Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒

Published by Naowarat_2514, 2020-06-28 23:48:44

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒

Search

Read the Text Version

หนวยการเรียนรูท ่ี ๒ การจดั ระเบยี บทางสงั คมและการขัดเกลาทางสังคม แนวคดิ สังคมมีกระบวนการท่ีทําใหส มาชกิ ในสงั คมมแี นวทางใหถือปฏบิ ัติตอกันและกันและมคี วามประพฤติไปตาม กฎระเบยี บ แบบแผนความสัมพนั ธร ะหวางกันไปตามทิศทางทีส่ งั คมกําหนดดวยกระบวนการจัดระเบียบทาง สังคม ซงึ่ ประกอบดว ย บรรทดั ฐานสงั คม สถานภาพทางสงั คม บทบาททางสงั คมและการควบคุมทางสังคม สาระการเรียนรู ๑. ความหมายและความสําคัญของการจดั ระเบยี บทางสังคม - ความหมายของการจัดระเบยี บทางสังคม - ความสําคัญของการจดั ระเบียบทางสังคม - คณุ ลักษณะทีก่ อใหเกดิ การจัดระเบยี บทางสงั คม ๒. องคป ระกอบของการจดั ระเบียบทางสงั คม - บรรทดั ฐานทางสังคม - สถานภาพทางสังคม - บทบาททางสงั คม - การควบคุมทางสังคม ๓. การขัดเกลาทางสังคม - ความหมายของการขัดเกลาทางสงั คม - ความสําคญั ของการขดั เกลาทางสังคม - องคก รทที่ ําหนา ท่ใี นการขัดเกลาทางสังคม - จุดมุงหมายของการขัดเกลาทางสังคม ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวัง ๑. รูและเขาใจความหมายและความสําคัญของการจัดระเบียบทางสังคม มีทัศนคติท่ีดีตอการปฏิบัติตาม กฎระเบียบแบบแผนของสงั คม ๒. รูและเขาใจองคประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม และปฏิบัติตนในการอยูรวมกันในสังคมตาม บรรทดั ฐานทางสงั คม ทีส่ งั คมกาํ หนดขึ้น ๓. รแู ละเขาใจการขัดเกลาทางสังคม และความสาํ คัญในการพัฒนาตนเอง ใหส ามารถอยูรว มในสงั คมทีม่ กี าร เปล่ียนแปลงไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ความหมายและความสําคญั ของการจดั ระเบยี บทางสงั คม สังคมมนุษยตั้งแตสมัยโบราณมาจนถึงปจจุบัน ไดมีการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อใหสมาชิกในสังคมมี พฤตกิ รรมและความสัมพนั ธร ะหวา งสมาชิกในสงั คมใหเ ปนระบบและแบบแผนท่ชี ดั เจนเพ่อื ใหสงั คมดํารงอยูได โดยปกติสุข บางสังคมใหเสรีภาพแกสมาชิกในสงั คมดําเนินชีวิตไดตามกฎเกณฑท่ีสงั คมกําหนด บางสังคมได กําหนดระเบียบแบบแผนที่เครงครัด เพื่อควบคุมพฤติกรรมของสมาชกิ ในสังคมซ่ึงแมวาการจัดระเบียบทาง สังคมของแตล ะสังคมมีความแตกตา งกนั แตทุกสงั คมยอ มตองมีกําหนดกฎเกณฑในการอยูรวมกัน เรยี กวา การ จดั ระเบยี บทางสังคม รวมทัง้ มกี ารขัดเกลาคนในสังคม มีขนบธรรมเนยี มประเพณี จารตี ความเชอ่ื จรยิ ธรรม และคุณธรรม เพอ่ื ใหสงั คมมีระเบียบและความเจริญกา วหนา ความหมายของการจดั ระเบียบทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการ ทางสังคมที่คอยควบคุมความประพฤติของบุคคลใน สังคมใหอยูใน ระเบียบ กฎเกณฑ ที่สังคมกําหนดไว เพ่ือใหสังคมมีระเบียบและดํารงอยูได การจัด ระ เ บีย บ ท า ง สัง คม เ ปน ก ร ะ บ ว นก า ร ที่มีข อ บ เ ข ต กวางขวางครอบคลุม ปรากฏการณทางสังคมหลาย อยางเร่ิมตนจากการสรางกฎเกณฑขอบังคับ ตางๆ เพ่อื ใหส มาชกิ ของสงั คมยึดถือเปนแนวปฏิบัตติ อกันระเบียบ ทม่ี า https://sites.google.com/ กฎเกณฑ ขอบังคับตาง ๆ ก็คือ บรรทัดฐานของสังคมเมื่อสรางบรรทัดฐานทางสังคม ขึ้นมาจําเปนตอง สนบั สนนุ ใหส มาชิกของสงั คม ปฏบิ ัตติ าม บรรทดั ฐานของ สังคมก็คือ สถานภาพ และบทบาท ความสาํ คัญของการจัดระเบยี บทางสงั คม การจัดระเบียบทางสังคม ทําใหส ังคมสามารถดาํ รงอยูไดอยางปกติสขุ สถาบันทางสงั คมสามารถทําหนาที่ ตอ สังคมโดยไมมปี ญ หา หรือความขดั แยงจนเกิดการจลาจลเน่ืองจากระเบียบกฎเกณฑท ี่สงั คมไดสรางข้ึนเพื่อ ใชเ ปนแนวทางใหส มาชกิ ของสังคมถือปฏิบตั ิตอกันตามฐานะ โอกาส เวลา และสถานภาพ สาเหตุทตี่ องจดั ระเบียบทางสังคม ๑. เพ่อื ใหการตดิ ตอ สัมพนั ธกันทางสังคมเปนไปอยา งเรียบรอย ๒. เพือ่ ปอ งกันความขัดแยงระหวา งสมาชกิ ในสงั คม ๓. ชวยใหสังคมดํารงอยอู ยางสงบสขุ และม่นั คงในสงั คม คุณลักษณะทีก่ อ ใหเกดิ การจดั ระเบยี บทางสังคม การจดั ระเบยี บทางสังคมเปนกระบวนการทม่ี ขี อบเขตกวางขวางมาก ซ่ึงอาจเกิดขนึ้ จากคุณลักษณะตางๆ ดังนี้ ๑. การกระทําอยา งตอ เน่ืองรูปแบบหรอื กิจกรรมทางสงั คม ๒. การควบคุมหรือการบังคับโดยบคุ คลทม่ี อี ิทธพิ ลหรอื มอี ํานาจเหนอื ผอู ื่นไดสรา งกฎระเบียบ ๓. ความแตกตา งระหวางกจิ กรรมทบี่ คุ คลกระทําแตกตางกนั ๔. กิจกรรมหรือพฤติกรรมทเี่ กดิ ข้ึนซ้าํ ๆ หรอื คลา ยๆ กันในสงั คม

องคป ระกอบของการจัดระเบียบทางสงั คม องคป ระกอบของการจดั ระเบยี บทางสงั คม เปน ส่ิงทีส่ ังคมสรา งขึ้นซึ่งคนในสังคมไดน าํ มาใชใ หเกิดประโยชน ในการดําเนนิ ชวี ติ รว มกนั เปน สังคม การจัดระเบยี บทางสังคมมปี จ จัยสาํ คัญ ๔ ประการ คือ - บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm) - บทบาททางสังคม (Social Role) - สถานภาพทางสงั คม (Social Status) - การควบคุมทางสงั คม (Social Control) บรรทัดฐานทางสังคม บรรทดั ฐานทางสงั คม หมายถงึ ระเบยี บกฎเกณฑและแบบแผนทสี่ ังคมกําหนดไวเพอ่ื เปนแนวทางสําหรับ ใหบคุ คล หรอื สมาชกิ ในสงั คมยดึ ถือยอมรบั และปฏบิ ัติในสถานการณตา งๆ โดยไดมกี ารประพฤติปฏิบัติสืบตอ กันมา การละเมิดไมปฏบิ ัติตามบรรทัดฐานทางสงั คมยอมถกู ผูอื่นแสดงปฏิกิริยาไมย อมรับ หรอื อาจไดร ับโทษ ตามสภาพแหงพฤติกรรมนั้น เชน ถูกตําหนิติเตียน ถูกตักเตือน หรือไมผูใดคบคาสมาคมดวย บรรทัดฐาน สงั คมมหี ลายประเภท แตส ามารถแบงออกไดเ ปน ๓ ประเภท คือ วถิ ปี ระชา (Folkways) จารีต (Mores) และ กฎหมาย (Laws) ๑. วิถีประชา เรยี กไดอ กี อยา งหนงึ่ วา วถิ ชี าวบาน ถือเปนบรรทดั ฐานทาง สงั คมทสี่ มาชิกในสังคมไดก ระทําจนเกิดเปนความเคยชิน เปน แนวปฏบิ ตั ิในการดาํ เนินชวี ติ เปนปกติวิสยั และเปนธรรมเนียม ท่ีสมาชิกในสังคมควรปฏิบัติรวมกันในสังคมไทย เชน การทํา ความเคารพดวยการไหวเมอ่ื พบผูใ หญ การกมหรือโนมตัวลง เม่ือเดนิ ผา น การใชภ าษาสุภาพและออ นนอ มตอผูมอี าวุโสกวา หรอื ในสงั คมพมา ที่คนสวนใหญนบั ถือศาสนาพทุ ธจะตองถอด รองเทา เมอื่ เดินเขา เขตวดั เปน ตน การไมปฏิบัติตามวถิ ชี าวบาน การทําความเคารพดวยการไหวเมื่อพบผูใ หญ หรอื ธรรมเนยี มชาวบานจะถกู สงั คมติเตยี น หรอื ไดป ฏกิ ริ ยิ าตอบ ทมี่ า https://sites.google.com/ โตท ีไ่ มร ุนแรง แตห ากทาํ ความดีตามมาตรฐานท่ีวถิ ีชาวบา นกาํ หนดจะไดร บั การชมเชยในการกระทํานั้นๆ ๒. จารตี เปนบรรทัดฐานทางสังคมที่สมาชิกในสังคมการปฏบิ ัติ สืบทอดตอกันมาเพือ่ ใชเปนแนวทางท่บี ุคคลจะตองกระทํา เพื่อความสงบเรียบรอยของสังคม อาจเรียกวาเปนกฎ ศีลธรรม หรือจารีตประเพณีที่ถือวามีความสําคัญกวาวิถี ชาวบาน หากผูใ ดฝาฝน จะถูกสงั คมตเิ ตียนหรือถูกนินทาวา รา ย ถกู ตําหนิอยางรนุ แรงหรอื ถูกตดั ออกจากสงั คม และไม มีผูใดคบหาสมาคมดว ย ท่มี า http://119.46.166.126/

๓. กฎหมาย เปนบรรทัดฐานทางสังคมท่ีกําหนดข้ึนโดยกําหนดระดับของการกระทําความผิด และบทลงโทษผกู ระทํา ความผิด หรือฝาฝนกฎหมายตามระดับความรุนแรงของการกระทําอยางชัดเจ ในสังคมไทยมีกฎหมายท่ี กาํ หนดไวเปนลายลักษณอักษร ซ่งึ แตกตา งจากจารีต และวิถีชาวบานท่ีไมไดกําหนดเปนลายลักษณอักษร แตส ังคมใชเปน แบบแผนการปฏิบัติตนในสงั คมสืบตอ กันมา กฎหมายมีผลตอการกําหนดพฤติกรรมของ บคุ คลในสงั คมมากกวา จารีตและวิถชี าวบา น ทม่ี า https://thaizulu.com/ สถานภาพทางสงั คม สถานภาพทางสังคม หมายถึง ตําแหนงหรือฐานะของบุคคลท่ีไดจากการเปนสมาชิกของกลุมสังคม สถานภาพจะกาํ หนดหนาท่ีของบุคคลในสังคม สถานภาพจงึ เปนสิ่งเฉพาะตวั ของแตละบุคคลในสังคม ทกุ คน ในสังคมจึงมสี ถานภาพของตนเองเสมอ เชน สถานภาพที่ติดตัวมา เชน ชาย หญิง สัญชาตไิ ทย และสถานภาพ ที่ไดมาทหี ลัง เชน นกั เรยี น แพทย ครู ลูกจา ง ชาวนา เปน ตน สถานภาพทางสงั คมจําแนกออกเปน ๒ ประเภท ไดแ ก ๑. สถานภาพโดยกําเนดิ หมายถงึ ตาํ แหนงหรือฐานะของบุคคลทส่ี ังคมกําหนดให โดยทบ่ี คุ คลไมม สี ิทธเิ ลอื ก เชน เพศ เชื้อชาติ เปน ตน ๒. สถานภาพโดยความสามารถ (Achieved Status) หมายถึง ตําแหนงหรือฐานะของบุคคลที่ไดมาดวยความสามารถและความรูของแตละบุคคล เชน สถานภาพสมรส สถานภาพทางการศึกษา สถานภาพทางอาชีพ เปนตน บทบาททางสังคม บทบาททางสงั คม หมายถงึ หนาทีห่ รอื พฤติกรรมที่บุคคลจะตองปฏิบัติตามสถานภาพทางสังคมทดี่ ํารงอยู สถานภาพและบทบาทจึงมีความเก่ียวของกัน เมื่อสถานภาพสังคมก็ตองมีบทบาทสังคมหรือหนาที่ที่ตอง กระทําไปดว ย เชน ในสังคมไทยใหค วามสําคัญตอสถานภาพและบทบาทหนาที่ในสงั คม เรายึดถอื อาวุโสเปน สําคัญ - บุตร มีหนา ที่ใหค วามเคารพเชอื่ ฟง พอ แม ครอู าจารย ญาติผใู หญ และผมู ีพระคุณ - พอแม มหี นาทีอ่ บรมสงั่ สอน ปกปอ ง เลย้ี งดบู ุตรใหเปนคนดีของสงั คม และสืบทอดวงศตระกูลตอ ไป - ผมู ีอายนุ อย จะตองนอบนอ มสมั มาคารวะตอ ผูใหญหรอื ผูม ีอาวโุ สกวา

การควบคุมทางสังคม การควบคุมทางสังคม หมายถึง กระบวนการตางๆ ทางสังคมท่ีมุงหมายใหสมาชิกของสังคมยอมรับและ ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสงั คม เพื่อใหสมาชกิ ของสังคมดํารงอยูในความเปนระเบียบเรียบรอยและสังคมมี ความม่ันคง การควบคมุ ทางสงั คมจึงเปนวธิ กี ารอยางหนึ่งทจ่ี ะทําใหสงั คมมคี วามสงบสขุ แตเนอ่ื งจากความเปน จริง สังคมขนาดใหญทม่ี ีคนจํานวนมากมายอยรู วมกัน มีความแตกตางกันมากทําใหองคประกอบสําคัญของ การจัดระเบียบทางสังคมที่กลาวมาแลวไมวา จะเปน วถิ ีชาวบาน จารีต กฎหมาย สถานภาพ และบทบาท การควบคุมทางสังคมแบง ออกเปน ๒ ประเภท ๑. การควบคุมแบบเปน ทางการ การควบคมุ แบบเปนทางการ คือ การควบคุมโดยใชก ฎหมายเขามาเปนเครื่องมือในการการควบคุมผูท่ีฝา ฝนซงึ่ จะไดร บั โทษตามกฎหมายกาํ หนด ๒. การควบคมุ แบบไมเปนทางการ การควบคุมแบบไมเ ปน ทางการดวยการใชว ิถชี าวบา น จารตี รวมทั้งขนบธรรมเนียม ประเพณีตางๆ เขามา เปนเคร่ืองมอื ชวยใหส มาชิกในสงั คมประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามบรรทดั ฐานของสงั คม ลกั ษณะการควบคุมทางสงั คมมี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. การควบคุมทางสังคมโดยการจูงใจสมาชิกในทางสังคมใหปฏบิ ัติตามบรรทัดฐานทางสังคม เชน การ ชมเชย การยกยอ ง เปน ตน ๒.การควบคุมทางสังคมโดยการลงโทษสมาชิกที่ละเมิด หรอื ฝา ฝนบรรทัดฐานทางสงั คมตามระดับความ รุนแรงของพฤติกรรม ดังน้ี ๑.) สําหรับผูท่ลี ะเมิดวิถีชาวบาน สังคมควรตเิ ตยี นสมาชิกท่พี ฤติกรรมไมเปนไปตามบรรทัดฐานของ สังคม เชน แตงกายไมส ุภาพไมถ ูกกาลเทศะ สังคมควรติเตียนหรือวากลาววาเปนผูไมรูจ ักมารยาททางสังคม เปนตน ๒.) สําหรับผทู ลี่ ะเมดิ จารตี สังคมควรตอ ตา นสมาชิกท่มี ีพฤตกิ รรมไมเ ปนไปตามบรรทดั ฐานของสังคม เชน การทํารายหรือไมเล้ยี งดูบดิ ามารดาของตนเองสงั คมควรจะตอตา นอยางรุนแรง ไมคบคา สมาคมดว ย หรอื ขับไลออกจากชมุ ชน เปน ตน ๓.) สําหรบั ผูทล่ี ะเมิดกฎหมาย จะไดรบั การลงโทษตามกฎหมายกําหนด จะเหน็ วา การจดั ระเบยี บทาง สงั คม เปน วิธกี ารทีส่ ังคมจะควบคุมความประพฤติของสมาชกิ ของสังคมใหอยูในความเปนระเบียบ เพ่ือความ ม่นั คงดาํ รงอยขู องสังคมนนั่ เอง การขดั เกลาทางสังคม (Socialization) สังคมทุกสังคมตั้งแตโบราณกาลมาจนถงึ ปจจุบันตางมีวิธกี ารท่ีจะทําใหส มาชิกของสังคมเรียนรูแบบแผน พฤติกรรม การประพฤติปฏบิ ัติ และการมคี วามสมั พันธท างสงั คมกับบคุ คลอ่ืน (Social Relationship) มาโดย ตลอด เพื่อใหสมาชิกอยูรวมกนั ไดอยางปกติสขุ และสังคมดํารงอยสู ืบตอไป เชน การจัดระเบียบทางสังคมก็ เปนปจ จัยหน่ึงทท่ี าํ ใหส งั คมมีความเปนระเบียบเรียบรอ ย กน็ ับเปนกระบวนการหน่ึงท่จี ะสงผลตอสมาชกิ สังคม โดยตรง โดยใชกลไกการยกยองชมเชย การใหร างวัลแกผ ทู ่ปี ฏบิ ัติตามบรรทัดฐานทางสังคมและใชการติเตียน วากลาว อบรม ลงโทษ ตามลําดับขัน้ ของความผดิ

ความหมายของการขดั เกลาทางสงั คม กระบวนการทางสังคม เปนกระบวนการทางสังคมและจิตวิทยา ซ่ึงมีผลทําใหบุคคลมีบุคลิกภาพตาม แนวทางที่สงั คมตอ งการ เดก็ ท่เี กดิ มาจะตองไดรบั การอบรมสัง่ สอนใหมีความเปนคนอยางแทจรงิ สามารถอยู รว มกนั และมคี วามสัมพันธกบั คนอ่นื ไดอยา งราบรนื่ ความสาํ คญั ของการขดั เกลาทางสงั คม บุคคลจะไดรับการพัฒนาใหเปนมนุษยที่อยูในสังคมรวมกับบุคคลอื่นได จะตองผานการปฏิสัมพันธกับ บุคคลอ่ืน กลาวคือสังคมจะตองมีวิธีการท่ีจะพัฒนาบุคคลน้ันใหสามารถอยูรวมกับบุคคลอ่ืน โดยผาน กระบวนการขัดเกลาทางสังคมหรือการมีอิทธิพลตอกันระหวางบุคคลกับเพ่ือนสมาชิกในสังคม ซึ่งมีผลให สมาชกิ หรือบคุ คลในสงั คมยอมรบั และปรบั ตนเองใหกบั รูปแบบหรือแบบแผนอันเปน ทยี่ อมรับของสงั คมน้ัน ประเภทของการขดั เกลาทางสงั คม การขัดเกลาทางสังคมสามารถจําแนกได ๒ ประเภท คือ ๑. การขัดเกลาทางสังคมโดยตรง หมายถึง กระบวนการอบรมขดั เกลาทางสังคม ใหกับสมาชิกใหมของสังคม ในสถาบันทางสังคม ดวยรูปแบบตา งๆ เชน ในสถาบนั ครอบครัว พอ แม หรือญาติผูใหญสอนใหพ ูด หรืออบรมมารยาทที่พึง ปฏิบัติตอกันใ นสั ง คมทั้ งมา รย าทา งก ายแล ะ ท า ง วาจา การทําความเคารพตามลําดบั อาวุโส เปนตน ในสถาบันการศึกษา ครู-อาจารยใ หค วามรแู ละแนว ทางการปฏิบั ติ ต นใ นกา ร อยู รว มกั นกั บบุ ค ค ล อ่ื น เปนตน ครู-อาจารยเปนบคุ คลท่มี ีความใกลช ิดกบั เด็ก และมหี นาทโ่ี ดยตรงในการอบรมสัง่ สอน ทมี่ า https://th.lovepik.com/ ๒. การขดั เกลาทางสงั คมโดยทางออ ม หมายถึง กระบวนการท่ีผูรับการอบรมขัดเกลา ทางสังคม เรียนรหู รอื รบั การอบรมขดั เกลาทางสังคม โดยไมตั้งใจ เชน การอานหนังสือพิมพ การชม ภาพยนตร การฟงวทิ ยุ เปนตน การเรียนรูจากแหลงขอมูลตางๆ ท่ีมา https://education.kapook.com/

จุดมงุ หมายของการขัดเกลาทางสังคม การขดั เกลาทางสงั คมทกุ สังคม จะมเี ปาหมายดงั ตอ ไปน้ี ๑. การปลกู ฝงใหบ ุคคลรูจักระเบียบวินยั พนื้ ฐาน ๒. การปลกู ฝง ความมุงมัน่ ๓. การอบรมใหบ ุคคลรจู ักบทบาทของตนเองในสงั คม ๔. การอบรมใหบุคคลเกิดทกั ษะหรอื ความชาํ นาญ องคกรท่ีทําหนาที่ในการขดั เกลาทางสงั คม เนื่องจากการขัดเกลาทางสงั คม โดยทั่วไปถือวาเปนกระบวนการเรียนรูที่มีความตอเน่ืองตั้งแตเด็กจนถึง ผูใหญที่ประกอบอาชีพแลว ซึ่งจําเปนตองพัฒนาตนเองใหสามารถอยูรวมกันในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงได อยา งมีประสทิ ธิภาพ องคก รทท่ี ําหนาทีใ่ นการขัดเกลาทางสังคม ประกอบดวย ครอบครวั โรงเรยี น กลุมเพ่ือน และสือ่ มวลชน ๑. ครอบครวั ในบรรดาองคกรที่ทําหนาที่ขดั เกลาทางสังคมให บุคคลน้ัน ครอบครัวเปน องคกรทีบ่ ทบาทสําคัญท่ีสุด โดยเฉพาะสมาชิกใหมของสังคม คือเด็กตั้งแรกเกิด สวนใหญมีชีวิตอยูในครอบครัว แวดลอมดวยบิดา มารดา ญาติพ่ีนอง ครอบครัวจึงทําหนาท่ีในการ อบรมส่ังสอนสมาชิกในครอบครัวใหเปนพลเมืองดี ปฏิบตั ติ ามแบบแผนและกฎกติกาของสงั คม ทมี่ า https://www.me-idea.net/ ๒. โรงเรยี น ในสังคมโบราณ การถายทอดความรูและ ทกั ษะ เปนการถา ยทอดโดยการบอกเลาและการ อบรมสง่ั สอนจากบุคคลทปี่ ระสบความสาํ เร็จใน สังคม ในสังคมปจจุบันการถายทอดความรูและ ทักษะดังกลาวมักจะดําเนินการอยางเปนระบบ โดย ผา นส ถ า บัน ก า ร ศึก ษา ที่เ ป นท า ง ก า ร คื อ โรงเรยี น และสถานศึกษาในระดบั ตา งๆ ทม่ี า https://laoongdow.wordpress.com/

๓. กลมุ เพ่อื น กลุมเพ่ือนนับเปนกลุมท่ีเรียกวามีลักษณะการรวมกลุมเปนแบบปฐมภูมิคือ ขนาดของกลุมไมใหญนัก ความสัมพนั ธของสมาชกิ เปนแบบสว นตวั ไมมกี ารจัดระเบยี บทางสังคมอยา งเปน ทางการสมาชกิ มคี วามใกลชิด สนิทสนมรักใครชอบพอกันและกัน กลุมเพื่อนจึง ประกอบดวยบุคคลท่ีมีสถานภาพทางสงั คมเทาเทียม กัน และมอี ายุรุน ราวคราวเดยี วกนั โดยทัว่ ไปกลมุ เพ่ือน มีความสําคัญในการขัดเกลาทางสังคม ทั้งดานการ เรียนรู การปรับตัวของบุคคลในสังคม ทั้งน้ีนักสังคม วิทยาเช่ือวาในหลายสถานการณ กลุมเพอ่ื นมอี ทิ ธิพล ตอการขดั เกลาทางสงั คมมากกวาองคก รอ่ืนๆ ท่มี า https://www.clipmass.com/ ๔. กลมุ ส่อื มวลชน ในสงั คมสอ่ื มวลชนมีอิทธิพลตอการดาํ เนินชีวิตของคนในสังคมเปนอยา งมาก สื่อมวลชน หมายถงึ สือ่ หรือ ชองทางของการส่ือสารมวลชน โดยรวมเอา วิทยุโทรทัศน วิทยุกระจายเสียง ภาพยนตรส่อื อิเล็กทรอนิกส วารสาร และหนังสือพิมพ ซึ่ง ส่ื อ ม ว ล ช นดั ง ก ล า ว นี้ มี บ ท บ า ท ห น า ท่ี ใ นก า ร เสนอขาวสาร ความเห็น ความบันเทิง รวมท้ัง บริการทางการศึกษา ดังนั้นสื่อมวลชนจึงทํา ห นา ท่ีเ ปนอง คก รขัดเ ก ล า ที่สํา คัญ ตอ สั ง ค ม เน่ืองจากขาวสารขอมูลสามารถแพรกระจาย จากที่หนึง่ ไปยังอกี ท่ีหน่ึงไดอยา งรวดเร็ว ท่มี า https://prachatai.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook