3 ไดต้ ดั แยกระบบควบคุมการทาํ งานและตดิ ป้ ายเตอื นเรยี บรอ้ ย 5.4 ไดท้ ําความสะอาดอปุ กรณจ์ นปราศจากสารเคมี นํามนั ไอนํา สารอนั ตราย 5.5 จดั เตรยี มอปุ กรณด์ บั เพลงิ ไวย้ ามเกดิ เหตฉุ ุกเฉิน 5.6 บรเิ วณรอบๆ รวมทงั บรรยากาศ และทศิ ทางลม อยู่ในสภาพทาํ งานอยา่ ง ปลอดภยั 5.7 ตรวจสอบไม่ใหม้ วี ตั ถทุ ที าํ ใหเ้ กดิ การตดิ ไฟในพนื ที 5.8 ปิ ดกนั ระบบท่อ/วาลว์ ตา่ งๆ และตดิ ป้ ายเตอื นเรยี บรอ้ ย 52
ความปลอดภยั ในงานสาํ นกั งาน 1.พนื สํานักงานควรสะอาดอยู่เสมอ 2.หา้ มวงิ หรอื ลนื ไถลในสาํ นักงาน 3.ขณะทมี กี ารขดั หรอื ทําความสะอาดพนื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านควรเดนิ หรอื ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความระมดั ระวงั ยงิ ขนึ 4.ถา้ พบนํามนั หกบนพนื สาํ นักงาน ใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ทรี บั ผดิ ชอบ หรอื กนั พนื ที และแสดงเครอื งหมาย เตอื น หรอื หาวสั ดดุ ูดซบั และนําไปทงิ ตามชนิด/ประเภท ของขยะ เพือลดปัญหาดา้ นสงิ แวดลอ้ ม 5.ถา้ พบวสั ดหุ รอื เครอื งใชส้ าํ นักงาน เชน่ ดนิ สอ หรอื สงื อนื ใดตกหล่น รบี เกบ็ ทนั ที 6.ในขณะทเี ดนิ ถงึ มมุ ตึก ใหเ้ ดนิ ทางขวาของทางเดนิ เดนิ ชา้ ๆ อยา่ งระมดั ระวงั 7.สายโทรศพั ท ์ หรอื สายไฟฟ้ า ควรตดิ ตงั ใหเ้ รยี บรอ้ ย ไม่กดี ขวางทางเดนิ 8.อย่าอยใู่ กลบ้ รเิ วณประตูทเี ปิดอยู่ ประตอู าจเปิ ดมากระแทกได ้ 9.เมอื จะเขา้ ออกบงั ตา หรอื เปิดปิดประตูบานกระจก ควรเปิ ดปิดอยา่ งระมดั ระวงั 10.ประตูบานกระจกทเี ปิดปิดสองทางใหต้ ดิ เครอื งหมาย “ดงึ ” หรอื “ผลกั ” ใหช้ ดั เจน 11.ไมว่ างสงิ ของเกะกะทางเดนิ ชอ่ งประตู 12.ตดิ ตงั กระจกเงาทบี รเิ วณมมุ อบั 13.ทาํ ความสะอาดและกาํ จดั ขยะ ฝ่ นุ ผง หรอื เศษกระดาษทกุ วนั 14.สูบบหุ รใี นทจี ดั ไวใ้ ห ้ อนั ตรายจากเครอื งถ่ายเอกสาร เครอื งถา่ ยเอกสารเป็ นอุปกรณส์ าํ นกั งาน ทสี ําคญั อยา่ งหนึงซงึ ถอื ไดว้ ่าเป็ นสงิ ทแี ทบทกุ สํานักงาน จะขาดไม่ได ้ เนืองจากประโยชนท์ ไี ดร้ บั มากมายจนผใู้ ชล้ ะเลยอนั ตรายทีอาจจะเกดิ ขนึ ไดจ้ ากการใช ้ เครอื งถ่ายเอกสารเป็ นเวลานาน ปกติแลว้ เครอื งถา่ ยเอกสารมสี ว่ นประกอบทีสาํ คญั อนั ไดแ้ ก่ แม่พมิ พท์ ี เป็ นโลหะ ลูกกลงิ ทเี คลอื บดว้ ยโลหะ ประเภทซลิ เิ นียม หรอื แคดเมยี ม และรงั สอี ลั ตราไวโอเลต จะสงั เกตุ เห็นขณะถ่ายเอกสาร เครอื งถา่ ยเอกสารทใี ชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั เป็ นเครอื งถ่ายเอกสารระบบแหง้ จะใชส้ ะดวกแต่ขณะทีใชก้ จ็ ะมี อนั ตรายต่อสขุ ภาพจากสารเคมตี า่ ง ๆ ดงั นี 1. ในหมกึ พมิ พจ์ ะมสี าร คารซ์ โิ นเจน ซงึ เป็ นสารกอ่ เกดิ มะเรง็ ผงคารบ์ อน เมอื ผงคารบ์ อนทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากนั สารไนโตรไพรนิ สารอะโรเมตกิ โพลี ไซคลคิ ไฮโดคารบ์ อน สารเทอโม-พลาสตกิ เรซนิ ขณะทเี ครอื งทํางานจะมกี ลนิ ฉุน จากปฏกิ ริ ยิ าของสารเคมดี งั กล่าวนี ทําใหผ้ ใู้ ชท้ ตี อ้ งสมั ผสั นาน ๆ จะมี อาการปวดศรี ษะ อ่อนเพลยี ง่วงซมึ รสู ้ กึ มนึ ชา 2. โลหะทใี ชเ้ คลอื บลูกกลงิ เชน่ ซริ เิ นียม หรอื แคดเมยี ม มผี ลต่อผวิ หนังทาํ ใหเ้ กดิ ความระคายเคอื ง มตี ่มุ แดงหรอื ผนื คนั นอกจากนันสารไตรไน โตรฟลูออรโิ นน เป็ นสารกอ่ เกดิ มะเรง็ 3. รงั สอี ลั ตราไวโอเลต เป็ นแหล่งกาํ เนิดความรอ้ น มอี นั ตรายต่อผวิ หนังและสายตา ทําใหเ้ ยอื บตุ า อกั เสบ ตาแดง ผวิ หนังเกรยี มไหม้ ถา้ สมั ผสั นานอาจทาํ ใหเ้ กดิ มะเรง็ ผวิ หนัง 4. โอโซน เกดิ ขณะทเี ครอื งกาํ ลงั ทาํ งาน เกดิ มาจากรงั สอี ลั ตราไวโอเลต โดยทอี อกซเิ จนจะรวมตวั กนั จนกลายเป็ นโอโซน เมอื ผูใ้ ชห้ ายใจเขา้ ไปจะมผี ลตอ่ ระบบประสาท มอี าการงว่ ง มนึ ศรี ษะ ปาก คอแหง้ ระคายระบบทางเดนิ หายใจ ระคายตาและผวิ หนัง 5. นํายาทอี าบกระดาษทใี ชใ้ นการถ่ายเอกสาร ไดแ้ ก่ สารฟอรม์ ลั ดไิ ฮด ์ ทําใหม้ กี ารระคายเคอื ง ของ ผวิ หนัง ขณะทใี ชง้ านอาจทาํ ใหผ้ ูส้ มั ผสั เป็ นโรคผวิ หนังอกั เสบ 53
การป้ องกนั อนั ตราย การตดิ ตงั เครอื งถ่ายเอกสาร ไม่ควรตงั ตดิ ผนังควรตงั ในหอ้ งทมี อี ากาศถ่ายเทสะดวก เพอื ให ้ สารเคมที อี อกมาขณะปฏบิ ตั งิ าน จะเจอื จางลงเพอื ลดการสมั ผสั สารเคมขี องผูป้ ฏบิ ตั งิ านได ้ ถา้ สามารถ ตดิ ตงั ในทโี ลง่ ไม่ใช่ ในมมุ อบั จะดมี าก หรอื แยกเครอื งถา่ ยเอกสารจากหอ้ งผูป้ ฏบิ ตั งิ านอนื ๆ ถา้ ไดก้ ลนิ ฉุนหรอื ไหม้ เนืองจากการใชง้ านมาก ตอ้ งเลกิ ใชช้ วั คราว หรอื ถา้ จาํ เป็ น แจง้ ชา่ งหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบ การบาํ รงุ รกั ษาเครอื งเป็ นประจาํ อยู่เสมอ จะชว่ ยใหล้ ดสารเคมที อี าจเพมิ ปรมิ าณจากการใชง้ าน อยา่ มองแสง อลั ตราไวโอเลต ควรใชแ้ ผ่นปิ ดทกุ ครงั ทใี ชถ้ า่ ยเอกสาร ขณะทเี ปลยี นถา่ ยสารเคมี หรอื ผงคารบ์ อน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านควรใส่อปุ กรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ไดแ้ กถ่ งุ มอื ยาง ทคี รอบปาก ( Mask) อนั ตรายและโรคทเี กดิ กบั การทํางานกบั เครอื งคอมพวิ เตอร ์ กอ่ นอนื ตอ้ งทราบความหมายของเครอื งคอมพวิ เตอร ์ หรอื ทเี รยี กวา่ Visual display Terminals (VDT) คอื อปุ กรณท์ ใี ชส้ าํ หรบั การจดั การ ประมวลผล และแสดงขอ้ มูลต่าง ๆ ซงึ ประกอบดว้ ยจอภาพ แป้ นพมิ พ ์ แผงวงจรไฟฟ้ า และตวั ป้ อนกระแสไฟฟ้ า นอกจากนีจะรวมเอาอปุ กรณน์ ําเขา้ ขอ้ มูล (input) เชน่ mouse หรอื pointer และอุปกรณน์ ําออกขอ้ มูล (output) เชน่ printer ปัจจบุ นั เกอื บทกุ สํานกั งานมกี ารใชค้ อมพวิ เตอรก์ นั อยา่ งแพรห่ ลาย ววิ ฒั นาการของอุปกรณเ์ หล่านีไดพ้ ฒั นาเรว็ มาก ปัญหาจากอุปกรณค์ อมพวิ เตอรเ์กา่ ๆ ถูกแกไ้ ข แต่อย่างไรกต็ ามผทู้ ที ํางานเกยี วขอ้ งยงั ตอ้ งใชส้ ายตาใน การเพ่งมองจอภาพจนเกดิ อาการตาลา้ และการกดแป้ นพมิ พห์ รอื นังทํางานกบั เครอื งเป็ นเวลานานโดย ไมไ่ ดม้ กี ารเคลอื นไหวสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายส่งผลตอ่ ปัญหาความปวดเมือยกลา้ มเนือตามส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย เชน่ ขอ้ มอื หวั ไหล่ หลงั หรอื เอว และมคี วามเครยี ดซงึ ทําใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านมอี าการหงุดหงดิ ขาดสมาธิ เกดิ ความลา้ การทผี ปู้ ฏบิ ตั งิ านมอี าการเจบ็ ปวดไหล่ ปวดหลงั และปวดเอวตอ้ งศกึ ษาดถู งึ สาเหตทุ ีทาํ ใหเ้ กดิ เนืองจากสภาพแวดลอ้ มการทํางานหรอื ขนาดของโตะ๊ และเกา้ อขี องผูป้ ฏบิ ตั งิ านไมเ่ หมาะสม ตลอดจนถงึ ทา่ ทางการทาํ งานซงึ มผี ลการหมุนเวยี นของโลหติ ไมส่ ะดวก กลา้ มเนือของรา่ งกายจะไดร้ บั ออกซเิ จนไป หลอ่ เลยี งไมเ่ พยี งพอ ทาํ ใหเ้ กดิ ความเมือยลา้ และปวดเมอื ยตามสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย เมือทราบถงึ สาเหตุ ซงึ ถา้ จากขนาดของโตะ๊ เกา้ อี หรอื ระดบั ความสูงของอปุ กรณไ์ ม่เหมาะสม ก็ควรจดั สภาพและ ทา่ ทางการนังทเี หมาะสมตามภาพประกอบที 12 นอกจากนันระยะเวลาในการทาํ งานมผี ลต่อการลา้ จําเป็ นตอ้ งพจิ ารณาแกไ้ ขลกั ษณะงาน เชน่ ทํางานอนื รว่ มดว้ ย หรอื หากตอ้ งอา่ นหรอื ใชแ้ ป้ นพมิ พต์ ่อเนืองกนั เป็ นเวลานาน ควรทจี ะกาํ หนดระยะเวลา ในการสมั ผสั วา่ ทาํ เพียง 50 นาที และพกั 10 นาที เพอื ใชม้ ชี อ่ งว่างไดพ้ กั ผ่อนสายตาและขอ้ มอื ขณะเดยี วกนั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านควรไดม้ กี ารออกกาํ ลงั กายในชว่ งเวลาพกั ทีกาํ หนดเพอื ใหม้ กี ารยดื เสน้ ยดื สาย และทําใหม้ กี ารหมุนเวยี นของโลหติ ดขี นึ การบรหิ ารรา่ งกายควรบรหิ ารเรมิ ตงั แตค่ อ หลงั ส่วนบน หนา้ อก แขนและหวั ไหล่ ตลอดจนถงึ การบรหิ ารเอว ขอ้ มอื และแขนเป็ นตน้ ในกรณีทผี ปู้ ฏบิ ตั งิ านมอี าการลา้ ตา หรอื ระคายตาอาจเนืองจาก จอคอมพวิ เตอรม์ แี สงจา้ เกนิ ไป ซงึ ปกตไิ ม่ควรเกนิ 500 ลกั ซ ์ซงึ แสงจา้ สามารถลดโดยการจดั วางตาํ แหน่งของแสง เครอื งจะใช ้ Hood ครอบ หรอื ตดิ แผน่ กรองแสงแลว้ แต่กรณี การจดั สภาพแวดลอ้ มหรอื ตาํ แหน่งการวางโตะ๊ เกา้ อี กบั ตําแหน่งของแสงมคี วามสมั พนั ธก์ บั การสอ่ งสวา่ ง ค่อนขา้ งมาก ทงั สามารถประหยดั พลงั งานไปไดส้ ่วนหนึงปัญหาอกี อยา่ งทสี าํ คญั สาํ หรบั ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน ไดแ้ ก่ ความเครยี ดอาจมสี าเหตุจากเสยี งรบกวนจากเครอื ง Printer การใช ้ mouse เสยี งกดแป้ นพิมพ ์ หากมเี ครอื งจาํ นวนมาก และพมิ พพ์ รอ้ มกนั ย่อมกอ่ ใหป้ ัญหา มาตรการในการแกไ้ ขตอ้ งวางแผนมากอ่ น ตดิ ตงั เรมิ ดําเนินการ ซงึ ไดแ้ ก่ การปพู รม บผุ นัง ดว้ ยอปุ กรณท์ สี ามารถดูดเสยี ง หรอื แยกแหลง่ กาํ เนิด เสยี งใหอ้ อกจากหอ้ งผูป้ ฏบิ ตั งิ านนอกจากเรอื งของเสยี งแลว้ มปี ัญหาเกยี วกบั อากาศอุณหภูมิ และ ความชนื ทมี ผี ลต่อผปู้ ฏบิ ตั งิ าน จากการศกึ ษาพบวา่ ผูป้ ฏบิ ตั งิ านควรมอี ุณหภูมทิ เี หมาะสม ระหวา่ ง 54
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส ถงึ 27 องศาเซลเซยี ส ความชนื สมั พทั ธร์ ะหว่าง 40% - 70% มคี วามดงั ของเสยี งไมค่ วรเกนิ 65 เดซเิ บล จะทําใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านมปี ระสทิ ธภิ าพการทาํ งานสงู สดุ ปัญหาอกี อยา่ งทมี กั เกดิ ขนึ กบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านคอื ความลา้ ของตา เนืองจากระยะของการมอง ซงึ ตอ้ ง มองระยะใกลเ้ ป็ นเวลานาน เมอื พกั สายตา จะแกไ้ ขดว้ ยการมองไกลและการบรหิ ารนยั ตา ดว้ ยการกลอก ตาเป็ นวงกลม มองไปรอบ ๆ กวา้ งตามเข็มนาฬกิ า 3 รอบ และกระพรบิ ตาบ่อย ๆ เพอื ใหน้ ําตาหล่อเลยี ง ไดท้ งั ตา ชว่ ยลดความระคายตาและการลา้ ของตา Sick Building Syndrome นอกจากสารเคมีทไี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ยงั ไดพ้ บผูท้ ที ํางานในสํานักงาน มอี าการของโรคทเี กดิ ขนึ จน ระบุชอื ว่าเป็ นโรค Regionair Disease หรอื Sick Building Syndrome ซงึ หมายถงึ โรคอนั เกดิ ขนึ จากการทํางานในอาคารสํานักงาน ซงึ ไดจ้ ากการรวบรวมการบนั ทกึ รายงานอาการของคนทที าํ งานใน สํานักงานยคุ ใหม่ จากการศกึ ษาวจิ ยั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอาการของโรคเหล่านีกบั ระบบการระบาย อากาศ หรอื แหลง่ มลภาวะทเี กดิ ขนึ จากภายในและภายนอกอาคาร เนืองมาจากคนทที าํ งานในสาํ นักงาน นนั ตอ้ งหายใจเอามลภาวะดงั กล่าว โดยปราศจากวธิ กี ารหรอื มาตรการป้ องกนั อย่างถกู ตอ้ ง ลกั ษณะ อาการตา่ ง ๆ ทพี บไดแ้ ก่ อาการปวดศรี ษะ มนึ งง เมือยลา้ การระคายเคอื งตา อาการไอ จมกู อกั เสบ คลนื ไส ้ อาเจยี ร ปวดทอ้ ง เจบ็ หนา้ อก อาการตา่ ง ๆ เหลา่ นีมองดูเหมอื นเป็ นอาการทวั ๆ ไปทไี ม่รุนแรงแต่ เมอื เป็ นเรอื รงั ทาํ ใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านอาจเป็ น โรคหอบหดื ซงึ จะปรากฎชดั เจนยงิ ขนึ ไดม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั โดย การสํารวจผปู ้ ฏบิ ตั งิ านในสํานกั งาน 2 แห่ง การเกบ็ ขอ้ มูลไดเ้ ก็บจากผปู้ ฏบิ ตั งิ านบนั ทกึ ขอ้ มลู ของตนเอง ตามแบบสอบถามขอ้ มูลจากการไปพบแพทย ์ และเอกสารทีเกยี วกบั ปัญหาทางดา้ นสขุ ภาพของ ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน ในการศกึ ษาขององคก์ ารอนามยั โลกในปี ค.ศ. 1984 ไดม้ รี ายงานเสนอแนะเกยี วกบั คนทที ํางาน ในตกึ หรอื อาคารสูงทเี ป็ นผอู้ าศยั ใหมจ่ าํ นวนรอ้ ยละ 30 ไดม้ ีขอ้ รอ้ งเรยี นเกยี วกบั คณุ ภาพของอากาศ ภายในตวั อาคาร ซงึ เกดิ จากการออกแบบอาคารทไี ม่ดี หรอื ปัญหาจากผอู ้ ยู่อาศยั กอ่ ใหเ้ กดิ มลภาวะ โดย มขี อ้ บง่ ชี นอกจากอาคารตามทรี ะบุแลว้ บางครงั ไมท่ ราบสาเหตุการเกดิ โรค และผูท้ มี อี าการมกั จะมี อาการดขี นึ หรอื หายป่ วยหลงั จากไดอ้ อกจากอาคารนันไปแลว้ จากการศกึ ษาพบว่าคณุ ภาพของ อากาศ มคี วามสาํ คญั ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะจาก The American Society of Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers (ASHRAE) คา่ มาตรฐานในการจดั การระบายอากาศโดยกาํ หนด ปรมิ าตรของอากาศ 2 ภายนอกอาคาร 15 ลูกบาศกฟ์ ตุ ตอ่ นาทตี ่อคน ในสํานักงานกาํ หนดใหม้ ปี รมิ าตร ของอากาศ 20 ลูกบาศกฟ์ ตุ ตอ่ นาทตี ่อคน ในพนื ทที มี กี ารสบู บุหรตี อ้ งเพมิ ปรมิ าตรของอากาศใหส้ งู ถงึ 60 ลูกบาศกฟ์ ุตต่อนาทตี อ่ คน นอกจากนันปัญหาจากสภาพแวดลอ้ มของสารเคมแี ละสารชวี ภาพ เชน่ แบคทเี รยี ไวรสั และเมล็ด พชื ฝ่ นุ ต่าง ๆ ก็มผี ลตอ่ การเกดิ โรคตกึ ดว้ ย การป้ องกนั และแกไ้ ข แกไ้ ขปัญหาระบบทางเดนิ อากาศโดยระบบ Heat Ventilation Air Condition (HVAC) เชน่ การทําความสะอาดแผน่ กรอง ฝ้ า เพดาน พรม มมี าตรการเด็ดขาดเกยี วกบั การสูบบหุ รี ส่วนการใชส้ ี กาว สารละลาย และยาฆา่ แมลงให ้ ดาํ เนินการในพนื ทมี กี ารระบายอากาศดี อุปกรณเ์ กยี วกบั การทาํ ความสะอาดอากาศ แต่บางครงั มขี อ้ จาํ กดั ในการใช ้ การใหก้ ารฝึ กอบรมและการสอื สารระหว่างบุคคลมคี วามสําคญั ต่อโครงการจดั การเกยี วกบั คุณภาพของอากาศภายในอาคาร 55
5ส ในสถานทที ํางาน สะสาง Seiri (เซร)ิ (ทําใหเ้ ป็ นระเบยี บ) คอื การแยกระหว่างของทจี าํ เป็ นตอ้ งใชก้ บั ของ ทไี มจ่ าํ เป็ นตอ้ งใชข้ จดั ของทไี ม่จาํ เป็ นตอ้ งใชท้ งิ ไป สะดวก Seiton (เซตง) = สะดวก (วางของในทที คี วรอยู่) คอื การจดั วางของทจี าํ เป็ นตอ้ งใช ้ ใหเ้ ป็ นระเบยี บสามารถหยบิ ใชง้ านไดท้ นั ที สะอาด Seiso (เซโซ) = สะอาด (ทําความสะอาด) คอื การปัดกวาดเชด็ ถสู ถานที สงิ ของ อปุ กรณ์ เครอื งมอื เครอื งจกั ร ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ สุขลกั ษณะ Seiketsu (เซเคทซ)ึ = สขุ ลกั ษณะ (รกั ษาความสะอาด) คอื การรกั ษา และปฏบิ ตั ิ 3ส ไดแ้ ก่ สะสาง สะดวก และสะอาดใหด้ ตี ลอดไป สรา้ งนิสยั Shitsuke (ซทึ ซเึ คะ) = สรา้ งนิสยั (ฝึ กใหเ้ ป็ นนิสยั ) คอื การรกั ษาและปฏบิ ตั ิ 4ส หรอื สงิ ที กาํ หนดไวแ้ ลว้ อย่างถกู ตอ้ งจนตดิ เป็ นนิสยั 56
Search